ข้อดีของวาล์วแบบลูกสูบเลื่อนคือ

วงจรการควบคุมทำงานของกระบอกสูบ
การควบคุมในระบบนิวเมติกส์แบ่งเป็นสองชนิด
1. การควบคุมโดยทางตรง
2. การควบคุมโดยทางอ้อม
การควบคุม โดยทางตรง
การควบคุมโดยทางตรงเป็นการต่อลมจากแหล่งจ่ายผ่านวาล์วควบคุมทิศทางไปกระบอกสูบโดยตรง เหมาะสำหรับงาน
ที่ตำแหน่งการควบคุมอยู่ใกล้ออุปกรณ์ทำงาน คือกระบอกสูบ
วงจรควบคุมกระบอกสูบทางเดียว
กระบอกสูบทางเดียว ใช้วาล์ว 2/2 ปกติปิด เลื่อนลิ้นไปด้วยมือ เลื่อนลิ้นกลับด้วยสปริงตามภาพ

ข้อดีของวาล์วแบบลูกสูบเลื่อนคือ

หลักการทำงาน
เมื่อกดวาล์ว 2/2 ทำให้ลมไหลจาก 1(P) ไป 2(A) จะเข้ากระบอกสูบ ทำให้ลูกสูบเคลื่อนที่ออก เมื่อปล่อยมือ วาล์ว 2/2 จะเลื่อนกลับด้วยสปริง แต่อยู่ในตำแหน่งปิด ทำให้ลมจากกระบอกสูบไม่สามารถระบายออกได้ลูกสูบจึงยังค้างอยู่

กระบอกสูบทางเดียว ใช้วาล์ว 2/2 ปกติปิด เลื่อนลิ้นไปด้วยมือ เลื่อนลิ้นกลับด้วยสปริง ควบคุมจำนวน 2 ตัว

ข้อดีของวาล์วแบบลูกสูบเลื่อนคือ

หลักการทำงาน
เมื่อกดวาล์ว 2/2 ทำให้ลมไหลจาก 1(P) ไป 2(A) เข้ากระบอกสูบ ทำให้ลูกสูบเคลื่อนที่ออก เมื่อปล่อยมือ วาล์ว 2/2 จะเลื่อนกลับด้วยสปริง แต่ลูกสูบยังคงค้างอยู่ ต่อมากดวาล์ว 2/2 ทำให้ลมไหลจากกระบอกสูบออกทาง 2(A) ไป 1(P) ระบายสู่บรรยากาศ ทำให้ลูกสูบเคลื่อนที่กลับด้วยแรงสปริงภายใน
วงจรควบคุมกระบอกสูบสองทาง
กระบอกสูบทำงานสองทาง ใช้วาล์ว 4/2 เลื่อนลิ้นไปด้วยมือ เลื่อนลิ้นกลับด้วยปริง

ข้อดีของวาล์วแบบลูกสูบเลื่อนคือ

หลักการทำงาน
ตำแหน่งปกติ วาล์ว 4/2 จะต่อลมจาก 1(P) ไป 2(B) เข้ากระบอกสูบด้านก้านสูบเพื่อบังคับให้ลูกสูบอยู่ภายในกระบอกสูบ
ตำแหน่งการทำงาน เมื่อกดวาล์ว 4/2 ลมจะไหมจาก 1(P) ไป 4(A) เข้ากระบอกสูบด้านลูกสูบ ลูกสูบจะเคลื่อนที่ออกพร้อมๆกันนั้น ลมจากด้านก้านลูกสูบจะไหลผ่าน (2B) ไป (3R) สู่บรรยากาศ เมื่อปล่อยมือจากวาล์ว สปริงจะดันวาล์วให้เลื่อนกลับตำแหน่งปกติ

การควบคุมโดยทางอ้อม
การควบคุมโดยทางอ้อมเป็นการต่อลมจากแหล่งจ่ายผ่านวาล์วควบคุมทิศทางไปบังคับให้วาล์วหลักทำงาน แล้วลมจากแหล่งจ่ายจะไหลผ่านวาล์วหลักกลับไปกระบอกสูบ เหมาะสำหรับงานที่จุดควบคุมอยู่ห่างจากอุปกรณ์ทำงานคือกระบอกสูบ เป็นการแก้ความดันตกในสาย ซึ่งทำให้ความดันลมไปดันกระบอกสูบลดลง และกรณีกระบอกสูบขนาดใหญ่ เมื่อใช้วาล์วควบคุมทิศทางซึ่งมีขนาดเล็กความดันที่ทำให้ลูกสูบเคลื่อนที่มีน้อย. ไม่เพียงพอที่จะเคลื่อนที่ทันทีทันใด จึงต้องรอเวลาสะสิปริมาณลม ดั งนั้นจึงใช้วาล์วหลักซึ่งมีขนาดท่อลมใหญ่กว่าและสามารถต่อใกล้กับอุปกรณ์ทำงาน

วงจรควบคุมกระบอกสูบทางเดียว
กระบอกสูบทางเดียว ใช้วาล์ว 3/2 เลื่อนลิ้นไปด้วยมือ ควบคุมวาล์ว 3/2 เลื่อนลิ้นไปด้วยลมดัน เลื่อนลิ้นกลับด้วยสปริง

ข้อดีของวาล์วแบบลูกสูบเลื่อนคือ

หลักการทำงาน
ตำแหน่งปกติ ลูกสูบจะอยู่ในกระบอกสูบด้วยแรงสปริงภายใน ลมจากแหล่งจ่ายจึงถูกปิด
ตำแหน่งการทำงาน เมื่อกดวาล์ว 3/2 ลมจะไหลจาก 1(P) ไป 2(A) เข้าท่อ 10(Z) ของวาล์ว 3/2 เลื่อนด้วยลม(กลับด้วยสปริง) ทำให้วาล์วหลัก 3/2 เลื่อน ลมไหลจาก 1(P) ไป 2(A) เข้ากระบอกสูบ ทำให้กระบอกสูบเคลื่อนที่ออก เมื่อปล่อยมือจากวาล์ว3/2 จะเลื่อนกลับด้วยสปริง ลม 10(Z) ก็สามารถระบายออกโดยผ่าน 2(A) ไป 3(R) ทำให้วาล์วหลัก 3/2 เคลื่อนกลับด้วยสปริง ลมจากกระบอกสูบระบายออกโดยผ่าน 2(A) ไป 3(R) ทำให้ลูกสูบเคลื่อนที่กลับด้วยสปริงภายใน

วงจรควบคุมกระบอกสูบสองทาง
กระบอกสูบทำงานสองทาง ใช้วาล์ว 3/2 เลื่อนลิ้นไปด้วยมือ 2 ตัว และวาล์ว 4/2 เลื่อนลิ้นไปและเลื่อนลิ้นกลับด้วยลม

ข้อดีของวาล์วแบบลูกสูบเลื่อนคือ

หลักการทำงาน
ตำแหน่งปกติ ลูกสูบจะอยู่ในกระบอกสูบ โดยลมจากแหล่งจ่ายผ่านวาล์วหลัก 1(P) ไป 2(B) เข้ากระบอกสูบด้านก้านสูบ และลมจากด้านก้านระบายทิ้งผ่าน 2(B) ไป 3(R) ทำให้ลูกสูบเคลื่อนที่ออก เมื่อปล่อยวาล์ว 3/2 เลื่อนกลับด้วยสปริง แต่ลูกสูบยังคงค้างอยู่ เพราะวาล์ว 4/2 ไม่มีความดันให้เลื่อนกลับ ต้องกดวาล์ว 3/2 อีกตัว ทำให้ลมไหลจาก 1(P) ไป 2(A) เข้า 12(Y)
ทำให้วาล์วหลัก 4/2 เลื่อน กลับลมเข้ากระบอกสูบ ลมด้านลูกสูบระบายทิ้ง ลูกสูบจึงเคลื่อนที่กลับ

