หน้าที่ของฟลักซ์หุ้มแกนลวดเชื่อม

คู่มือผรู้ บั การฝึก
(Trainee Manual)
Competency Based Training

เรอื่ ง
ลวดเช่ือมหุ้มฟลักซ์

บทนา

การฝึกอบรมในระบบ CBT (Competency Based Training) เป็นระบบการฝึกตามความสามารถ เป็น
วธิ กี ารเรยี นรดู้ ้วยการนาตนเอง (Self– directed Learning) วิธีการหนึ่ง ท่ีมุ่งเน้นการเรียนรู้ตามความสามารถ
(Competency) ของแต่ละคน โดยยึดหลักเกณฑ์ท่ีว่าอัตราการเรียนรู้ของแต่ละบุคคลย่อมแตกต่างกัน ท้ังนี้
ขึ้นอยู่กับภูมิหลังและประสบการณ์ตลอดจนความสามารถในการเรียนรู้ของผู้รับการฝึก การฝึกอบรมในระบบ
CBT จะเสนอเน้ือหาท้ังภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติตามขั้นตอนการเรียนรู้ (Know) โดยการแสดงให้เห็นจริง
(Show) ต่อจากน้ันก็ลองฝึกปฏิบัติ (Do) และทบทวน (Review) เพ่ือให้ได้ผลลัพธ์ตามท่ีกาหนดไว้ใน
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม และจะต้องมีรายการตัวช้ีวัดการฝึกอบรมเพ่ือยืนยันว่าผู้รับการฝึกได้บรรลุ
ความสามารถในการฝกึ อบรมตามเกณฑท์ ี่กาหนด

วัตถุประสงค์เชงิ พฤติกรรม

เมือ่ ฝึกจบ เร่อื งลวดเช่อื มหุม้ ฟลักซ์แล้ว ผู้รับการฝึกสามารถ
1. บอกประเภทของสารพอกหุ้มได้
2. บอกมาตรฐานของลวดเช่ือมได้
3. บอกวิธีการเลือกใชล้ วดเชอื่ มได้
4. บอกวธิ กี ารเกบ็ รักษาลวดเช่ือมได้

ส่อื การฝกึ อบรม

1. คมู่ ือผู้รบั การฝกึ เร่ืองลวดเชือ่ มหมุ้ ฟลกั ซ์ จานวน 1 ชุด
2. แบบทดสอบกอ่ นการฝึก - หลังการฝึก จานวน 1 ชุด

การประเมินผลการฝึกอบรม

การประเมินผลการฝึกอบรม เรื่องลวดเช่ือมหุ้มฟลักซ์ ผู้รับการฝึกต้องทาแบบทดสอบ 2 ชุด คือ
แบบทดสอบกอ่ นการฝกึ และแบบทดสอบหลังการฝึก ซ่ึงเป็นข้อสอบแบบปรนัยชนิดเลือกตอบแบบ 4 ตัวเลือก
(ก ข ค และ ง) จานวนชุดละ 5 ข้อ ๆละ 2 คะแนนให้ผ่านเกณฑ์ต้ังแต่ร้อยละ 60 ของ ผ่าน 3 ข้อของ
แบบทดสอบความสามารถของเรื่องการฝึก จึงจะถือว่าผ่านเกณฑ์ แต่ถ้าไม่ผ่านเกณฑ์ผู้รับการฝึกต้องกลับไป
ทบทวนหรือศึกษาเนอ้ื หาอีกคร้งั กอ่ นกลับมาทาแบบทดสอบใหม่จนกว่าจะผ่านการทดสอบ

1. ประเภทสารพอกหุ้ม

ลวดเชื่อมแบบมีสารพอกหุ้มรอบแกนลวดเรียกว่า ลวดเช่ือมมีสารพอกหุ้ม การหุ้มสารพอกหุ้มทาได้หลายวิธีได้แก่
การพน่ การจุ่ม อัด และทา สารพอกหุ้มแกนลวดเชือ่ มนอกจากมีวัตถุประสงค์หลัก ป้องกันน้าโลหะรวมตัวกับธาตุต่าง ๆ
ในอากาศแลว้ ยงั สนับสนนุ ให้การปฏิบตั งิ านเชื่อมมีประสิทธภิ าพดีข้นึ อกี ด้วย

ลวดเช่ือมหมุ้ ฟลักซ์

ลวดเช่อื มหมุ้ ฟลกั ซม์ อี ย่หู ลายชนดิ แตกตา่ งกัน โดยการแบง่ ตามความแตกต่างของวัสดไุ ด้ดงั น้ี
1. ลวดเชือ่ มหุ้มฟลักซ์สาหรบั เหลก็ คาร์บอน
ลวดเช่ือมชนดิ น้ีถกู ใช้สาหรับงานเชื่อมเหล็กคาร์บอนที่มีคาร์บอนผสมอยู่น้อยกว่า 0.25 % ตามมาตรฐานของ
อุตสาหกรรมญ่ีป่นุ ไดแ้ บ่งลวดเชอ่ื มห้มุ ฟลกั ซอ์ อกเป็น 9 ชนิด

