แบบสอบถามพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ผู้สูงอายุ 2565

แบบสอบถามพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ผู้สูงอายุ 2565

สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดนราธิวาส
Narathiwat Provincial Office of Buddhism

  • หน้าหลัก
  • เกี่ยวกับสำนักพุทธ
    • ประวัติสำนักงานฯ
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    • อำนาจหน้าที่
    • โครงสร้างหน่วยงาน
    • ผู้บริหาร
      • ทำเนียบผู้บริหาร ผอ.พศ.
      • ผู้บริหารส่วนกลาง
      • ผู้บริหารส่วนภูมิภาค
      • ข้อมูลผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง (DCIO)
    • บุคลากร พศจ.นราธิวาส
      • ผู้อำนวยการสำนักงาน
      • บุคลากร พศจ.นราธิวาส
    • ภารกิจ และหน้าที่รับผิดชอบของหน่วยงาน
    • ยุทธศาสตร์แผนพัฒนาหน่วยงาน
    • แผนงาน โครงการ และงบประมาณรายจ่ายประจำปี
      • รายงานผลการใช้จ่ายประจำปี
      • รายงานผลการใช้จ่ายประจำเดือน
      • รายงานการกำกับติดตามการดำเนินงานประจำปี รอบ 6 เดือน
      • รายงานการกำกับติดตามการใช้จ่ายประจำปี รอบ 6 เดือน
      • แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
      • การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
  • ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
      • ข่าวประชาสัมพันธ์
      • ข่าวด่วน (Breaking News)
      • ปฏิทินกิจกรรม (กิจกรรมทางศาสนา)
    • ประกาศสำนักพุทธฯ / ประกาศจังหวัด
    • ข่าวสมัครงาน
    • ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
    • โควิด-19
    • ลิงก์หน่วยงาน
      • หน่วยงานภายใน(ส่วนกลาง)
      • สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด
      • เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง
      • เบอร์โทรศัพท์
    • นิตยภัต
    • เงินอุดหนุนพิเศษฯ
    • งบทดลอง
    • รายงานผลการเบิกจ่าย
  • องค์ความรู้
    • พุทธประวัติ
    • วันสำคัญทางศาสนา
    • วัดสำคัญของจังหวัด
    • สถานที่ปฏิบัติธรรม
    • วีดิโอมัลติมีเดีย
  • บริการสำนักพุทธ
    • ข้อมูลการบริการของหน่วยงาน
      • คู่มือการปฏิบัติงาน
      • ศูนย์รับเรื่องร้องเรียน
      • ข้อปฏิบัติของศาสนพิธีการ
      • การตรวจสอบคุณสมบัติของผู้ขอบรรพชาอุปสมบท
    • คู่มือสำหรับประชาชน (Service Information)
    • ข้อมูลพระ-วัด
    • แบบฟอร์มและเอกสาร
    • แบบสำรวจความพึงพอใจ
    • รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจ
    • ตรวจประวัติบุคคลออนไลน์
    • บริการในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Service)
    • รับเรื่องร้องเรียน
  • กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
    • พระราชบัญญัติ
    • พระราชกำหนด
    • พระราชกฤษฎีกา
    • กฎกระทรวง
    • กฎ
    • ระเบียบ
    • ข้อบังคับ
    • คำสั่ง
    • มติมหาเถรสมาคม
  • ติดต่อเรา
    • ช่องทางการรับฟังความคิดเห็น

แบบสอบถามพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ผู้สูงอายุ 2565

  1. หน้าหลัก
  2. บริการสำนักพุทธ
  3. คู่มือสำหรับประชาชน (Service Information)
  4. คู่มือการดำเนินงานสำรวจพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ของพระสงฆ์

คู่มือการดำเนินงานสำรวจพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ของพระสงฆ์


24/05/2564 | 836 |

แบบสอบถามพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ผู้สูงอายุ 2565

          สำนักอนามัยผู้สูงอายุ และศูนย์อนามัยที่ ๑๒ ยะลา กรมอนามัย ได้ดำเนินงานโครงการพระสงฆ์กับการพัฒนาสุขภาวะ ปี ๒๕๖๔ เพื่อสนับสนุนให้พระสงฆ์ สามเณร และแม่ชี มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health litercy) ได้รับการดูแลส่งเสริมสุขภาพตามหลักพระธรรมวินัย สามารถขยายผลสู่การพัฒนาสุขภาวะของชุมชน โดยได้จัดทำคู่มือการดำเนินงานสำรวจพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ของพระสงฆ์ รายละเอียดตามไฟล์แนบ


คู่มือสำรวจพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ข.pdf |


แบบสอบถามพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ผู้สูงอายุ 2565

แบบสอบถามพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ผู้สูงอายุ 2565

สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดนราธิวาส
Narathiwat Provincial Office of Buddhism

สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ.2563 สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ

ร้อยละของประชากรสูงอายุที่มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของประชากรสูงอายุที่มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2564
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่007.1
Sort Order0
คำนิยาม