จำนวนผู้เข้าชม : 5,724

98 แบบทดสอบกอ่ นเรียน หนว่ ยท่ี 4 หนา้ ที่ 1/2 วิชา งานนวิ แมติกสแ์ ละไฮดรอลิกส์เบ้ืองตน้ เวลาเรียนรวม 72 คาบ ช่ือหน่วย วาลว์ ในระบบนิวแมตกิ ส์ สอนครัง้ ที่ ทฤษฎี 2 คาบ 5-6/18 ปฏิบตั ิ 6 คาบ คำชแ้ี จง : 1. แบบทดสอบชุดนม้ี ที ั้งหมด 10 ข้อ เวลำ 10 นำที 2. ให้ทำเคร่อื งหมำย () ลงในข้อท่ีถกู ตอ้ งทีส่ ดุ เกณฑ์กำรประเมนิ : ข้อละ 1 คะแนน รวม 10 คะแนน 1. วาล์วแบบลูกบอลนั่งบ่ามีขอ้ เสยี คือ ก. ใชก้ ลไกมาก ข. ใช้แรงกดมาก ค. ใชแ้ รงลมมาก ง. ใชแ้ รงดันมาก 2. ขอ้ แตกตา่ งระหว่างวาล์วแบบลูกบอลน่ังบ่ากับแผน่ กลมน่งั บา่ คือ ก. แบบลกู บอลน่งั บ่าใช้ลกู บอล ข. แบบลูกบอลนง่ั บา่ ใช้แผน่ กลม ค. แบบแผน่ กลมนั่งบา่ ไม่ใช้สปริง ง. แบบแผ่นกลมนั่งบา่ ใชล้ ูกบอล 3. ถ้าถอดสปรงิ ในวาล์วแบบแผน่ กลมนั่งบา่ ออกจะมเี กิดอาการใดขึน้ กบั วาล์ว ก. วาลว์ ปดิ ไม่สนทิ ข. วาล์วจา่ ยลมได้มากขน้ึ ค. วาล์วทางานดขี ้นึ ง. วาล์วปดิ ลมได้ตามปกติ 4. ข้อดีของวาล์วแบบแบบแผน่ กลมนัง่ บา่ คอื ก. ใชก้ ลไกมาก ข. อายใุ นการใชง้ านนอ้ ย ค. อายุในการใช้งานนาน ง. ใชแ้ รงลมมาก 5. ข้อดีของวาล์วแบบลูกสูบเลื่อนคอื ก. ใชแ้ รงเพียงเลก็ น้อย ข. ใชแ้ รงลมน้อย ค. ใช้แรงดนั น้อย ง. ใช้กลไกน้อย 6. จากสญั ลักษณ์ คอื วาล์วชนิดใด ก. วาล์วควบคมุ ทศิ ทาง 3/2 ปกติปิด ทางานโดยใชม้ ือเล่ือนไปและกลบั ข. วาลว์ ควบคมุ ทศิ ทาง 3/2 ปกติปดิ ทางานโดยใชม้ ือกดกลับดว้ ยสปริง ค. วาลว์ ควบคุมทศิ ทาง 3/2 ปกตปิ ิด ทางานโดยใชล้ ม กลับด้วยสปรงิ ง. วาล์วควบคุมทิศทาง 3/2 ปกตปิ ิด ทางานโดยใชม้ ือกดและลมช่วยเลื่อนกลับด้วยสปรงิ

99 งานนิวแมตกิ สแ์ ละไฮดรอลกิ สเ์ บอื้ งต้น (2100-1009) แบบทดสอบก่อนเรยี น หนา้ ที่ 2/2 หน่วยที่ 4 7. จากสญั ลกั ษณ์ คอื วาล์วชนดิ ใด ก.วาลว์ ควบคมุ ทศิ ทาง 3/2 ปกติปิดแบบลูกบอลน่ังบา่ ทางานโดยใชก้ ลไกกลับด้วยสปริง ข.วาล์วควบคมุ ทิศทาง 4/2 แบบแผ่นกลมน่งั บา่ ทางานโดยใช้ปมุ่ กดเลื่อนกลับด้วยสปรงิ ค.วาล์วควบคุมทศิ ทาง 2/2 แบบลูกบอลนง่ั บ่า ทางานโดยใชก้ ลไกกลับด้วยสปริง ง.วาล์วควบคุมทศิ ทาง 5/2 แบบแผ่นกลมน่งั บ่า ทางานโดยใช้กลไก กลับด้วยสปริง 8. จากสญั ลกั ษณ์ คอื วาล์วชนดิ ใด ก.วาลว์ ควบคมุ ทิศทาง 3/2 ปกติปิดแบบลูกบอลนง่ั บ่า ทางานโดยใชก้ ลไกกลบั ด้วยสปริง ข.วาลว์ ควบคมุ ทศิ ทาง 2/2 แบบลกู บอลนั่งบา่ ทางานโดยใช้กลไกกลับด้วยสปรงิ ค.วาลว์ ควบคุมทิศทาง 3/2 แบบแผน่ กลมนง่ั บา่ ทางานโดยใชป้ ่มุ กดเล่ือนกลับด้วยสปรงิ ง.วาล์วควบคุมทิศทาง 3/2 แบบแผ่นกลมนง่ั บ่า ทางานโดยใช้กลไกกลับด้วยสปริง 9. จากสญั ลักษณ์ คือวาล์วชนิดใด ก. ใชเ้ ท้าเหยียบ ข. ใช้คันโยก ค. ใช้กลา้ มเนือ้ ง. ใชม้ ือลกู กล้ิงทางเดยี ว 10. จากสญั ลักษณ์ คอื รูปแบบการควบคุมวาล์วแบบใด ก. ใช้กล้ามเนื้อ ข. ใช้คนั โยก ค. ใชเ้ ทา้ เหยียบ ง. ใช้ลูกกลิ้งทางเดียว

100 ใบเน้อื หา หนว่ ยท่ี 4 หนา้ ท่ี 1/23 วิชา งานนวิ แมติกส์และไฮดรอลิกสเ์ บ้ืองตน้ เวลาเรียนรวม 72 คาบ สอนครง้ั ที่ ทฤษฎี 2 คาบ ช่อื หน่วย วาล์วในระบบนิวแมตกิ ส์ 5-6/18 ปฏบิ ตั ิ 6 คาบ หวั ขอ้ เรื่อง (Topics) 4.1 วาลว์ ควบคมุ ทศิ ทาง 4.2 วาลว์ ลมไหลทางเดยี ว 4.3 วาล์วควบคุมอัตราไหล 4.4 วาลว์ ควบคุมความดนั 4.5 วาลว์ ปิด-เปิดและวาล์วผสม แนวคดิ สาคญั (Main Idea) ประเภทของวาล์วนวิ แมตกิ ส์ได้ 5 ประเภทคอื วาล์วควบคุมทศิ ทาง วาล์วลมไหลทางเดียว วาล์วควบคมุ อัตราการไหล วาล์วควบคุมความดนั วาล์วปดิ -เปดิ และวาล์วผสม สมรรถนะย่อย (Element of Competency) แสดงความรู้เกย่ี วกบั วาลว์ ในระบบนิวแมติกส์ จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม (Behavioral Objectives) 1. แบ่งประเภทของวาล์วในระบบนิวแมตกิ ส์ได้ 2. บอกโครงสร้างของวาลว์ ในระบบนวิ แมติกสไ์ ด้ 3. รวู้ ธิ ีการนาวาล์วไปควบคุมการทางานของกระบอกสบู ได้อยา่ งเหมาะสม 4. อธบิ ายหลักการทางานของวาล์วแตล่ ะประเภทได้

101 งานนวิ แมตกิ ส์และไฮดรอลกิ ส์เบื้องตน้ (2100–1009) ใบเนอ้ื หา หนว่ ยที่ 4 หน้าท่ี 2/23 เน้อื หาสาระ (Content) 4.1 วาลว์ ควบคมุ ทศิ ทาง โครงสร้างของวาลว์ ควบคุมทิศทาง โครงสร้างของวาล์วควบคุมทิศทางโดยทั่วๆ ไปประกอบด้วยตัววาล์ว โดยท่ีตัวเลื่อนล้ิน วาล์ว ให้ทางานคือ ลูกสูบ ลูกบอล หรือแผ่นกลมเล่ือน ข้ึนอยู่กับรูปแบบการใช้งานของวาล์ว แรง ที่ทาให้ วาลว์ เลอ่ื นและขนาดของวาล์ว โดยโครงสรา้ งของวาล์วแบ่งออกได้ 2 ชนิดด้วยกันคือ 4.1.1 วาลว์ แบบพอพเพต (poppet valve) วาล์วแบบพอพเพตเป็นวาล์วท่ีใช้ลูกบอลหรือแผ่นกลมในการปิด - เปิด มีลักษณะ โครงสร้าง ง่ายๆ ราคาถูก อายุการใช้งานนานและการชารุดของซีลมีน้อย แต่มีข้อเสียคือ ต้องใช้ แรงกดมากใน การเลือ่ นวาลว์ เพรามแี รงดา้ นจากสปรงิ 4.1.2 วาล์วแบบลูกบอลน่ังบ่า (ball seat valve) มีลักษณะของโครงสร้างแบบ งา่ ยๆ ราคาถูก และมขี นาดเลก็ ใช้ลกู บอลในการปดิ - เปิดทางลมเชา้ - ออก รปู ท่ี 4.1 แสดงลักษณะการทางานของวาล์วแบบลูกบอลนัง่ บ่า ทีม่ า : ขัยวัฒน์ ภูมปิ ระเทศ