1.1 ชนิดอลิ ามไนท์ (D 4301)
ประมาณหน่ึงในสามของเปลือกฟลักซ์โดยน้าหนัก จะประกอบด้วยแร่อิลามไนท์ ช่วยให้มีการอาร์กที่
เขม้ ขน้ พ่นเปน็ ฝอย ซึมลกึ ดี ตะกรันเหลวง่ายตอ่ การเช่อื ม สมรรถนะในการตรวจด้วยรังสีเอ็กซ์ดี ต้านการแตกร้าวได้ดีรอง
จากลวดเช่ือมชนิดไฮโดรเจนต่า เหมาะสาหรับการเชื่อมแผ่นเหล็กท่ีมีความหนาน้อยกว่า 25 มม. มีควันลดลงจากเดิม
ประมาณ 30 %
1.2 ชนดิ ไลมต์ ติ าเนียม (D 4303)
ลวดเช่ือมชนิดนี้เปลือกฟลักซ์ประกอบไปด้วยติตาเนียออกไซด์ (แร่รูไทล์) และไลม์ (หินปูน) มี
ความสามารถในการกาจัดตะกรันออกดีที่สุดในการเชื่อมร่องแคบ ๆเมื่อเปรียบเทียบกับลวดเชื่อมชนิดอื่น เน้ือโลหะเติมจะมี
ความเหนียวสูง
1.3 ชนดิ เซลลูโลสสูง (D 4311)
ลวดเช่ือมชนิดน้ีที่เปลือกฟลักซ์จะมีสารอินทรีย์ผสมอยู่ประมาณ 20 – 30 % สารอินทรีย์จะปกคลุมบ่อ
หลอมเหลวในขณะเช่ือม เราเรียกว่าลวดเชื่อมก๊าซคลุม รอยเชื่อมไม่สวยนักเม็ดสะเก็ดโลหะมาก (Spatter) เกิดข้ีตะกรัน
น้อย เหมาะกับการเชื่อมในตาแหนง่ ทา่ ตัง้
1.4 ชนดิ ติตาเนยี มออกไซด์สงู (D 4313)
ลวดเช่ือมชนิดน้ีจะมีเปลือกฟลักซ์ซึ่งมีติตาเนียมออกไซด์ผสมอยู่ประมาณ 30 – 40 % การอาร์กเรียบ
คงท่ี มเี มด็ สะเก็ดโลหะนอ้ ย ซมึ ลึกดีแนวเชอ่ื มสวย เหมาะกับเชือ่ มแผน่ เหล็กบาง
1.5 ชนิดไฮโดรเจนตา่ (D 4316)
เป็นลวดเช่ือมทมี่ ปี รมิ าณไฮโดรเจนผสมอยู่ในเนื้อโลหะเติมน้อยมาก ส่วนประกอบของเปลือกฟลักซ์คือ
ไลม์ (หินปูน) มีความเป็นด่างสงู การอาร์กคอ่ นขา้ งยาก และถ้ามีการอาร์กระยะยาวก็จะทาให้เกิดบ่อและโพรงก๊าซได้ การ

ทาให้การอาร์กง่ายด้วยการเติมสารที่เป็นส่ือทางไฟฟ้าที่ปลายของลวดเช่ือม เหมาะกับงานโครงสร้าง สามารถเช่ือมแผ่น
เหล็กทม่ี ีความหนามากกวา่ 25 มม.

ปลายเจาะรู

ปลายเรียว

สารส่ือไฟฟ้า ปลายเคลอื บ

1.6 ชนิดผงเหล็กติตาเนยี มออกไซด (D 4342)
ลวดเช่ือมชนิดนี้จะมีผงเหล็กประมาณ 50 % ผสมอยู่ในเปลือกฟลักซ์ของชนิด D 4313 ความสามารถ
ในการทางาน และความสามารถในการเช่ือมของลวดเช่ือมชนิดนี้จะให้ตะเข็บเชื่อมที่สวยงาม เหมาะกับการเช่ือมใน
แนวราบ แนวระดับ และแนวระดับต่อฉากได้
1.7 ชนดิ ผงเหล็กไฮโดรเจนต่า (D 4326)
ลวดเชื่อมชนิดนี้จะมีผลเหล็กผสมอยู่ในเปลือกฟลักซ์ของ D4326 ทาให้อัตราการเติมเน้ือโลหะสูงมาก
เหมาะกับการเช่ือมในแนวราบ แนวระดบั และแนวระดบั ตอ่ ฉาก
1.8 ชนิดผงเหล็ก – ออกไซด์ (D 4327)
ลวดเชื่อมชนิดนี้ถูกใช้ในการเชื่อมท่าราบ และแนวระดับต่อฉาก และเหมาะสมเป็นพิเศษสาหรับงาน
เช่ือมต่อฉากที่เป็นชั้นเชื่อมเดี่ยว ที่มีความยาวปีก 5 – 10 มม. ใช้ได้ท้ังกับการเช่ือมด้วยมือและแบบก่ึงอัตโนมัติ มีควัน
ประมาณ 50 %
1.9 ชนิดพเิ ศษ (D 4340)
ลวดเชื่อมชนิดนี้มักมีส่วนผสมของเปลือกฟลักซ์ และคุณสมบัติในการทางานที่พิเศษออกไป ในจาพวก
ลวดเชื่อมชนิดนี้เม่ือใช้ลวดชนิดแพร่ควันน้อยก็จะมีอัตราการแพร่ควันลดลงจากเดิมประมาณ 30 % คุณสมบัติในการเชื่อม
ของลวดเช่อื มจะแบ่งตามคุณสมบตั ิของสารพอกห้มุ หรือชนิดชนิดของฟลกั ซ์
2. ลวดเช่ือมหุม้ ฟลักซ์สาหรบั เหล็กกลา้ ทนแรงดงึ สูง
ใชส้ าหรบั เหลก็ กล้าท่ีทนแรงดงึ ได้ระหว่าง 50 – 80 กก.แรง/มม.2 แต่ลวดเชื่อมชนิดอิลามไนท์และชนิดไลม์ติ
ตาเนียม ถูกใช้กับเหล็กกล้าทนแรงดึง 50 กก.แรง/มม.2 แต่ลวดเชื่อมชนิดไฮโดรเจนต่าจะถูกนามาใช้มากที่สุดในกรณีท่ี
ตอ้ งการตอ่ ตา้ นการแตกรา้ ว เมือ่ ใช้ลวดเชื่อมชนิดแพร่ควนั น้อยก็จะมอี ัตราการแพร่ควนั ลดลงจากเดิมประมาณ 25 – 40 %

ลวดเช่อื มมสี ารพอกหุ้ม % ลวดเชอ่ื มมสี ารพอกหมุ้ % ลวดเชอ่ื มมีสารพอกหุม้ %
เป็นชนดิ กรด (ACID) 50 ชนิดรไู ทล์ (RUTILE) 45 ชนิดด่าง (BASIC) 45
ชนิดของสารผสม ชนิดของสารผสม ชนดิ ของสารผสม
MAGNETTIE Fe3O4 RUTILE TiO2 FLUORITE CaF2

QUARTZ SiO2 20 MAGNETTIE Fe3O2 10 CALCITE CaCo3 40
CALCITE CaCo3 10 QUARTZ SiO2 20 QUARTZ SiO2 10
Fe-Mn 20 CALCITE CaCo3 10 Fe-Mn 5
Fe-Mn 15
WATER GLASS WATER GLASS
WATER GLASS