ผู้สูงอายุ หมายถึง ประชาชนที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป ทั้งเพศชายและเพศหญิง

พฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ หมายถึง การกระทำหรือพฤติกรรมของบุคคลที่ปฏิบัติแล้วส่งผลดีต่อสุขภาพของบุคคลนั้นๆเอง (ร่างกาย จิตใจ และสังคม)

พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ ประกอบด้วย ด้านการบริโภคอาหาร  ด้านการออกกำลังกาย ด้านการจัดการความเครียด ด้านการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม และด้านการดูแลตนเองในภาวะเจ็บป่วย

1. มีกิจกรรมทางกายที่ระดับปานกลาง (เดิน /ปั่นจักรยาน/ทำงานบ้าน/ ทำไร่/ทำสวน/
   ทำนา/ออกกำลังกาย) สะสม 150 นาที/สัปดาห์

2. กินผักและผลไม้ได้วันละ 5 กำมือ เป็นประจำ (6-7 วันต่อสัปดาห์)

3. ดื่มน้ำเปล่าอย่างน้อยวันละ 8 แก้ว

4. ไม่สูบบุหรี่ /ไม่สูบยาเส้น

5. ไม่ดื่มเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ (เช่น สุรา เบียร์ ยาดองเหล้า)

6. มีการดูแลตนเองเมื่อเจ็บป่วย (เมื่อไม่เจ็บป่วยมีการดูแลตนเอง, เมื่อมีโรคประจำตัว
   มีการรักษาและรับประทานยาต่อเนื่อง)

7. มีการนอนหลับอย่างเพียงพอ อย่างน้อยวันละ 7 – 8

8. ด้านทันตกรรม/การดูแลสุขภาพช่องปาก

หมายเหตุ:

1. ผ่านการประเมินทั้ง 8 ด้าน ถือว่าผ่านการประเมินพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์

2. กิจกรรมทางกาย คือ การเคลื่อนไหวของร่างกายเกิดจากการทำงานของกล้ามเนื้อ
   และทำให้ร่างกายมีการใช้พลังงานเพิ่มขึ้นจากขณะพัก ประกอบด้วย การทำกิจกรรม
   ในชีวิต ประจำวัน เช่น การทำงานบ้าน การทำงานอาชีพที่ต้องใช้แรงกาย การเดินทาง
   ด้วยจักรยานหรือเดินทางเดินขึ้นบันได และกิจกรรมยามว่าง เช่น ออกกำลังกาย
   เล่นกีฬา วิ่ง ปั่นจักรยาน และการท่องเที่ยว (ที่มา : แผนการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
   พ.ศ. 2561-2573)

3. กินผักและผลไม้ได้วันละ 5 กำมือ เป็นประจำ (6-7 วันต่อสัปดาห์)

4.อ้างอิงดัชนีที่ 8 ตามแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2545-2564)
   ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 2 พ.ศ.2561

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aคน
นิยามของค่า Aจำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการประเมินมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์
หน่วยของค่า Bคน
นิยามของค่า Bจำนวนผู้สูงอายุทั้งหมดที่ได้รับการประเมิน
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)x100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมาย50
ประชากรกลุ่มเป้าหมายประชาชนที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป ที่มี ADL ≥ 12 คะแนน ร้อยละ 5 ของประชากรสูงอายุทั้งหมดของพื้นที่
ค่าเป้าหมาย50.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

1. สุ่มสำรวจผู้สูงอายุในพื้นที่เขตสุขภาพตามระเบียบวิธีวิจัย

2. แบบรายงานสรุปผลการดำเนินงาน /รายงานตามระบบโปรแกรมรายงาน

3. ระบบคลังข้อมูล Application Health For You (H4U)

4. ข้อมูลในระบบคลังข้อมูลด้านการแพทย์และสุขภาพ (Health Data Center : HDC)

แหล่งข้อมูล

1. ระบบคลังข้อมูล Application Health For You (H4U) สมุดสุขภาพประชาชน

2. สำนักอนามัยผู้สูงอายุ และ Cluster กลุ่มผู้สูงอายุ ,สำนักอนามัย (กรณีพื้นที่ กทม.)
   และกองส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต

3. ศูนย์อนามัยที่ 1 - 12 และศูนย์สุขภาพจิตที่ 1 - 13

4. ระบบการให้บริการสมุดสุขภาพประชาชน Health For you (H4U)

5. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด, โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล, โรงพยาบาลชุมชน,
   องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น, และสถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง

ตัวชี้วัดระดับกระทรวง-
ตัวชี้วัดระดับเขต-
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด-
ตัวชี้วัดสำคัญ-
ตัวชี้วัด Area Base-
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลพฤศจิกายน 2563 – กรกฎาคม 2564
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2561

2562

2563

พฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ของผู้สูงอายุ

ร้อยละ

54.4

(จากการสำรวจของกรมอนามัย)

52

(จากการสำรวจของกรมอนามัย)

37.8

(จากการสำรวจของกรมอนามัยผ่าน Application Health For You (H4U))

เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2560:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