102 งานนิวแมติกส์และไฮดรอลิกสเ์ บ้อื งตน้ (2100–1009) ใบเน้ือหา หนว่ ยท่ี 4 หน้าท่ี 3/23 4.1.2.1 วาลว์ ควบคุมทศิ ทาง 2/2 แบบลูกบอลนง่ั บ่า ทางานโดยใช้กลไกและ เลื่อนกลบั ด้วยสปริง หน้าที่ ใช้ ควบคมุ การปิดและเปิดลมในวงจร ลักษณะของสัญลักษณ์ จะมีจุดต่อสายลมสองจุด หนึ่งจุดสาหรับต่อกับแหล่งจ่ายลมและ อีกหนง่ึ จุดสาหรบั ตอ่ ลมเพ่ือใช้งาน ทางานโดย ใช้กลไกและเลือ่ นกลับดว้ ยสปริง รปู ท่ี 4.2 วาล์วควบคุมทิศทาง 2/2 แบบลูกบอลน่งั บ่า ทางานโดยใชก้ ลไก เล่อื นกลบั ด้วยสปรงิ ทม่ี า : www.kmutt.ac.th การทางาน เมอื่ กดก้านกระทุง้ ลูกบอลจะเลื่อนออกจากบา่ วาล์ว โดยเอาชนะความดัน จาก ลมและแรงดา้ นจากสปริง ลมสามารถไหลจาก 1 (P) ไป 2(A) ได้ เมอื่ ปลดแรงทก่ี ระทา แรงดันจาก สปริงจะดันใหล้ ูกบอลกลบั ส่ตู าแหนง่ ปกติ ท่อ 1 (P) ถกู ปิด 4.1.2.2 วาล์วควบคุมทิศทาง 3/2 ปกตปิ ิดแบบลกู บอลนงั่ บ่า ทางานโดยใช้ กลไกและเล่อื นกลับด้วยสปริง หนา้ ท่ี ใช้ ควบคุมการปดิ และเปดิ ลมในวงจร ลักษณะของสัญลักษณ์ จะมีจดุ ต่อลมสองจดุ และระบายลมทิ้งหน่ึงจดุ ทางานโดยใช้ กลไก และเลอื่ นกลบั ด้วยสปรงิ รูปที่ 4.3 วาลว์ ควบคมุ ทิศทาง 3/2 ปกตปิ ดิ แบบลูกบอลนัง่ บา่ ทางานโดยใช้กลไกเลอื่ นกลบั ด้วย สปรงิ ทม่ี า : www.kmutt.ac.th

103 งานนวิ แมตกิ ส์และไฮดรอลิกสเ์ บ้ืองตน้ (2100–1009) ใบเนือ้ หา หนว่ ยที่ 4 หน้าที่ 4/23 การทางาน เมื่อกดก้านกระทุ้งลูกบอลจะเลื่อนออกจากบ่าวาลว์ โดยเอาชนะความดันจาก ลม และแรงดา้ นจากสปริง ลมสามารถไหลจาก 1 (P) ไป 2 (A) ได้ เม่อื ปลดแรงทก่ี ระทาแรงดนั จากสปริง จะดันให้ลกู บอลกลับไปปิดที่บ่าวาลว์ เพื่อป้องกันไม่ให้ลมไหลจาก 1 (P) ไป 2 (A) ได้ ทาให้ลมจาก 2 (A) ถูกระบายออกท่ี 3 (R) 4.1.3 วาล์วแบบแผ่นกลมนงั่ บ่าวาล์ว (disc seat valve) มลี ักษณะโครงสรา้ ง เป็นแผน่ กลมเพอื่ ปิด - เปิดทางลมเข้าและออก อายใุ นการใชง้ านนาน ใชแ้ รงในการกดให้ วาล์วเล่ือนนอ้ ย รปู ที่ 4.4 แสดงลกั ษณะการทางานของวาล์วแบบแผ่นกลมนงั่ บ่า ทม่ี า : ขัยวัฒน์ ภูมปิ ระเทศ 4.1.3.1 วาล์วควบคุมทิศทาง 3/2 ปกตปิ ิด แบบแผ่นกลมน่งั บา่ ทางานโดยใช้ ปุ่มกด และเลื่อนกลบั ด้วยสปรงิ หน้าท่ี ใช้ควบคุมการปิดและเปดิ ลมในวงจร

104 งานนิวแมตกิ ส์และไฮดรอลกิ ส์เบ้อื งตน้ (2100–1009) ใบเนอ้ื หา หนว่ ยท่ี 4 หนา้ ท่ี 5/23 ลักษณะของสัญลกั ษณ์ จะมีจดุ ตอ่ ลมสองจดุ และระบายลมท้ิงหน่งึ จุด ทางานโดยใช้ กลไก และเล่ือนกลบั ด้วยสปริง รปู ที่ 4.5 วาล์วควบคุมทศิ ทาง 3/2 ปกตปิ ิด แบบแผ่นกลมนง่ั บา่ ทางานโดยใชป้ มุ่ กดเลื่อนกลับด้วยสปริง ทมี า : www.kmutt.ac.th การทางาน เมอื่ กดกา้ นกระทุ้ง แผ่นกลมจะเลื่อนออกจากบ่าวาล์วในซอ่ ง 1 (P) ลม สามารถไหลจาก 1 (P) ไป 2 (A) และแผ่นกลมอีกแผน่ จะเลอ่ื นมาปิดทีซ่ ่อง 3 (R) 4.1.3.2 วาลว์ ควบคุมทิศทาง 3/2 ปกตปิ ิด แบบแผน่ กลมนัง่ บ่า ทางานโดยใช้ กลไก และเล่อื นกลบั ด้วยสปริงหนา้ ท่ี ใช้ควบคมุ การปิดและเปิดลมในวงจร ลักษณะของสัญลักษณ์ จะมีจุดต่อลมสองจุดและระบายลมท้ิงหน่ึงจุด ทางานโดยใช้ กลไก และเล่ือน กลบั ดว้ ยสปรงิ รปู ท่ี 4.6 วาล์วควบคุมทศิ ทาง 3/2 ปกตปิ ิด แบบแผ่นกลมน่ังบา่ ทางานโดยใชก้ ลไกเลอื่ นกลับ ด้วยสปริง ทมี า : www.kmutt.ac.th

105 งานนวิ แมตกิ สแ์ ละไฮดรอลกิ ส์เบอ้ื งตน้ (2100–1009) ใบเนื้อหา หน่วยท่ี 4 หน้าท่ี 6/23 การทางาน เมือ่ กดก้านกระทุ้ง แผ่นกลมจะเลื่อนออกจากบา่ วาล์วเล็กน้อย ลมสามารถ ไหล จาก 1 (P) ไป 2 (A) และ 3 (R) ได้ หากทาการกดกา้ นกระทุง้ ชา้ ๆ หรือเปน็ เวลานานๆ จะ เกดิ การโอ เวอรแ์ ลป (overlap) คือ ลมจะถูกระบายท้ิง ทาให้ลมอัดมีความดันไมเ่ พียงพอที่จะ นาไปใชง้ านและไม่ เหมาะทจ่ี ะนาไปใช้งาน 4.1.3.3 วาลว์ ควบคุมทศิ ทาง 3/2 ปกติเปิด ทางานโดยใช้ลม เลอื่ นกลบั ด้วย สปรงิ หน้าท่ี ใช้ควบคมุ การปดิ และเปดิ ลมในวงจร ลักษณะของสัญลักษณ์ จะมีจุดต่อลมสองจุดและระบายลมทิ้งหน่ึงจุด ทางานโดยใช้ลม และ เล่อื นกลบั ดว้ ยสปริง รูปท่ี 4.7 วาล์วควบคุมทิศทาง 3/2 ปกตปิ ดิ ทางานโดยใช้ลม เลื่อนกลบั ด้วยสปริง ทีมา : www.kmutt.ac.th การทางาน เม่ือลมเข้าทาง 10 (Z) ลน้ิ ทอ่ี ยภู่ ายในตวั เรอื นจะมแี รงชนะสปรงิ ที่อยู่ข้างใน ล้นิ จะ เล่ือนไปดันแผน่ กลมใหเ้ ลื่อนออกจากบ่าวาลว์ ลมจาก 1 (P) สามารถไหลไปยัง 2 (A) ได้ ส่วน 3 (R) จะถกู ปิด

106 งานนวิ แมตกิ ส์และไฮดรอลิกส์เบ้ืองตน้ (2100–1009) ใบเนือ้ หา หน่วยท่ี 4 หน้าท่ี 7/23 4.1.3.4 วาล์วควบคุมทิศทาง 3/2 ปกติปดิ ทางานโดยใช้มอื กดและใช้ลมช่วย เลือ่ นกลับด้วยสปริง หนา้ ที่ ใช้ควบคุมการแดและเปิดลมในวงจร ลักษณะของสัญลักษณ์ จะมีจดุ ตอ่ ลมสองจุดและระบายลมท้ิงหนึง่ จุด ทางานโดยใช้มอื กดและ ใช้ลมช่วย เลื่อนกลบั ด้วยสปริง รปู ท่ี 4.8 วาล์วควบคุมทิศทาง 3/2 ปกติปิด ทางานโดยใช้มือกดและใชล้ มช่วยเลื่อนกลบั ดว้ ย สปรงิ ทมี า : www.kmutt.ac.th การทางาน เม่ือก้านกระทุ้งถูกกด ลิ้นเล็กจะถูกเปิดและเลื่อนออกจากบ่าวาล์วโดย เอาชนะ ความดนั จากลมและแรงดา้ นจากสปริง ลมจาก 1 (P) จะไหลเช้ามาดันใหแ้ ผ่นไดอะเฟรม ยุบตวั ลงและ ทาให้ก้านกระทุ้งเล่ือนลง แผ่นไดอะเฟรมจะเลื่อนไปปิดรู 3 (R) ลมจาก 1 (P) จึง ไหลไป 2 (A) เมื่อไม่ มีแรงมากด สปริงจะดันก้านกระทุ้งให้เล่ือนกลับสู่ตาแหน่งปกติ ลิ้นเล็กจะถูก สปริงดันให้ปิดและแผ่น ไดอะเฟรมก็จะเลื่อนกลับ ล้ินใหญ่จะเลื่อนปิด ลมจาก 1 (P) จะถูกแยก ออกเป็นสองส่วน ส่วนหน่ึงจะ ไปทล่ี นิ้ เลก็ และอีกส่วนจะไปทล่ี นิ้ ใหญ่ ซึ่งจะถกู ปิดทิ้ง 2 ทาง และ ลมจาก 2 (A) จะถกู ระบายไป 3 (R) 4.1.3.5 วาล์วควบคุมทศิ ทาง 3/2 ปกติเปดิ ทางานโดยใช้กลไกลกู กลิ้งและใช้ ลม ชว่ ย เลื่อนกลับด้วยสปริง หน้าที่ ใชค้ วบคุมการปิดและเปดิ ลมในวงจร ลกั ษณะของสัญลักษณ์ จะมีจุดตอ่ ลมสองจดุ และระบายลมทิ้งหน่ึงจุด ทางานโดย ใช้ กลไก ลกู กลง้ิ และใช้ลมชว่ ย เลอ่ื นกลบั ดว้ ยสปรงิ