3. ลวดเชอื่ มหุม้ ฟลกั ซ์สาหรบั เหลก็ กลา้ ทใ่ี ช้งานในอุณหภูมติ ่า
ลวดเช่ือมชนิดน้ีผลิตขึ้นมาให้มีคุณสมบัติทางด้านความเหนียวสูง ที่อุณหภูมิต่ากว่าอุณหภูมิห้อง เหล็กกล้า
ชนิดนี้ได้แก่ เหล็กกล้าอลูมีเนียมคิลด์ (Aluminium Killed Steel) เหล็กกล้า 3.5 % นิเกิล เหล็กกล้า 9 % นิเกิล และ
เหล็กกล้าไร้สนิมชนิดออสเตนิติค เป็นต้น เม่ือลวดเช่ือมหุ้มฟลักซ์สาหรับเหล็กกล้าท่ีใช้งานในที่อุณหภูมิต่า ต้องทาให้เนื้อ
โลหะเติมมีค่าความเหนียวสูงที่อุณหภูมิตา่ เปลอื กหมุ้ ฟลักซข์ องลวดเชือ่ มชนิดน้ีจงึ ต้องใช้ชนิดไฮโดรเจนต่า
4. ลวดเช่อื มหมุ้ ฟลักซส์ าหรับเหลก็ กลา้ ไร้สนิม
เหลก็ กลา้ ไรส้ นมิ ถูกใช้สาหรบั การป้องกันการกดั กร่อน ปอ้ งกนั ความรอ้ นหรือใช้เป็นวัสดุท่ีใช้งานในอุณหภูมิต่า
สาหรับในงานเช่ือมเหล็กกล้าไร้สนิม ลวดเช่ือมท่ีนามาใช้งานจะต้องมีคุณสมบัติต่าง ๆตรงกันกับเหล็กกล้าไร้สนิมน้ัน ๆ
ฟลักซ์จะใช้ชนิดไลม์ติตาเนียมและชนิดไลม์ นามาใช้เป็นเปลือกฟลักซ์หุ้มลวดเช่ือมสาหรับเหล็กกล้าไร้สนิม และสาหรับ
ชนดิ ไลมต์ ติ าเนียมจะถกู นามาใช้มากท่สี ดุ เน้ือโลหะเตมิ ทถี่ ูกเช่อื มโดยลวดเชอ่ื มสาหรับเหลก็ กล้าไรส้ นิมชนิดออสเตนิติคจะมี
โครงสรา้ งเป็นไรท์จานวนมาก ซึง่ ป้องกนั การแตกร้าวทีอ่ ุณหภูมิสงู
5. ลวดเชือ่ มหุ้มฟลกั ซ์สาหรับเหล็กกล้าเจอื ต่าตา้ นความรอ้ น
เหล็กท่ีนามาใช้ทาหม้อไอน้า อุตสาหกรรมเคมีและเครื่องมือ อุปกรณ์ในการกล่ันน้ามันปิโตรเลียมก็คือ
เหลก็ กล้าไร้สนมิ และเหล็กกล้าโครเมยี ม-โมลิบดินัม เป็นเหล็กที่ช่วยต่อต้านความร้อน ลวดเชื่อมท่ีนามาใช้งานจะต้องเลือก
ใหม้ ธี าตเุ จือเหมอื นกันกับเหล็กชิน้ งาน
6. ลวดเช่อื มหุม้ ฟลักซ์สาหรบั เหลก็ หล่อ
เหล็กหล่อมีส่วนผสมของคาร์บอนประมาณ 3 – 4 % และด้วยเหตุน้ีเหล็กหล่อจึงไม่สามารถทาการเชื่อมได้
โดยง่าย ดังนั้นลวดเชื่อมชนิด DFCNI จะเป็นชนิดที่นิยมใช้กันมากท่ีสุด เพราะว่าลวดเช่ือมชนิดนี้จะทาให้ความสามารถใน
การเช่ือมท่ีดีมาก และรอยเชื่อมจะมีความสามารถในการตัดแปรรูปสูง คือมีความแข็งแรงน้อยที่สุด โดยทั่ว ๆไปนิเกิล
บริสุทธิ์หรือเหล็กนิเกิลจะถูกใช้สาหรับทาแกนลวดเชื่อม ซ่ึงถูกพอกหุ้มไว้ด้วยผงแกรไฟต์บาง แกนลวดเช่ือมทาจากเหล็ก
บริสทุ ธิ์ พอกด้วยเปลอื กฟลกั ซ์ชนดิ ไฮโดรเจนตา่
7. ลวดเชอ่ื มหุ้มฟลกั ซส์ าหรบั โลหะอืน่ ๆ
นอกจากลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ท่ีกล่าวมาข้างต้น ยังมีลวดชนิดอื่น ๆท่ีใช้งานได้พิเศษออกไป เช่น ลวดเชื่อม
สาหรบั พอกผิวแข็งเพ่ือเพิ่มอายุการใช้งาน ลวดเช่ือมสาหรับเหล็กกล้า 9 % นิเกิล สาหรับใช้งานท่ีอุณหภูมิต่า ลวดเชื่อม
สาหรบั นเิ กลิ และนเิ กิลเจอื ทีใ่ ชส้ าหรับงานเชือ่ มเหล็กกล้าตอ่ ต้านการกดั กร่อน เป็นต้น

ฟลกั ซ์ (FUNCTION OF FLUX)
ฟลักซ์ท่ีใชห้ ุม้ แกนลวดจะหลอมเหลวขณะเกดิ การอาร์กซ่ึงมหี น้าที่ตา่ ง ๆดงั นี้
1. สร้างสแลกและแก๊สปกคลุมแนวเช่ือม ในขณะทาการอาร์กฟลักซ์ซ่ึงทาจากวัสดุที่ช่วยทาให้โลหะ
หลอมเหลวจะหลอมเหลวพร้อมกัน ทาให้บ่อหลอมเหลวสะอาดและเกิดปฏิกริยาลดออกซิเจนในแนวเชื่อม โดยการสร้าง

แก๊สปกคลุมบ่อหลอมเหลวป้องกันแก๊สออกซิเจนและไนโตรเจนเข้ารวมตัวกับน้าโลหะเหลว ขณะรอยเช่ือมแข็งตัวก็จะ

กลายเปน็ สแลกปกคลุมแนวเชื่อมและยงั ชว่ ยทาหนา้ ที่ ดงั น้ี

1.1 เป็นตวั ชว่ ยดงึ ออกไซด์ และสิ่งสกปรกในโลหะเหลวออกมารวมไวใ้ นตัวสแลก

1.2 ชว่ ยลดอตั ราการแขง็ ตวั และอัตราเยน็ ตวั ของโลหะเหลว

1.3 ชว่ ยควบคมุ รปู รา่ งลักษณะและผวิ ของแนวเชอ่ื ม

2. ปรับปรุงสมบัติของแนวเช่ือมให้ดีข้ึน ฟลักซ์นอกจากจะช่วยควบคุมส่วนผสมของเน้ือโลหะเช่ือม โดยการ