-

-

-

40

ปี 2561:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

-

-

-

40

ปี 2562:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

-

-

-

50

ปี 2563:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

-

-

-

60

ปี 2564:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

1. มีการชี้แจงแนวทางการ
   ดำเนินการส่วนกลาง
   ส่วนภูมิภาคและพื้นที่

2. มีการอบรมเชิง
   ปฏิบัติการเรื่องการใช้
   งาน Application
   Health For You
   (H4U) หรือสมุดสุขภาพ
   ประชาชน ในการตอบ
   แบบสำรวจพฤติกรรม
   สุขภาพที่พึงประสงค์
   และการวิเคราะห์ข้อมูล
   ผลการดำเนินงาน
   ระดับพื้นที่

1. มีการดำเนินการแล้ว
   เสร็จร้อยละ 50

2. ผลการดำเนินงาน
   ผู้สูงอายุมีพฤติกรรม
   สุขภาพที่พึงประสงค์
   ร้อยละ 40

3. มีการกำกับ ติดตาม
    และ เยี่ยมเสริมพลัง

4. มีการประเมินผลการ
   ดำเนินงาน

1. มีการดำเนินการแล้ว
   เสร็จร้อยละ 100

2. ผลการดำเนินงาน
   ผู้สูงอายุมีพฤติกรรม
   สุขภาพที่พึงประสงค์
   ร้อยละ 50

3. มีการกำกับ ติดตาม
    เยี่ยมเสริมพลัง

4. มีการประเมินผลการ
   ดำเนินงาน

1. สรุปผลการ
   ดำเนินงานและ
   วิเคราะห์ผลการ
   ดำเนินงานที่ผ่าน
   จัดทำเป็นข้อเสนอ
   เชิงนโยบาย

2. วางแผนดำเนินงาน
    ปีงบประมาณ
    2565

วิธีการประเมินผล

คำนวณข้อมูลจากแบบรายงาน Application Health For You (H4U) หรือสมุดสุขภาพประชาชน

เอกสารสนับสนุน

1. สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย

2. คู่มือแนวทางการส่งเสริมสุขภาพดี ชะลอชรา ชีวายืนยาว (Health Promotion &
   Prevention Individual Wellness Plan) สำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและผู้สูงอายุ

3. คู่มือแนวทางการดำเนินงานอำเภอสุขภาพดี 80 ปี ยังแจ๋ว

4. คู่มือการดำเนินงานพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์

4. เกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพด้านสุขภาพ

5. Application สมุดสุขภาพประชาชน (Health for You: H4U)

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. นายแพทย์กิตติ ลาภสมบัติศิริ         ตำแหน่ง : ผู้อำนวยการสำนักอนามัยผู้สูงอายุ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 5904503     โทรศัพท์มือถือ : 081 682 9668

    โทรสาร : 02 590 4501               E-mail :

    สถานที่ทำงาน : สำนักอนามัยผู้สูงอายุ กรมอนามัย

2. นางวิมล บ้านพวน                       ตำแหน่ง : รองผู้อานวยการสานักอนามัยผู้สูงอายุ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 590 4793    โทรศัพท์มือถือ : 097 241 9729

    โทรสาร : 02 590 4501               E-mail :

    สถานที่ทำงาน : สำนักอนามัยผู้สูงอายุ กรมอนามัย

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

1. นางสาวจุฑาภัค เจนจิตร               ตำแหน่ง :  พยาบาลวิชาชีพชานาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 590 4504   โทรศัพท์มือถือ : 091 768 6265

     โทรสาร : 02 590 4501              E-mail :

2. นางสาวศตพร เทยาณรงค์             ตำแหน่ง :  นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 590 4504   โทรศัพท์มือถือ : 094 967 6888

    โทรสาร : 02 590 4501               E-mail :

    สถานที่ทำงาน : กลุ่มพัฒนาระบบสุขภาวะและเครือข่าย สำนักอนามัยผู้สูงอายุ

3. กลุ่มบริหารยุทธศาสตร์

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 590 4499      

    โทรสาร : 02 590 4501              E-mail :

    สถานที่ทำงาน : สำนักอนามัยผู้สูงอายุ กรมอนามัย

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. นางสาวจุฑาภัค เจนจิตร                ตำแหน่ง : พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 590 4504     โทรศัพท์มือถือ : 091 768 6265

   โทรสาร : 02 590 4501                 E-mail :

2. นางสาวศตพร เทยาณรงค์               ตำแหน่ง :  นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 590 4504      โทรศัพท์มือถือ : 094 967 6888

   โทรสาร : 02 590 4501                 E-mail :

   สถานที่ทำงาน : กลุ่มพัฒนาระบบสุขภาวะและเครือข่าย สำนักอนามัยผู้สูงอายุ

3. กลุ่มบริหารยุทธศาสตร์

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 590 4499       

   โทรสาร : 02 590 4501                 E-mail :

   สถานที่ทำงาน : สำนักอนามัยผู้สูงอายุ กรมอนามัย

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base0
Areabase Kpi Regioncode0
หมายเหตุ
Last Update2021-11-04 14:57:09
Download

Log ผลการดำเนินงาน >>