107 งานนวิ แมติกส์และไฮดรอลกิ ส์เบ้ืองต้น(2100–1009) ใบเนื้อหา หน่วยที่ 4 หน้าที่ 8/23 รูปที่ 4.9 วาลว์ ควบคุมทิศทาง 3/2 ปกตเิ ปิด ทางานโดยใชก้ ลไกลูกกลิ้งและใช้ลมช่วย เล่ือน กลบั ด้วยสปรงิ ที่มา : www.kmutt.ac.th การทางาน เมื่อมีแรงมากดท่ีลูกกล้ิง ทาให้ลิ้นเล็กถูกเปิด ลมจาก 1 (P) ส่วนหน่ึงจะไป ดันให้ แผ่นไดอะเฟรมยุบตัวลง และทาให้ก้านกระทุ้งเลื่อนลง ล้ินใหญ่จะปิดรู 1 (P) ลมจาก 2 (A) สามารถที่ จะระบายไปยงั 3 (R) เม่ือไม่มแี รงมากด สปริงก็จะดนั ก้านกระทงุ้ ใหเ้ ลื่อนกลบั สู่ ตาแหนง่ ปกติแผ่นไดอะ เฟรมจะเล่ือนปิด และล้ินเล็กก็จะถูกสปริงดันปิด ลมจาก 1 (P) จะไปยัง ลิ้นเล็ก และจะสามารถไหล ผ่านรูตรงกลางของล้ินใหญ่ออกทาง 2 (A) ส่วนท่อ 3 (R) จะถูกปิด 2. วาล์วแบบลูกสูบเลื่อน (piston slide valve) จะมลี ูกสบู เลื่อนไปมาภายในตัวเรอื น การเล่อื นของลูกสบู น้ันจะใชแ้ รงเพียงเล็กน้อย การ เล่ือน วาล์วสามารถทาไดห้ ลายวธิ ี ตาแหน่งปกติ ตาแหนง่ ทางาน รปู ท่ี 4.10 แสดงลกั ษณะการทางานของวาลว์ แบบลกู สูบเล่อื น ท่มี า : ขัยวัฒน์ ภมู ิประเทศ

108 งานนวิ แมติกส์และไฮดรอลกิ ส์เบือ้ งต้น(2100–1009) ใบเนอ้ื หา หน่วยท่ี 4 หน้าที่ 9/23 4.1.3.6 วาล์วควบคุมทศิ ทาง 3/2 ปกติปิด ทางานโดย ใชม้ ือกด เล่ือนกลับด้วยสปรงิ หนา้ ที่ ใช้ ควบคุมการปดิ และเปดิ ลมในวงจร ลักษณะของสัญลกั ษณ์ จะมีจดุ ตอ่ ลมสองจุดและระบายลมท้ิงหนงึ่ จดุ ทางานโดย ใช้มือ กด เลือ่ นกลบั ดว้ ยสปริง รปู ที่ 4.11 วาล์วควบคุมทศิ ทาง 3/2 ปกตปิ ิด ทางานโดย ใชม้ ือกด เล่ือนกลบั ด้วยสปรงิ ทีมา : www.kmutt.ac.th การทางาน เมอ่ื มีแรงมากด ลูกสูบจะเลื่อนออก ลมจาก 1 (P) จะไหลไปที่ 2 (A) ส่วนท่อ ทาง 3 (R) จะถกู ปิด เมือ่ ทาการปล่อยมอื สปรงิ จะดันก้านสูบให้เล่อื นกลบั สู่ตาแหน่งปกติ ทาให้ ลม 1 (P) ถกู ปิด ส่วนลมท่ี 2 (A) จะถูกระบายไปท่ี 3 (R) 4.1.3.7 วาล์วควบคุมทิศทาง 3/2 ปกติเปดิ ทางานโดย ใช้มอื เลื่อนล้ินไปและกลบั หนา้ ที่ ใช้ ควบคุมการปิดและเปดิ ลมในวงจร ลักษณะของสัญลักษณ์ จะมีจดุ ต่อลมสองจุดและระบายลมทิ้งหนงึ่ จุด ทางานโดย ใช้มือ เลื่อน ลนิ้ ไปและกลับ รูปที่ 4.12 วาลว์ ควบคุมทศิ ทาง 3/2 ปกตปิ ดิ ทางานโดย ใช้มือเลอ่ื นลิน้ ไปและกลับ ทมี า : www.kmutt.ac.th

109 งานนวิ แมติกส์และไฮดรอลกิ สเ์ บอื้ งต้น(2100–1009) ใบเน้อื หา หน่วยที่ 4 หนา้ ท่ี 10/23 การทางาน ในตาแหน่งปกติ ลมจาก 1 (P) ทไ่ี ปยัง 2 (A) ทอี่ ยู่ในทอ่ เดียวกนั จะถกู ปิด รู ระบาย 3 (R) จะไมต่ อ่ ถงึ ท่อใดๆ เมอ่ื เล่ือนปลอกเลอื่ นด้านนอกของตัวเรือนวาล์วไปทางดา้ นหนงึ่ ทาให้ โลหะทรงกระบอกเล่ือนเปิดทอ่ ใหล้ มจาก 1 (P) สามารถไหลไปยงั 2 (A) ได้ ส่วนรูระบาย 3 (R) จะถูก ปิด เมอ่ื ต้องการปิดลม 1 (P) ให้เลือ่ นปลอกเลือ่ นต้านนอกของตัวเรือนวาล์วกลับไปท่ี ตาแหน่งปกติ 4.1.3.8 วาล์วควบคุมทิศทาง 4/2 ทางานโดย ใชล้ ม เลือ่ นลิน้ ไปและกลับ หน้าที่ ใชค้ วบคุมการปิดและเปิดลมในวงจร ลกั ษณะของสัญลักษณ์ จะมีจดุ ตอ่ ลมสองจุดและระบายลมท้ิงสองจุด ทางานโดย ใช้ลม เล่อื น ลิน้ ไปและกลบั รปู ท่ี 4.13 วาล์วควบคมุ ทศิ ทาง 4/2 ทางานโดย ใชล้ ม เล่ือนล้ินไปและกลบั ทีมา : www.kmutt.acth การทางาน ในตาแหนง่ ปกติ ลกู สบู และแผ่นเลอื่ นจะอยู่อิสระภายในเรอื นวาลว์ เพราะไม่ มี สปรงิ ดันกลับ ทาใหค้ า้ งอยทู่ ่ีตาแหนง่ ใดก็ได้ ขึ้นอยูก่ ับแรงท่ีควบคุมคร้งั สุดท้ายที่ทางาน เมือ่ มี ลมเชา้ ทางคา้ น 12 (Y) ลกู สูบจะถูกดนั ให้เลอื่ น และแผ่นเลือ่ นซ่งึ ตดิ อยกู่ บั ลกู สบู จะเล่อื นไป ทาให้ ลมไหลจาก 1(P) ไปยัง 2(B) สว่ นลมจาก จะถกู ระบายไปยัง 3(R) เมอื่ ไม่มลี มท่ี 12 (Y) วาล์วก็ ยงั คงค้าง ไม่ เคลอื่ นท่กี ลับ และเมื่อมีลมเช้าทางคา้ น 14 (Z) ลกู สูบจะถูกดันใหเ้ ลือ่ น และแผ่น เล่ือนซึ่งตดิ อย่กู ับ ลูกสูบจะเลื่อนกลับ ทาใหล้ มสามารถไหลจาก 1(P) ไปยัง 4(A) ไค้ สว่ นลมจาก 2(B) จะถูกระบายไปยงั 3(R)