ทาใหส้ ว่ นผสมของแกนลวดไม่เปลี่ยนแปลงแล้วยังสามารถเติมส่วนผสมลงในแนวเชื่อมให้มีมความเหมาะสมกับลักษณะของ

งาน โดยการเติมสารต่าง ๆที่ต้องการผสมในฟลักซ์ เช่น ผสมผงแมงกานีสลงในฟลักซ์ เพ่ือชดเชยแมงกานิสท่ีจะหาย

ในขณะโลหะหลอมเหลว นอกจากนน้ั ยังผสมผงเหลก็ ลงในฟลักซ์ เพือ่ เพ่มิ ความเรว็ ในการเติมลวด เป็นตน้

3. ช่วยให้ประสิทธิภาพการเชื่อมดีขึ้น ฟลักซ์จะผสมสารท่ีช่วยให้เกิดการแตกตัวเป็นอิออนระหว่างลวดเชื่อม

กับช้นิ งานทาใหเ้ ร่มิ ตน้ อาร์กง่ายและควบคุมได้อย่างสม่าเสมอ ส่วนผสมของฟลักซ์ (Composition of Flux) ส่วนผสมของฟ

ลักซ์เป็นองค์ประกอบหน่ึงท่ีมีความสาคัญ ซึ่งจะทาให้ประสิทธิภาพในการอาร์กท่ีแตกต่างกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งสแลก

จะต้องมีความถ่วงจาเพาะต่ากว่าเน้ือโลหะเช่ือม ซ่ึงจะถูกขับออกมาเหนือโลหะหลอมเหลวในกรณีเช่ือมท่าเช่ือมเหนือ

ศีรษะ ท่าต้งั และท่านขนานนอน วสั ดทุ นี่ ามาทาฟลักซจ์ ะมีหลายชนิด ซง่ึ แบ่งตามหน้าทที่ ี่นาไปใชง้ านมดี ังน้ี

1) สารที่เป็นฟลักซ์

2) สารลดออกซเิ จน

3) สารทีเ่ ปน็ สแลก

4) สารทเ่ี ป็นกาว

5) ธาตุท่ผี สมลงในแนวเชอ่ื ม

6) สารทล่ี ดแก๊สในแนวเชือ่ ม

7) สารทท่ี าให้การอารก์ คงท่ี

8) สารทท่ี าให้เกิดแก๊สปกคลุม

ลกั ษณะที่สาคัญของฟลักซ์ชนดิ กาวประสาน

ชนิดของฟลกั ซ์ ลกั ษณะทส่ี าคญั ส่วนผสมของเส้น การใช้งาน
ลวดเชื่อม

ฟลักซ์สาหรบั ส่วนผสมพื้นฐานคือ Sio2 + CaO + MgO และ CaO + เ ส้ น ล ว ด เ ช่ื อ ม การเชื่อมต่อชนของแผ่นเหล็กคาร์บอน
เหล็กคาร์บอน MgO ก็ถูกผสมเข้าไปในรูปของคาร์บอเนต Mn และ Si แมงกานีสตา่ หนา
ใส่เข้าไปเพื่อเป็นตัวลดออกซิเจน สามารถใช้งานได้ดีที่
กระแสสงู คณุ สมบัติทางกลจะดี และบางครั้งฟลักซ์น้ีจะ เ ส้ น ล ว ด เ ชื่ อ ม การเชื่อมต่อชนของแผ่นเหล็กคาร์บอน
เติมผงเหลก็ เข้าไปด้วย แ ม ง ก า นี ส ป า น บาง

กลาง

ส่วนผสมทางเคมีเกือบเหมือนกันกับฟลักซ์สาหรับเหล็ก เ ส้ น ล ว ด เ ช่ื อ ม การเช่ือมต่อชนของแผ่นเหล็กทนแรงดึง

ฟลกั ซ์สาหรับเหลก็ กลา้ คารบ์ อน Ms Si และ Mo ถกู ใส่เขา้ ไปเพื่อใหเ้ ป็นธาตเุ จือ แมงกานสี ต่า สูงแผน่ หนา
ทนแรงดงึ สูง (50 HT) สามารถใชง้ านได้ดที ่ีกระแสไฟสูง ไดค้ ณุ สมบัติทางกลท่ีดี

สัญลกั ษณ์สารพอกหมุ้ แกนลวดเชือ่ ม จะกาหนดแทนด้วยตัวอกั ษรดังนี้

อักษร A คือ สารพอกหุ้มประเภทกรดผสมเหล็กออกไซด์ เม่ือเช่ือมแล้วเกิดขี้ตะกรันที่ประกอบด้วยเหล็ก
ออกไซด์ แมงกานีสออกไซด์ และซิลิกา นอกจากนียังประกอบด้วยเฟอร์โรแมงกานีส และ/หรือตัวดีออกไซด์อื่น ๆตะกรัน
เมอื่ แข็งตวั จะมลี กั ษณะคลา้ ยรังผ้ึง และหลุดง่าย ลวดเช่ือมสัญลักษณ์นี้มีอัตราการหลอมตัวสูง และอาจใช้กระแสไฟฟ้าสูง
ได้ สารพอกหมุ้ มีความหนาพอทจี่ ะละลายเนื้อโลหะได้ลึก ลวดเช่ือมนี้เหมาะอย่างย่ิงสาหรับการเชื่อมในท่าราบ ลวดเชื่อม
นใ้ี ชไ้ ด้ทง้ั ไฟกระแสสลบั และกระแสตรง โลหะแม่ตอ้ งมคี ณุ สมบตั กิ ารเช่อื มท่ดี ี มิฉะน้ันอาจเกิดการร้าวร้อน (Hot Cracking)
ได้ โดยเฉพาะในการเชอ่ื มต่อฉากในแนวระดบั เมือ่ คาร์บอนสูงกวา่ ร้อยละ 0.24 ส่วนเหล็กกล้าเนื้อแน่น (Killed Steel) ซ่ึงมี
กามะถนั เกินร้อยละ 0.05 จะมีแนวโน้มสาหรับการร้าวร้อนมากกว่าเหลก็ กล้าผิวอ่อน ซ่งึ มีกามะถันร้อยละ 0.06