110 งานนวิ แมตกิ สแ์ ละไฮดรอลิกสเ์ บอื้ งต้น(2100–1009) ใบเนอ้ื หา หน่วยที่ 4 หนา้ ที่ 11/23 4.1.3.9 วาล์วควบคุมทศิ ทาง 5/2 ทางานโดย ใชค้ ันโยก เลอ่ื นกลับด้วยสปริง หนา้ ท่ี ใช้ ควบคุมการปิดและเปิดลมในวงจร ลกั ษณะของสัญลักษณ์ จะมีจุดต่อลมสามจุดและระบายลมท้ิงสองจุด ทางานโดย ใชค้ ัน โยก เลื่อนกลับดว้ ยสปริง รปู ที่ 4.14 วาล์วควบคุมทศิ ทาง 5/2 ทางานโดย ใชด้ ันโยก เลอ่ื นกลับดว้ ยสปริง ทีมา : www.kmutt.ac.th การทางาน ในตาแหน่งปกติ สปรงิ จะดันลูกสูบให้เล่ือนปิดรู 3 (ร) ลมจาก 1 (p)^ง'ไหล ไปท่ี 2 (B) ได้ สว่ นลมจาก 4 (A) จะระบายไปท่ี 5 (R) เม่อื โยกดนั โยก ให้ก้านสบู เลอ่ื น ทาใหล้ ม จาก 1 (P) ไปสามารถทีจ่ ะไปยัง 4 (A) ได้ ส่วนลมจาก 2 (B) จะถูกระบายยัง 3 (ร) และรู 5 (R) จะถกู ปดิ เม่อื ทา การปล่อย ดันโยก สปริงจะดันกา้ นสบู ใหเ้ ล่อื นกลับตาแหน่งปกติ 4.1.3.10 วาล์วควบคุมทศิ ทาง 5/2 ทางานโดย ใชม้ ือกด เล่อื นกลับด้วยสปริง หนา้ ท่ี ใชค้ วบคุมการปดิ และเปิดลมในวงจร ลกั ษณะของสัญลกั ษณ์ จะมีจุดตอ่ ลมสามจดุ และระบายลมทิ้งสองจุด ทางานโดย ใช้มือ กด เลื่อนกลับด้วยสปริง รูปท่ี 4.15 วาล์วควบคุมทิศทาง 5/2 ทางานโดย ใช้มือกด เล่อื นกลับด้วยสปริง ทีมา : www.kmutt.ac.th

111 งานนิวแมติกสแ์ ละไฮดรอลิกสเ์ บือ้ งต้น(2100–1009) ใบเน้ือหา หนว่ ยที่ 4 หน้าท่ี 12/23 การทางาน ในตาแหน่งปกติ สปริงจะดนั ลูกสูบใหเ้ ลื่อนปิดรู 3 (ร) ลมจาก 1 (P)^ง'ไหล ไปท่ี 2 (B) ได้ สว่ นลมจาก 4 (A) จะระบายไปท่ี 5 (R) เมื่อกดก้านลกู สบู ให้เลอื่ น ทาให้ลมจาก 1 (P) ไป สามารถทีจ่ ะไปยัง 4 (A) ได้ สว่ นลมจาก 2 (B) จะถูกระบายยงั 3 (ร) และรู5 (R) จะถูกปิด เมื่อทาการ ปล่อยมือสปริงจะดันกา้ นสูบให้เลื่อนกลับตาแหน่งปกติ รูปท่ี 4.16 วาลว์ ตั้งเวลาหรือวาล์วหน่วงเวลาชนิดปกตเิ ปิด ทมี า : www.kmutt.ac.th 4.1.4 วาลว์ ควบคมุ ทศิ ทางแบบเล่ือน (slide valve) วาล์วควบคุมทิศทางแบบเล่ือนเป็นวาล์วที่มีลักษณะโครงสร้างภายในเป็นลูกสูบที่เล่ือน ไปมาภายใน เรือนวาล์ว วาล์วควบคุมทิศทางแบบเลื่อน นี้เหมาะสาหรับวาล์วตัวใหญ่ซ่ึงต้องใช้ลม อัดไปบังคับล้ิน ของวาล์วในปริมาณมาก แต่เมื่อใช้ลมอัดปริมาณน้อยไปคันล้ินเล็กทางานจึงจะมีลมอัดไปทำใหล้ น้ิ ใหญ่ทำงำน ซงึ่ เป็ นกำรลดขนำดของวำลว์ และลดปรมิ ำณของลมทจ่ี ะทำใหว้ ำล์ว ทำงำน ซง่ึ มอี ยู่ ดว้ ยกนั หลำยชนดิ เซน่ แบบลกู สบู เลอื่ น แบบลกู สบู และแผน่ เลอ่ื น แบบแผน่ หมนุ

112 งานนวิ แมตกิ สแ์ ละไฮดรอลกิ สเ์ บ้อื งตน้ (2100–1009) ใบเน้ือหา หนว่ ยท่ี 4 หนา้ ที่ 13/23 การเรียกช่ือวาล์ว ช่ือวาล์ว จะแสดงจานวนตาแหน่งทางาน จานวนช่องต่อลม และชนิดของ การควบคุมวาล์ว ตารางที่ 4.1 แสดงสัญลกั ษณแ์ ละการเรยี กช่ือวาล์ว

113 งานนวิ แมตกิ ส์และไฮดรอลิกสเ์ บื้องต้น(2100–1009) ใบเนือ้ หา หนว่ ยที่ 4 หนา้ ที่ 14/23 รูปแบบการควบคมุ วาลว์ (Type of control) การควบคมุ การทางานของวาลว์ สามารถเลอื กไดห้ ลายรูปแบบ ตารางที่ 4.2 แสดงสัญลักษณ์ของรปู แบบทใ่ี ช้ในการควบคมุ วาล์ว ตารางที่ 4.3 แสดงความหมายของสัญลักษณข์ องรปู แบบทใี่ ช้ควบคุมวาล์วชนดิ ต่าง ๆ

114 งานนวิ แมติกสแ์ ละไฮดรอลิกสเ์ บือ้ งตน้ (2100–1009) ใบเนือ้ หา หน่วยที่ 4 หน้าที่ 15/23 รูปท่ี 4.17 แสดงลักษณะของวาลว์ ควบคมุ แบบต่าง ทีมา : http://www.jmtpneumatic.com การใช้งานวาล์วควบคมนั้นสามารถเลือกจบั คู่รูปแบบการควบคมใหเ้ หมาะสมกบั ลักษณะ ตารางท่ี 4.4 แสดงความหมายของสัญลักษณ์วาล์วควบคุมในตาแหนง่ ทางานและรเี ซต็

115 งานนิวแมติกส์และไฮดรอลกิ ส์เบอ้ื งต้น(2100–1009) ใบเน้ือหา หนว่ ยที่ 4 หนา้ ที่ 16/23 หลกั การทางานภายในวาล์วควบคุมทศิ ทาง วาลว์ จะประกอบดว้ ยลนิ้ วาล์วและกลไกทค่ี วบคุมเสน้ ทางการไหลผ่านของลมอัด ก. หลกั การทางานภายในของวาล์วควบคมุ ทศิ ทาง 3/2 รูปที่ 4.18 แสดงการทางานภายในวาล์ว 3/2 ที่มีรปู แบบการควบคุมต่าง ๆ ทีมา : www.kmutt.ac.th ข. หลกั การทางานภายในของวาล์วควบคุมทิศทาง 4/2 รปู ท่ี 4.19 แสดงการทางานภายในวาล์ว 4/2 ทม่ี รี ูปแบบการควบคุมตา่ ง ๆ ทีมา : www.kmutt.ac.th ค. หลกั การทางานภายในของวาลว์ ควบคุมทิศทาง 5/2 รปู ท่ี 4.20 แสดงการทางานภายในวาลว์ 5/2 ที่มีรปู แบบการควบคมุ ต่าง ๆ

116 งานนิวแมติกส์และไฮดรอลิกส์เบ้ืองต้น(2100–1009) ใบเน้อื หา หน่วยท่ี 4 หน้าที่ 17/23 ง. หลักการทางานภายในของวาลว์ ควบคุมทิศทาง 5/3 รูปที่ 4.21 แสดงการทางานภายในวาล์ว 5/2 แบบควบคุมดว้ ยคันโยก ทมี า : www.kmutt.ac.th 4.2 วาล์วควบคุมอตั ราการไหลทางเดียว (non return valve) วาล์วควบคุมอัตราการไหลทางเดียว หมายถึง วาล์วท่ีให้ลมอัดไหลได้ทางเดียวเท่าน้ัน ไม่ สามารถไหลยอ้ นกลับได้ 4.2.1 วาล์วกันกลบั หรือเช็ควาล์ว (check valves) รูปที่ 4.22 วาลว์ ควบคมุ อัตราการไหลทางเดยี ว ทมี า : www.mte.kmutt.ac.th

117 งานนิวแมตกิ ส์และไฮดรอลกิ สเ์ บ้ืองตน้ (2100–1009) ใบเน้ือหา หน่วยที่ 4 หน้าท่ี 18/23 (ก) ไหลข้ึนผ่านไดส้ องทาง (ข) ไหลลงผา่ นได้ทางเดยี ว รปู ท่ี 4.23 แสดงทิศทางการไหลเม่ือใช้วาลว์ กันกลบในทิศทางขน้ึ และลง ท่ีมา : www.mte.kmutt.ac.th 4.2.2 วาลว์ กันกลบั สองทาง หรอื ชตั เทิลวาล์ว (shuttle valve or double control valve or double check valve) วาลว์ กนั กลบั สองทางคือวาล์วที่ มีลมออกได้เพียง ทางเดยี ว โดยมีลมเชา้ สองทาง ใช้ในการตอ่ ขนานวาลว์ รูปที่ 4.24 วาลว์ กันกลับสองทาง หรือซัตเทลิ วาลว์ ทม่ี า : www.mte.kmutt.ac.th

118 งานนิวแมตกิ สแ์ ละไฮดรอลกิ ส์เบื้องต้น(2100–1009) ใบเน้อื หา หน่วยที่ 4 หนา้ ท่ี 19/23 4.2.3 วาล์วความดันสองทาง หรอื วาล์วลมคู่ (two pressure valves) วาล์วความ ดนั สองทางคือวาล์วท่ตี ้องใช้สญั ญาณลมเขา้ สองขา้ ง จงึ จะมี สัญญาณลมออกไปใช้งานไต้ ใช้ในการต่อ อนุกรมวาล์ว ลมเขา้ สองด้านวาล์วจะเปดิ ลมเข้าด้านเดยี ววาลว์ จะปิด รปู ที่ 4.25 วาล์วความดันสองทาง หรือวาล์วลมคู่ ทมี่ า : www.mte.kmutt.ac.th 4.2.4 วาล์วคายไอเสยี เร็ว (quick - exhaust valves) รูปท่ี 4.26 วาล์วคายไอเสียเร็ว ลักษณะโครงสรา้ ง และสัญลกั ษณ์ ทม่ี า : www.mte.kmutt.ac.th

119 งานนิวแมติกส์และไฮดรอลกิ ส์เบื้องตน้ (2100–1009) ใบเนอ้ื หา หน่วยที่ 4 หน้าท่ี 20/23 รูปท่ี 4.27 การใช้วาลว์ คายไอเสียเร็วในเพ่มิ ความเร็วก้านสูบในการเคลอ่ื นที่กลบั ทมี่ า : www.mte.kmutt.ac.th 4.3 วาล์วปรับอตั ราการไหล (flow control valves) 4.3.1วาลว์ ปรับอตั ราไหลทางเดยี ว รูปท่ี 4.28 วาลว์ ปรับอัตราการไหลทางเดยี ว ทม่ี า : www.mte.kmutt.ac.th

120 งานนวิ แมตกิ สแ์ ละไฮดรอลกิ ส์เบ้ืองต้น(2100–1009) ใบเน้ือหา หนว่ ยที่ 4 หน้าท่ี 21/23 4.4 วาลว์ ควบคุมความดนั (pressure valves) วาลว์ ควบคุมความดัน คอื วาล์วท่ีควบคมุ ความดันด้านใช้งานใหม้ ีคา่ คงท่ตี ามต้องการ 4.4.1 วาลว์ ปรับลดความดนั (pressure regulating valve) ทาหนา้ ท่ีรกั ษาความดนั ใช้งานให้มรี ะดับคงทีต่ ลอดเวลา รปู ท่ี 4.29 วาลว์ ปรับลดความดัน ทมี า : www.mte.kmutt.ac.th 4.4.2 วาล์วจากดั ความดัน (pressure limiting valve) ทาหน้าทรี่ ักษาความดันใช้ งาน ไมใ่ ห้สงู เกนิ ค่าความดนั ทีต่ งั้ ไว้ รูปที่ 4.30 วาลว์ จากดั ความดัน ทมี า : www.mte.kmutt.ac.th 4.4.3 วาล์วจัดลาดับ (sequence valve) ทาหน้าท่ีสะสมความดันจนถึงระดับท่ีต้ังไว้ วาล์วจงึ จะเริม่ ทางาน รปู ท่ี 4.31 วาล์วจดั ลาดบั ทมี า : www.mte.kmutt.ac.th

121 งานนวิ แมตกิ ส์และไฮดรอลกิ สเ์ บ้อื งต้น(2100–1009) ใบเนือ้ หา หนว่ ยท่ี 4 หนา้ ท่ี 22/23 4.5.วาลว์ ปดิ - เปดิ และวาล์วผสม (shut off valve and valve compo nations) วาล์วปิด - เปดิ และวาลว์ ผสม มหี นา้ ที่ปิดและเปิดทางไหลของลมใชง้ าน 4.5.1 วาล์วปิด - เปดิ (shut off valve) รปู ท่ี 4.32 วาลว์ ปดิ - เปิด ทีมา : www.mte.kmutt.ac.th 4.5.2 วาล์วตง้ั เวลาหรอื วาล์วหน่วงเวลา (time delay valve) 4.5.2.1 วาล์วต้งั เวลาหรือวาลว์ หน่วงเวลาชนดิ ปกติปิด (normally closed) ใชค้ วบคุมให้กระบอกสบู รอเวลาทางานในจงั หวะถัดไป รปู ท่ี 4.33 วาลว์ ตั้งเวลาหรือวาลว์ หน่วงเวลาชนิดปกตปิ ิด ทมี า : www.mte.kmutt.ac.th

122 งานนวิ แมติกสแ์ ละไฮดรอลิกสเ์ บื้องต้น(2100–1009) ใบเนอ้ื หา หน่วยที่ 4 หนา้ ท่ี 23/23 4.5.2.2 วาล์วตง้ั เวลาหรือวาลว์ หน่วงเวลาชนิดปกตเิ ปิด (normally opened) ใชค้ วบคุมให้กระบอกสูบรอเวลาหยดุ ทางานในจงั หวะถัดไป รูปที่ 4.34 วาล์วตั้งเวลาหรือวาลว์ หน่วงเวลาชนิดปกตเิ ปิด ทมี า : www.mte.kmutt.ac.th

แบบฝึกหัดท่ี 4.1 123 วชิ า งานนิวแมติกสแ์ ละไฮดรอลิกส์เบ้ืองตน้ หนว่ ยท่ี 4 หนา้ ท่ี 1/2 ชอ่ื หน่วย วาลว์ ในระบบนวิ แมตกิ ส์ เวลาเรยี นรวม 72 คาบ สอนครัง้ ที่ ทฤษฎี 1 คาบ ช่อื เร่ือง การทางานของวาล์วในระบบนิวแมติกส์ 5/18 ปฏบิ ัติ 3 คาบ คำส่ัง จงเลือกทำเครื่องหมำย  ในชอ่ งควำมหมำยให้ถกู ต้อง  2 ตำแหนง่ 1 ส่ีเหลี่ยมจตั รุ ัส 2 รูป ตอ่ กนั วำล์ว  3 ตำแหนง่ 2 ลกู ศรภำยในชอ่ งส่ีเหลี่ยม ทอ่ ภำยใน  เปิดให้ลมไหลผำ่ นได้  ปิดไมใ่ ห้ลมไหลผำ่ น 3 เส้นปลำยตดั ตวั ทีภำยในชอ่ ง ทอ่ ภำยใน  เปิดให้ลมไหลผำ่ นได้ ส่ีเหลี่ยม  ปิดไมใ่ ห้ลมไหลผำ่ น 4 เส้นสนั้ ๆ เขียนตงั้ ฉำกกบั ขอบ จดุ ตอ่ ลม  เข้ำ ของสี่เหลี่ยมตรงกบั เส้นภำยใน  ออก 5 รูป รูระบำยลม  ไมต่ อ่ อปุ กรณ์เก็บเสียง ทงิ ้  ตอ่ อปุ กรณ์เก็บเสียง 61 2 ลมไหลจำก 1 2 ได้ ไมไ่ ด้ 7X A Y ลมไหลจำก X A ได้ ไมไ่ ด้ 8X A Y ลมไหลจำก X A ได้ ไมไ่ ด้ 91 2 ลมไหลจำก 1 2 ได้ ไมไ่ ด้ ได้ ไมไ่ ด้ 3 10 ลมไหลจำก 2 1

124 แบบประเมนิ ผลงานท่ี 4.1 หน่วยท่ี 4 หน้าที่ 1/1 วชิ า งานนวิ แมติกสแ์ ละไฮดรอลกิ สเ์ บื้องต้น เวลาเรียนรวม 72 คาบ สอนครง้ั ที่ ทฤษฎี 1 คาบ ชือ่ หน่วย วาลว์ ในระบบนวิ แมติกส์ 5/18 ปฏบิ ัติ 3 คาบ ชือ่ เรอื่ ง อ่านสญั ลักษณ์วาล์วในระบบนิวแมติกส์ คาชี้แจง ใหว้ งกลมล้อมรอบคะแนนทไ่ี ด้ รำยกำร คะแนน หมำยเหตุ ดมี ำก ดี ปำน พอใช้ ปรบั ปรุง กลำง ขั้นก่อนกำรปฏิบัติงำน 1. ควำมพร้อมของอุปกรณก์ ำรเรียน.............. 5 4 3 2 1 ข้ันกำรปฏบิ ัติงำน 2. สัญลกั ษณ์ ใหค้ วำมหมำย วำล์วในระบบ 10 8 6 4 2 นิวแมตกิ ส์……………… 3. กำรทำงำน ใหต้ อ่ วงจร วำลว์ ในระบบนวิ 10 8 6 4 2 แมติกส์……………… ข้ันสรปุ ผล 4. เขียนสรุปผลหลงั กำรปฏิบัติงำน................ 5 4 3 2 1 ขน้ั หลังกำรปฏิบัติงำน 5. ทำควำมสะอำดบริเวณห้องเรยี น............... 5 4 3 2 1 6. ส่งงำนตำมกำหนดเวลำ............................. 5 4 3 2 1 คะแนนท่ีได้ รวมคะแนน ผลการประเมิน (คะแนนเต็ม 60 คะแนน)  ดี (คะแนนอย่ใู นชว่ ง 46–53 คะแนน)  ปรับปรุง (คะแนนอย่ใู นช่วง 30–37 คะแนน)  ดมี าก (คะแนนอย่ใู นช่วง 54–60 คะแนน)  พอใช้ (คะแนนอยใู่ นชว่ ง 38–45 คะแนน)  ไมผ่ า่ น (คะแนนต่ากว่า 30 คะแนน) ลงช่อื (สามารถ สมบตุ ร) ผูป้ ระเมิน .........../.............../...............