อักษร AR คือ สารพอกหุ้มประเภทกรดซึ่งมีรูไทล์ผสม ทาให้เกิดข้ีตะกรันคล้ายกับลวดเชื่อมสัญลักษณ์ A
โดยทั่วไปตะกรันมีลักษณะเหลวกว่า สมบัติในการใช้งานเหมือนลวดเชื่อมสัญลักษณ์ A ข้อแตกต่างอยู่ที่สารพอกหุ้ม
สัญลักษณ์ AR มีติตาเนียมออกไซด์ผสมอยู่ไม่เกินร้อยละ 35 หรือมีปริมาณติตาเนียมออกไซด์มากว่าปริมาณรวมตัวของ
เหลก็ ออกไซด์และแมงกานีสออกไซด์ และในกรณีท่ีใช้แร่อิลเมไนต์ ถ้ามีปริมาณติตาเนียมออกไซด์มากกว่าปริมาณรวมของ
เหล็กออกไซดแ์ ละแมงกานสี ออกไซด์ก็ถือวา่ เปน็ สารพอกหุ้มสัญลักษณ์ AR เช่นกนั

อักษร B คือ สารพอกหุ้มประเภทด่างปกติประกอบด้วยแคลเซี่ยมคาร์บอเนต หรือคาร์บอเนตอื่น ๆและ
ฟลูออรัสปาร์ ในปริมาณทีม่ ากพอจนแสดงลกั ษณะเป็นดา่ ง ตะกรันมีปริมาณปานกลาง เน้ือแน่น มีสีน้าตาลถึงน้าตาลเข้ม
ผิวเป็นมันและเคาะหลุดง่าย เน่ืองจากขี้ตะกรันลอยข้ึนมาบนผิวของเน้ือโลหะเชื่อมได้รวดเร็ว จึงไม่ตกค้างอยู่ในเน้ือโลหะ
เชอ่ื ม ลวดเชือ่ มสัญลักษณ์นจี้ ะมกี ารหลอมตัวลึกปานกลาง เหมาะสาหรบั การเช่ือมทุกแนว โดยมากใช้กับไฟฟ้ากระแสตรง
โดยมีลวดเชื่อมเป็นข้ัวบวก แต่สามารถใช้กับไฟฟ้ากระแสสลับได้ เน่ืองจากเน้ือโลหะเชื่อมมีความต้านทานต่อการร้าวร้อน
และร้าวเย็น (Cool Cracking) ดังนั้นลวดเชื่อมสัญลักษณ์นี้จึงเหมาะอย่างย่ิงสาหรับการเชื่อมเหล็กหนา และโครงสร้าง
เหล็กกล้าละมุนท่ีมีคณุ สมบัติในการเชื่อมดี เพ่อื หลกี เล่ยี งการเกดิ รูพรุนจะต้องอบลวดเชื่อมใหแ้ ห้งสนิทก่อนนาไปเช่ือม ตาม
คาแนะนาของผู้ผลิต เพื่อให้เน้ือโลหะเชื่อมมีไฮโดรเจนต่า และป้องกันการแตกร้าวใต้แนวเช่ือม ซ่ึงอาจเกิดข้ึนเม่ือเหล็กมี
การแขง็ ตวั ในบริเวณขา้ งแนวเช่ือม สารพอกหุ้มสญั ลกั ษณน์ ้ีโดยทัว่ ไปควรมคี วามช้นื ไม่เกินรอ้ ยละ 0.6

อกั ษร C คือ สารพอกหุ้มประเภทเซลลูโลสมีสารอินทรีย์จานวนมากที่เผาไหม้ได้จึงทาให้เกิดก๊าซปกคลุมมาก
ตะกรนั มีน้อยและหลุดออกง่าย ลวดเช่ือมสัญลักษณ์นี้จะมีลักษณะเฉพาะท่ีสามารถหลอมตัวได้เร็วและลึก การสูญเสียโดย
การกระเด็นคอ่ นขา้ งมาก ผวิ เช่ือมเป็นลูกคล่ืน ลวดเช่ือมนีใ้ ช้เชอื่ มไดท้ ุกแนว

อักษร O คือ สารพอกหุ้มประเภทตัวออกซิไดซ์ ประกอบด้วยเหล็กออกไซด์เป็นส่วนใหญ่ จะมีหรือไม่มี
แมงกานีสออกไซด์กไ็ ด้ เนื้อโลหะเช่ือมมีคาร์บอนและแมงกานีสต่า เนื้อตะกรันแน่น หนา และหลุดออกได้เอง ลวดเชื่อม
น้ีทาให้เกิดการหลอมตัวตื้น เหมาะสาหรับการเช่ือมเล็กน้อย โดยท่ัวไปใช้สาหรับการเช่ือมต่อฉากในแนวระดับ และการ
เชือ่ มตอ่ ฉากแนวราบ ส่วนใหญใ่ ชส้ าหรับการเช่ือมท่ีตอ้ งการแนวเชอื่ มสวยงามมากกวา่ ความแข็งแรง

อักษร RR คือ สารพอกหุ้มประเภทรูไทล์ ประกอบด้วยรูไทล์ประมาณร้อยละ 50 โดยน้าหนัก แต่มี
เซลลูโลสไม่เกินร้อยละ 5 เน้ือตะกรันแน่นหนาและหลุดได้ง่าย ลักษณะผิวหน้าของเนื้อโลหะเชื่อมเหมือนสัญลักษณ์ O
ถึงแม้ว่าเน้ือโลหะเช่ือมที่ใช้ลวดเช่ือมน้ีจะเกิดการร้าวร้อนได้ง่าย แต่ไม่มากเหมือนประเภทกรด การเชื่ อมต้องใช้ความ
ระมัดระวัง เพราะความหนาของคอรอยเชือ่ ม น้อยกว่าการเช่อื มดว้ ยลวดเชือ่ มทีม่ ีสารพอกห้มุ ประเภทกรด ใช้กระแสไฟฟ้า
ต่า และมอี ัตราการหลอมช้ากว่าลวดเชอ่ื มสญั ลักษณ์ AR

อักษร S คือ สารพอกหุ้มประเภทอ่ืน ๆนอกเหนือจากที่ระบุไว้ และมีสัญลักษณ์เฉพาะแตกต่างจากหัวข้อท่ี
กลา่ วมาแล้ว

ส่วนประกอบทางเคมีของแกนลวดเช่ือม

ชนิดแกน สว่ นประกอบทางเคมขี องแกนลวดเชอ่ื ม
ลวดเช่อื ม
คาร์บอน ซลิ ิกอน แมงกานีส กามะถนั ฟอสฟอรัส ทองแดง
1 ไมเ่ กนิ ไม่เกนิ
0.09 ไมเ่ กิน ไมเ่ กิน ไม่เกนิ 0.20
2 ไม่เกนิ ไมเ่ กิน
0.03 0.03 0.35–0.65 0.023 0.020 0.20

ไม่เกนิ ไม่เกิน ไมเ่ กนิ

0.03 0.35–0.65 0.023 0.020

2. มาตรฐานลวดเช่อื ม

ลวดเช่ือมแต่ละชนิดจะแตกต่างกันตามชนิดของสารพอกหุ้ม ซ่ึงสารพอกหุ้มจะมีปริมาณ 1 % ของน้าหนัก
ลวด การเคลือบสารพอกหุ้มด้วยวิธีจุ่ม จะใช้กับสารพอกหุ้มชนิดเหลวที่แห้งเร็ว การเคลือบสารพอกหุ้มหรือฟลักซ์ด้วย
กรรมวิธีนี้ จะได้ความหนาของสารพอกหุ้มปานกลาง สาหรับการเคลือบสารพอกหุ้มหนาใช้วิธี Extrusion หรือกรรมวิธีจุ่ม
หลาย ๆคร้งั ตวั ยดึ เกาะส่วนผสม (Binder) เป็นสารละลายของโซเดยี มซลิ ิเกต กาวยางไม้ แลคเกอร์ อื่น ๆซึ่งเป็นวัสดุท่ีใช้
ในการเกาะยึดสารพอกหมุ้ ให้ตดิ กันและติดกบั แกนลวดเชอ่ื ม

ในปัจจุบันสัญลักษณ์ของลวดเชื่อมไฟฟ้ามีหลายมาตรฐาน แต่ท่ีอ้างอิงและนามาใช้กันกว้างขวางมีอยู่ 2 – 3
สัญลกั ษณเ์ ท่านนั้ มาตรฐานการบอกชนิดของลวดเช่ือมมอี ยู่ 2 ระบบ คือ มาตรฐานการบอกชนิดลวดเชื่อมระบบบอกด้วย
สี (Color Indentification System) และระบบกาหนดช้ันเป็นตัวเลข (Classification Number) มาตรฐานการบอกชนิด
ลวดเช่ือมระบบสี ใช้กับลวดเชื่อมเปลือย และลวดเช่ือมมีสารพอกหุ้ม กาหนดโดย National Electrical Manufactures
Association (NEMA) กับ American Welding Society (AWS) ตาแหน่งของสีจะแสดงดังภาพ ส่วนความหมายของสีจะ
แสดงไว้ในตาราง

รหัสบอกชนิดของลวดเชือ่ มมสี ารพอกหมุ้ เหล็กกล้าคารบ์ อนและเหล็กกล้าผสมต่า
Group Color – No Color

XX10, XX11, XX14, XX24, XX27, XX28 and all 60XX

End color

Spot color No color Blue Black Orange
No color E6010 E7010G E7014 EST
White E6012 E7010-A1 E7024 ECI
Brown E6013
Green E6020 E7011G
Blue E6011 E7011-A1
Yellow

Black E7028

Silver E6027

Group Color -Silver

All XX13 and XX20 except E6013 and E6020

Brown

White

Green E7020G

Yellow E7020-A1

รหัสสบี อกชนดิ ของลวดเช่ือมมสี ารพอกหุ้ม ไฮโดรเจนต่าและเหล็กกล้าผสมต่า
Group Color - Green

XX15, XX16 and XX18 except E6013 and E6016

End color No Blue Black White Gray Brown Violet Green Red Orange
color
Spot E7015 E9015-B3l E8015G E9015G E10015G E12015G
color E7015G
E7015-A1 E9015-D1 E12016G
Red E7016G E12018G
White E7016 E8015-B2l E8016-C3 E9015-B3 E9016G E11016G
Brown E7018G E8015-B4l E8015-B4 E11018G
Green E7016-A1 E8016G E10015-D2
Bronze E7018 E9016G
Orange E8016-B1 E8018-B1 E9018-B3 E10018G
Yellow E7018-A1 E8016-C1 E8018-C1 E9016-D1
Black E8018-C3 E8016-C2 E8018-C2 E9018G E10018-D2
Blue E8016-B2 E8018-B2 E9016-B3 E10016-D2
Violet E8018G E8016-B4 E9018-D1
Gray
Silver E8018-B4
Mil-12108

2.1 มาตรฐานสมาคมการเช่ือมอเมริกัน (American Welding Society : AWS) ได้จัดกลุ่มลวดเชื่อมหุ้มฟ
ลกั ซ์ สาหรับเช่ือมเหล็กชนิดต่าง ๆเช่นกลุ่ม A5.1 สาหรับงานเชื่อมเหล็กกล้าละมุนและเหล็กกล้าโครงสร้าง ซ่ึงได้กาหนด
เป็นรหสั ตัวอกั ษรผสมตัวเลข ดงั นี้

AWS A5.1 – 91 E XX XX ซึ่งมีความหมายดังน้ี
A 5.1 หมายถงึ กลมุ่ ลวดเชอื่ มห้มุ ฟลกั ซส์ าหรบั เช่อื มเหล็กกล้าละมุน
91 หมายถงึ ปที ก่ี าหนดมาตรฐาน
E (Electrode) หมายถึง ลวดเช่ือมหมุ้ ฟลกั ซ์
XX หมายถงึ ค่าความตา้ นทานแรงดึงตา่ สดุ มีหนว่ ยเป็นปอนดต์ ่อตารางนว้ิ (PSI) คูณค่าคงท่ี (1,000)
X หมายถึง ตาแหน่งท่าเช่อื ม
X หมายถงึ สมบตั ติ ่าง ๆ ของลวดเชอื่ ม , กระแสไฟ , การอารก์ , การกินลึกและชนิดของฟลกั ซ์

ตัวอย่าง ลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ในกลุ่ม A5.1 – 91 ได้แก่ E 6010 เป็นลวดเช่ือมหุ้มฟลักซ์เซลลูโลสค่าความ

ต้านทานแรงดึงต่าสุด 60,000 ปอนด์ / ตารางน้ิว (60) เช่ือมได้ทุกตาแหน่ง (1) ใช้กระแสไฟ

เชื่อม DCEP (Direct Current Electrode Positive) การอาร์กรุนแรงกินลึกสูง E 6013 เป็นลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์รู

ไทล์ ค่าความต้านทานแรงดึงต่าสุด 60,000 ปอนด์/ตารางนิ้ว (60) เช่ือมได้ทุกตาแหน่ง (1) ใช้กระแสไฟเชื่อม AC และ

DCEP และDCEN การอาร์กน่ิม การกินลึกน้อย ตัวเลขตาแหน่งสุดท้ายจะแสดงสมบัติต่างๆ ของลวดเช่ือมดังตาราง