125 แบบประเมินคณุ ธรรม จริยธรรม และคา่ นยิ ม หน่วยท่ี 4 หนา้ ท่ี 1/1 วชิ า งานนวิ แมติกสแ์ ละไฮดรอลกิ ส์เบื้องต้น เวลาเรยี นรวม 72 คาบ สอนครัง้ ท่ี ทฤษฎี 1 คาบ ชื่อหน่วย วาลว์ ในระบบนิวแมตกิ ส์ 5/18 ปฏบิ ตั ิ 3 คาบ คำชี้แจง 1. ให้ผู้เรียนประเมินตนเองและให้สมำชิกในกลุ่มหน่ึงคนประเมินซ่ึงกันและกันในหัวข้อที่ผู้สอนกำหนดและ แจง้ ไว้ 2. กำรประเมินแต่ละขอ้ มคี ะแนนข้อละ 5 คะแนน (5 หมำยถึง ดมี ำก, 4 หมำยถงึ ดี, 3 หมำยถงึ ปำนกลำง, 2 หมำยถึง พอใช้, 1 หมำยถึง ตอ้ งปรบั ปรุง) 3. ผูส้ อนทำกำรประเมนิ และหำคะแนนเฉลยี่ ของผู้เรียนแต่ละคนตอ่ ไป คุณธรรม จรยิ ธรรม เจตคติ ผ้ปู ระเมนิ และคำ่ นิยมที่พึงประสงค์ ที่ สังเกตจำกพฤตกิ รรม ตนเอง สมำชิก ู้ผสอน 1 ควำมมวี ินัย ตรงต่อเวลำทัง้ กำรเขำ้ เรยี นและกำรสง่ งำน ทำงำน 2 ควำมมีมนษุ ยสัมพนั ธ์ ตำมขัน้ ตอน คำนงึ ถึงควำมปลอดภยั ฯลฯ 3 ควำมรบั ผิดชอบ 4 ควำมเชอื่ มน่ั ในตนเอง ช่วยเหลือเพ่อื นสมำชกิ ให้ควำมรว่ มมือทำงำนกลมุ่ 5 ควำมซอื่ สัตย์สจุ รติ พูดจำสุภำพ ฯลฯ 6 ควำมประหยัด 7 ควำมสนใจใฝร่ ู้ กลำ้ รบั ผดิ และรบั ชอบในสิง่ ท่ตี นทำ รกั ษำควำม 8 ควำมรักสำมัคคี สะอำด ฯลฯ 9 ควำมคิดรเิ ร่มิ สรำ้ งสรรค์ 10 ควำมพึงพอใจในผลงำนท่ี กลำ้ แสดงออกในกำรปฏิบตั ิงำน กล้ำแสดงควำม คดิ เห็น ฯลฯ ทำ ไม่คดั ลอกผลงำนคนอนื่ ตรวจผลงำนของตนเองและ ของผอู้ ่นื ด้วยควำมซอื่ สัตย์ ฯลฯ ใชว้ ัสดอุ ุปกรณ์ เครือ่ งมอื และใช้พลังงำนไฟฟำ้ ในกำร เรยี นอย่ำงประหยัด ฯลฯ กระตือรือรน้ พงึ่ ตนเองเป็นหลัก ศกึ ษำหำควำมรู้ เพิ่มเตมิ ฯลฯ รบั ฟงั ควำมเห็นผอู้ ืน่ ร่วมใจกันทำงำน รู้จักแบ่งบนั มี นำ้ ใจ ฯลฯ ปรบั วธิ กี ำรเรยี นของตนเองให้ดีขึน้ คิดแกป้ ญั หำแปลก ใหม่ ฯลฯ พอใจในผลงำนของตนเองทตี่ ้งั ใจทำงำนอย่ำงดีที่สุด ฯลฯ รวม เฉลยี่ รวม ผลการประเมิน (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) ได.้ ................คะแนน  ผ่าน (คะแนนอยู่ในช่วง 12–20 คะแนน)  ไม่ผ่าน (คะแนนต่ากว่า 12 คะแนน) ..................................ลงช่อื ผ้ปู ระเมิน

126 แบบฝึกหดั ท่ี 4.2 หนว่ ยที่ 4 หนา้ ท่ี 1/2 วชิ า งานนิวแมติกส์และไฮดรอลิกสเ์ บ้ืองต้น เวลาเรยี นรวม 72 คาบ สอนครงั้ ท่ี ทฤษฎี 1 คาบ ช่อื หน่วย วาลว์ ในระบบนวิ แมตกิ ส์ 6/18 ปฏบิ ัติ 3 คาบ ชื่อเรื่อง การอ่านสญั ลกั ษณ์ของวาลว์ ในระบบนวิ แมติกส์ คาส่ัง จงนาตัวเลข 1–10 ไปจับคู่กับอักษร ก–ญ หน้าสัญลกั ษณใ์ ห้ถูกต้อง ก. 1. คา่ อัตราการไหลของลม 2. หน่วยจัดอตั ราการไหลของลม ข. 3. วาล์วควบคุมอัตราการไหลทางเดียว 4. วาล์วควบคุมอตั ราการไหลสองทศิ ทางปรบั ค่าได้ ค. 5. วาล์วควบคุมอัตราการไหลสองทศิ ทางปรบั ค่าไมไ่ ด้ 6. วาล์วลดความดันชนดิ ไม่ระบายความดัน JIS ง. Q 7. วาล์วลดความดันชนิดไม่ระบายความดัน DIN 8. วาล์วลดความดนั ชนดิ ระบายความดัน JIS จ. 9. วาล์วลดความดนั ชนดิ ระบายความดัน DIN 10.วาล์วจดั ลาดบั การทางาน ฉ. ช. ซ. ณ. 2 ญ. 3 1 1

127 แบบประเมินผลงานที่ 4.2 หนว่ ยท่ี 4 หนา้ ที่ 1/1 วิชา งานนวิ แมติกส์และไฮดรอลิกสเ์ บ้ืองต้น เวลาเรยี นรวม 72 คาบ สอนคร้งั ที่ ทฤษฎี 1 คาบ ชอื่ หน่วย วาล์วในระบบนิวแมตกิ ส์ 6/18 ปฏิบัติ 3 คาบ ช่ือเรือ่ ง การอ่านสัญลกั ษณ์ของวาล์วในระบบนิวแมติกส์ คำช้ีแจง ใหว้ งกลมลอ้ มรอบคะแนนที่ได้ รำยกำร คะแนน หมำยเหตุ ขน้ั กอ่ นกำรปฏิบัตงิ ำน ดมี ำก ดี ปำน พอใช้ ปรบั ปรุง 1. ควำมพร้อมของอปุ กรณก์ ำรเรยี น......... กลำง ข้นั กำรปฏิบตั งิ ำน 5432 1 2. นำเสนอสญั ลกั ษณ์ที่วำลว์ ปรับอตั รำไหล 3. นำเสนอสัญลกั ษณ์วำล์วควบคมุ ควำม 10 8 6 4 2 ดนั …………………………………………………………… 10 8 6 4 2 4. นำเสนอรำยละเอียดทีค่ วรปรบั ปรุง...... 10 8 6 4 2 5. นำเสนอเหตผุ ลท่คี วรปรบั ปรงุ ............... 10 8 6 4 2 ขนั้ สรุปผล 5432 1 6. เขียนสรปุ ผลหลังกำรปฏิบัติงำน............. 5432 1 ข้ันหลงั กำรปฏิบตั ิงำน 5432 1 7. ทำควำมสะอำดบริเวณหอ้ งเรยี น........... 8. ส่งงำนตำมกำหนดเวลำ........................ คะแนนทีไ่ ด้ รวมคะแนน ผลการประเมนิ (คะแนนเต็ม 60 คะแนน)  ดี (คะแนนอย่ใู นชว่ ง 46–53 คะแนน)  ปรับปรุง (คะแนนอยู่ในช่วง 30–37 คะแนน)  ดมี าก (คะแนนอยู่ในช่วง 54–60 คะแนน)  พอใช้ (คะแนนอยใู่ นชว่ ง 38–45 คะแนน) ลงชือ่  ไมผ่ ่าน (คะแนนตา่ กว่า 30 คะแนน) (นายสามารถ สมบุตร) ผู้ประเมิน .........../.............../...............

128 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม หน่วยที่ 4 หน้าที่ 1/1 วชิ า งานนวิ แมติกสแ์ ละไฮดรอลิกสเ์ บ้ืองต้น เวลาเรยี นรวม 72 คาบ สอนครั้งที่ ทฤษฎี 1 คาบ ช่ือหน่วย วาลว์ ในระบบนวิ แมติกส์ 6/18 ปฏบิ ัติ 3 คาบ คำช้ีแจง 1. ให้ผู้เรียนประเมินตนเองและให้สมำชิกในกลุ่มหน่ึงคนประเมินซึ่งกันและกันในหัวข้อท่ีผู้สอน กำหนดและแจ้งไว้ 2. กำรประเมินแต่ละข้อมีคะแนนขอ้ ละ 5 คะแนน (5 หมำยถึง ดีมำก, 4 หมำยถึง ดี, 3 หมำยถึง ปำนกลำง, 2 หมำยถึง พอใช,้ 1 หมำยถงึ ตอ้ งปรับปรงุ ) 3. ผูส้ อนทำกำรประเมินและหำคะแนนเฉล่ยี ของผู้เรียนแต่ละคนตอ่ ไป คุณธรรม จรยิ ธรรม เจตคติ ผปู้ ระเมนิ และคำ่ นิยมท่ีพึงประสงค์ ท่ี สังเกตจำกพฤตกิ รรม ตนเอง สมำชิก ู้ผสอน 1 ควำมมวี ินยั ตรงต่อเวลำทั้งกำรเขำ้ เรยี นและกำรสง่ งำน ทำงำน 2 ควำมมีมนุษยสัมพันธ์ ตำมขั้นตอน คำนึงถงึ ควำมปลอดภยั ฯลฯ 3 ควำมรบั ผิดชอบ 4 ควำมเชอ่ื มัน่ ในตนเอง ชว่ ยเหลอื เพือ่ นสมำชกิ ให้ควำมรว่ มมอื ทำงำนกลมุ่ 5 ควำมซอ่ื สัตย์สจุ ริต พดู จำสภุ ำพ ฯลฯ 6 ควำมประหยดั 7 ควำมสนใจใฝร่ ู้ กล้ำรบั ผิดและรับชอบในสง่ิ ทต่ี นทำ รกั ษำควำม 8 ควำมรกั สำมัคคี สะอำด ฯลฯ 9 ควำมคิดรเิ ร่มิ สร้ำงสรรค์ 10 ควำมพงึ พอใจในผลงำนที่ กลำ้ แสดงออกในกำรปฏิบตั ิงำน กล้ำแสดงควำม คิดเหน็ ฯลฯ ทำ ไม่คัดลอกผลงำนคนอนื่ ตรวจผลงำนของตนเองและ ของผอู้ ่นื ดว้ ยควำมซ่อื สตั ย์ ฯลฯ ใช้วัสดุอปุ กรณ์ เคร่ืองมือและใชพ้ ลังงำนไฟฟ้ำในกำร เรียนอยำ่ งประหยดั ฯลฯ กระตือรอื ร้น พ่งึ ตนเองเปน็ หลกั ศกึ ษำหำควำมรู้ เพิ่มเติม ฯลฯ รบั ฟังควำมเหน็ ผูอ้ ่ืน รว่ มใจกันทำงำน รู้จกั แบ่งบนั มี น้ำใจ ฯลฯ ปรับวธิ กี ำรเรยี นของตนเองให้ดีขึน้ คิดแกป้ ัญหำแปลก ใหม่ ฯลฯ พอใจในผลงำนของตนเองที่ตั้งใจทำงำนอยำ่ งดที ่สี ุด ฯลฯ รวม เฉลี่ยรวม ผลการประเมนิ (คะแนนเตม็ 20 คะแนน) ได้.................คะแนน  ผ่าน (คะแนนอยู่ในช่วง 12–20 คะแนน)  ไม่ผ่าน (คะแนนตา่ กวา่ 12 คะแนน) ..................................ลงช่อื ผ้ปู ระเมิน

129 แบบทดสอบหลังเรียน หนว่ ยท่ี 4 หน้าท่ี 1/2 วิชา งานนิวแมติกสแ์ ละไฮดรอลกิ สเ์ บื้องต้น เวลาเรยี นรวม 72 คาบ ชือ่ หน่วย วาล์วในระบบนวิ แมตกิ ส์ สอนครั้งท่ี ทฤษฎี 2 คาบ 5-6/18 ปฏบิ ตั ิ 6 คาบ คำชแ้ี จง : 1. แบบทดสอบชุดนี้มที ัง้ หมด 10 ขอ้ เวลำ 10 นำที 2. ใหท้ ำเคร่อื งหมำย () ลงในขอ้ ที่ถูกต้องท่ีสดุ เกณฑ์กำรประเมิน : ข้อละ 1 คะแนน รวม 10 คะแนน 1. ขอ้ ดีของวาล์วแบบแบบแผ่นกลมนัง่ บ่าคือ ก. ใช้กลไกมาก ข. อายุในการใช้งานนอ้ ย ค. อายใุ นการใช้งานนาน ง. ใช้แรงลมมาก 2. ขอ้ ดีของวาล์วแบบลูกสูบเล่ือนคือ ก. ใชแ้ รงเพยี งเลก็ น้อย ข. ใช้แรงลมน้อย ค. ใช้แรงดันน้อย ง. ใชก้ ลไกนอ้ ย 3. ข้อแตกตา่ งระหว่างวาล์วแบบลูกบอลนัง่ บ่ากับแผ่นกลมนง่ั บา่ คอื ก. แบบลูกบอลนงั่ บ่าใช้ลูกบอล ข. แบบลกู บอลนง่ั บ่าใชแ้ ผ่นกลม ค. แบบแผน่ กลมนงั่ บ่าไม่ใช้สปรงิ ง. แบบแผ่นกลมน่ังบ่าใช้ลูกบอล 4. วาล์วแบบลูกบอลนง่ั บา่ มีขอ้ เสียคือ ก. ใชก้ ลไกมาก ข. ใช้แรงกดมาก ค. ใช้แรงลมมาก ง. ใช้แรงดันมาก 5. ถ้าถอดสปริงในวาล์วแบบแผ่นกลมน่งั บ่าออกจะมเี กดิ อาการใดขึ้นกับวาล์ว ก. วาลว์ ปดิ ไม่สนิท ข. วาลว์ จ่ายลมได้มากข้นึ ค. วาล์วทางานดีขน้ึ ง. วาล์วปิดลมได้ตามปกติ 6. จากสญั ลักษณ์ คือวาลว์ ชนิดใด ก.วาลว์ ควบคุมทิศทาง 3/2 ปกติปิดแบบลูกบอลนงั่ บา่ ทางานโดยใชก้ ลไกกลบั ด้วยสปริง ข.วาลว์ ควบคมุ ทิศทาง 4/2 แบบแผ่นกลมนั่งบ่า ทางานโดยใชป้ มุ่ กดเล่ือนกลับด้วยสปรงิ ค.วาลว์ ควบคุมทศิ ทาง 2/2 แบบลกู บอลน่ังบ่า ทางานโดยใช้กลไกกลับด้วยสปริง ง.วาล์วควบคุมทศิ ทาง 5/2 แบบแผน่ กลมนัง่ บา่ ทางานโดยใช้กลไก กลับด้วยสปรงิ

130 งานนิวแมตกิ สแ์ ละไฮดรอลิกสเ์ บอ้ื งตน้ (2100-1009) แบบทดสอบก่อนเรียน หนา้ ที่ 2/2 หนว่ ยที่ 4 7. จากสัญลักษณ์ คือวาลว์ ชนดิ ใด ก.วาลว์ ควบคมุ ทศิ ทาง 3/2 ปกติปิดแบบลูกบอลนงั่ บา่ ทางานโดยใช้กลไกกลบั ด้วยสปริง ข.วาล์วควบคมุ ทศิ ทาง 2/2 แบบลกู บอลนัง่ บา่ ทางานโดยใชก้ ลไกกลบั ด้วยสปริง ค.วาล์วควบคุมทศิ ทาง 3/2 แบบแผ่นกลมน่ังบ่า ทางานโดยใชป้ ุ่มกดเล่ือนกลบั ด้วยสปริง ง.วาล์วควบคุมทิศทาง 3/2 แบบแผ่นกลมนง่ั บา่ ทางานโดยใช้กลไกกลับด้วยสปริง 8. จากสัญลกั ษณ์ คือวาล์วชนดิ ใด ก. วาลว์ ควบคมุ ทิศทาง 3/2 ปกตปิ ิด ทางานโดยใช้มือเล่ือนไปและกลับ ข. วาลว์ ควบคุมทศิ ทาง 3/2 ปกติปดิ ทางานโดยใช้มือกดกลบั ดว้ ยสปริง ค. วาล์วควบคุมทศิ ทาง 3/2 ปกตปิ ดิ ทางานโดยใช้ลม กลบั ด้วยสปริง ง. วาล์วควบคุมทศิ ทาง 3/2 ปกตปิ ดิ ทางานโดยใชม้ ือกดและลมช่วยเล่ือนกลบั ด้วยสปรงิ 9. จากสญั ลักษณ์ คอื รปู แบบการควบคมุ วาล์วแบบใด ก. ใชก้ ลา้ มเน้อื ข. ใช้คนั โยก ค. ใชเ้ ท้าเหยยี บ ง. ใชล้ ูกกล้ิงทางเดียว 10. จากสัญลกั ษณ์ คือวาลว์ ชนดิ ใด ก. ใชเ้ ทา้ เหยยี บ ข. ใชค้ ันโยก ค. ใช้กลา้ มเนื้อ ง. ใชม้ ือลกู กล้ิงทางเดียว