ต่อไปน้ี

แสดงความหมายตา่ งๆ ของตัวเลขตาแหนง่ สดุ ทา้ ย

รหัส ชนิดกระแสไฟ การอาร์ก การละลายลึก สารพอกหุ้ม ผงเหลก็

EXX10 DCEP รนุ แรง มาก เซลลโู ลส-โซเดียม 0-10%

EXXX1 AC & DCEP รนุ แรง มาก เซลลูโลส-โพแทสเซียม 0%

EXXX2 AC & DCEN ปานกลาง ปานกลาง รไู ทล์ - โซเดยี ม 0-10&

EXXX3 AC & DCEP & EN น่ิม น้อย รไู ทล์ – โพแทสเซยี ม 0-10%

EXXX4 AC & DCEP & EN นมิ่ นอ้ ย รไู ทล์-ผงเหล็ก 25-40%

EXXX5 DCEP ปานกลาง ปานกลาง ไฮโดรเจนตา่ -โซเดียม 0%

EXXX6 AC or DCEP ปานกลาง ปานกลาง ไฮโดรเจนตา่ -โพแทสเซยี ม 0%

EXXX8 AC or DCEP ปานกลาง ปานกลาง ไฮโดรเจนต่า-ผงเหลก็ 25-40%

EXX20 AC & DCEP & EN ปานกลาง ปานกลาง เหล็กออกไซด์-โซเดยี ม 0%

EXX24 AC & DCEP & EN นมิ่ น้อย รูไทล์-ผงเหลก็ 50%

EXX27 AC & DCEP & EN ปานกลาง ปานกลาง เหล็กออกไซด์-ผงเหลก็ 50%

SXX28 AC or DCEP ปานกลาง ปานกลาง ไฮโดรเจนตา่ -ผงเหลก็ 50%

2.2 มาตรฐานประเทศไทย (Thai Industrial Standard : TIS) สานักงานมาตรฐาน
ผลติ ภัณฑ์อตุ สาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรมไดก้ าหนดมาตรฐานลวดเชื่อมหมุ้ ฟลักซ์ไว้ ดงั น้ี

มอก. 49 – 2538 สาหรบั งานเช่ือมเหลก็ กลา้ ละมนุ ตามรหัส ดงั นี้
E XX XB X X มคี วามหมายดงั น้ี
E หมายถงึ ลวดเชอื่ มหมุ้ ฟลักซ์
XX หมายถึง ความตา้ นทานแรงดึงของเนือ้ โลหะเชอื่ ม
X หมายถึง ค่าความตา้ นทานแรงกระแทก , ความยดื หยนุ่ ของเน้อื โลหะเชอื่ ม
B หมายถึง ชนิดของฟลักซ์
X หมายถงึ ตาแหนง่ ท่าเชอ่ื ม
X หมายถงึ กระแสไฟเช่อื ม
ตวั อย่าง ลวดเชือ่ มหมุ้ ฟลกั ซ์ในกลุ่ม มอก. 49 – 2538 ไดแ้ ก่
E 43 2R 13 เป็นลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์รูไทล์ เน้ือโลหะเชื่อมมีสมบัติทางกล ดังน้ี ความต้านทานต่อแรง
ดงึ 430 – 510 เมกาปาสกาล (43) ความยืด 22% ความต้านทานแรงกระแทกท่ี 28 จูล ณ อุณหภูมิ 0o C (2) เชื่อม

ได้ทุกตาแหน่ง (1) ใช้กระแสไฟเชื่อม DCEP (3) สาหรับตัวเลขทั้ง 4 กลุ่มนั้น จะแสดงสมบัติต่าง ๆของลวดเช่ือม ดัง
แสดงในตารางต่อไปน้ี

แสดงความหมายของตัวเลขคแู่ รก

รหัส ความตา้ นทานของโลหะเชื่อม หมายเหตุ

43 430 – 510 เมกาปาสกาล สูงกวา่ ค่าสงู สุดได้ไมเ่ กิน

51 510 – 610 เมกาปาสกาล 40 เมกาปาสกาล

แสดงความหมายของตวั เลขตวั ที่ 3

% การยืดตัวตา่ สดุ ท่ี L=5d อณุ หภมู ิขณะทดสอบแรงกระแทกที่ 28 จูลเป็นองศา C

รหัส E43 E51

0 ไม่กาหนด ไมก่ าหนด ไม่กาหนด

1 20 18 +20

2 22 18 0

3 24 20 -20

4 24 20 -30

5 24 20 -40

แสดงความหมายของชนดิ ของฟลกั ซ์
รหัส ชนิดของฟลกั ซ์

A กรดผสมเหล็กออกไซด์
AR กรดผสมรไู ทล์
B ด่าง
C เซลลูโลส
O ออกซิไดซ์ (ประกอบด้วยเหล็กออกไซด์)
R รไู ทล์ (ผสมเซลลโู ลส 15%)
RR รูไทล์ (ผสมเซลลูโลสไมเ่ กิน 5%)
S ประเภทอืน่ ๆ

แสดงความหมายของตาแหนง่ ทา่ เชือ่ ม
รหสั ตาแหน่งทา่ เชอ่ื ม

1 เช่อื มได้ทุกทา่ เชอ่ื ม

2 เชอื่ มไดท้ กุ ท่าเช่ือม ยกเว้นท่าต้ังเชอ่ื มขึ้น

3 เช่ือมท่าราบและแนวเช่อื มมมุ ทา่ ระดบั

4 เช่อื มทา่ ราบทั้งรอยต่อชนและแนวเชื่อมมมุ

5 เชอ่ื มท่าราบ , ทา่ เช่ือมลงและแนวเชอื่ มมมุ ท่าระดับ

9 อน่ื ๆ นอกเหนอื จากทร่ี ะบุไว้

แสดงความหมายตัวเลขตัวที่ 5 กระแสและแรงดนั ไฟฟา้ ท่ีใช้

รหัส ไฟฟ้ากระแสตรง(DC)ลวดเช่ือมเป็นขั้ว ไฟฟา้ กระแสสลับ (AC)(โวลท)์

0 บวก ไมก่ าหนด

1 บวกหรือลบ 50

2 ลบ 50

3 บวก 50

4 บวกหรือลบ 70

5 ลบ 70

6 บวก 70

7 บวกหรือลบ 90

8 ลบ 90

9 บวก 90

หมายเหตุ 1) คา่ แรงดันไฟฟ้าทีก่ าหนดนใ้ี ชส้ าหรับลวดเชอ่ื มขนาด 2.6 มม. ถา้ ลวดเช่อื ม เลก็ กวา่ น้ีแรงดนั ไฟฟา้ ต้องสูงกวา่ น้ี
2) สาหรับกระแสตรงไมก่ าหนดเพราะขึ้นอยู่กับคุณลกั ษณะทางพลศาสตร์ของ เครือ่ งเชอ่ื ม

2.3 มาตรฐานญี่ป่นุ (Japanese Industrial Standard : JIS) ไดจ้ ดั กลมุ่ ลวดเชือ่ มหุ้มฟลักซ์สาหรับเช่ือมเหล็ก

ชนิดตา่ ง ๆ ดงั นี้

กลมุ่ Z 3211 – 1991 สาหรบั งานเชอื่ มเหลก็ กล้าละมนุ ตามรหัส ดงั น้ี

D XX XX ซึง่ มคี วามหมายดังน้ี

D หมายถงึ ลวดเชือ่ มหุ้มฟลกั ซ์ (Electrode) ญ่ีปนุ่ เรยี กว่า Denkoyosetubo
X X หมายถึง สมบตั ิทางกลและค่าความเคน้ ตา่ สดุ ของเนอ้ื โลหะเชื่อม N/mm2

X หมายถึง ตาแหน่งทา่ เชอื่ ม

X หมา ยถึง สมบัติต่ าง ๆของลว ดเชื่อม กระแส ไฟและช นิด ของ ฟลัก ซ์

ตัวอย่างลวดเชื่อมในกลุ่ม Z 3211 – 1991 ได้แก่

D 4313 เป็นลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ไทเทเนียมออกไซด์ ค่าความต้านทานแรงดันต่าสุด 420 N / mm2 (43)

เ ช่ื อ ม ไ ด้ ทุ ก ต า แ ห น่ ง (1) ใช้กระแสไฟเชื่อม AC และ DCEN (3)

สาหรบั ตัวเลข 2 กลุ่มนนั้ จะแสดงสมบัติตา่ ง ๆของลวดเช่อื ม ดังแสดงในตาราง

แสดงความหมายของตวั เลขตามรหสั ลวดเชอื่ ม JIS (Z3211-1991)

รหัส ทนต่อแรงดงึ ชนดิ ฟลักซ์ ตาแหนง่ ชนดิ กระแสไฟ
ตา่ สุด N/mm2 ทา่ เช่อื ม

D 4301 420 อินเมไนต์ F,V,O,H AC,DCEP or EN

D 4303 420 ไลม์-ไทเทเนีย F,V,O,H AC,DCEP or EN

D 4311 420 เซลลูโลสสูง F,V,O,H AC,DCEP or EN
D 4313
D 4316 420 ไทเทเนียมออกไซด์ F,V,O,H AC,DCEN
D 4324
D 4326 420 ไฮโดรเจนต่า F,V,O,H AC,DCEP
D 4327
D 4340 420 ไทเทเนยี มออกไซด์,ผงเหล็ก F,H AC,DCEP or EN

420 ไฮโดรเจนต่า , ผงเหลก็ F,H AC,DCEP

420 เหล็กออกไซด์ , ผงเหล็ก F,H AC,DCEP or EN AC,DCEN

420 ชนดิ พิเศษ F,V,O,H AC,DCEP or EN

3. การเลือกใช้ลวดเชือ่ ม

การเลอื กลวดเชื่อมใหเ้ หมาะสมกบั งานน้ัน มหี ลักพจิ ารณาดงั น้ี
3.1 ความแข็งแรงของโลหะงาน (Base metal strength Properties) ก่อนเชื่อมจะต้องรู้คุณสมบัติ
เชิงกลของโลหะงาน ถ้าเป็นเหล็กกล้าละมุนควรเลือกลวดเชื่อมในกลุ่ม E60xx ซึ่งเป็นลวดเชื่อมท่ีมีคุณสมบัติเชิงกล
ใกลเ้ คยี งกบั โลหะงาน แต่ถา้ เป็นเหล็กกล้าผสมตา่ ควรเลือกจากค่าความแข็งแรง โดยให้ใกล้เคียงกับของโลหะงานมากทสี่ ดุ
3.2 ส่วนผสมของโลหะงาน ก่อนเช่ือมต้องรู้ส่วนผสมของโลหะงาน และเลือกลวดเชื่อมที่มีส่วนผสม
เหมือนกัน ลวดเชื่อมในกลุ่ม E60xx นั้นสามารถใช้กับเหล็กกล้าละมุนได้ แต่ถ้าเป็นเหล็กกล้าผสมต่าต้องพิจารณาจาก
ตวั อกั ษรทีต่ อ่ ท้ายสัญลักษณ์
3.3 ท่าเช่ือม ลวดเชื่อมแต่ละชนิดจะกาหนดท่าเช่ือมไว้โดยเฉพาะดังเลขตัวท่ี 3 ดังน้ันจึงต้องเลือกให้
เหมาะสมกับท่าเชือ่ ม
3.4 กระแสเชื่อม ลวดเช่ือมบางชนิดใช้ได้ผลดีกับกระแสไฟตรงเท่านั้น หรืออาจจะให้ใช้กระแสไฟสลับ
เท่านั้น หรอื สามารถเชอ่ื มได้ทง้ั ไฟตรงและไฟสลบั ดงั นั้นในการเลือกลวดเชื่อมให้พิจารณาจากตัวเลขตัวท่ี 4 ของมาตรฐาน
ลวดเชอ่ื มของ A.W.S.
3.5 การออกแบบและประกอบรอยต่อ ลวดเชื่อมมีทั้งชนิดซึมลึกมาก ซึมลึกปานกลาง และซึมลึกน้อย
โดยพิจารณาจากตัวเลขตัวท่ี 4 หรือตัวสุดท้าย ลวดที่มีการอาร์กรุนแรงให้การซึมลึกสูงเหมาะกับงานหนา รอยต่อที่ไม่ได้
บากหน้างานสาหรบั ลวดเช่อื มท่มี กี ารอาร์ก น่ิมนวลจะให้การซมึ ลึกนอ้ ย เหมาะกับโลหะบาง หรือรอยต่อท่ีมีช่องรอยต่อเว้น
หา่ งมาก
3.6 รูปร่างและความหนาของโลหะงาน ถ้างานหนาหรืองานซับซ้อน ควรใช้ลวดเช่ือมท่ีมีความเหนียวสูง
เพอื่ หลกี เลย่ี งการแตกรา้ ว ได้แก่ ลวดเชือ่ มไฮโดรเจนต่าชนิด Exx15, 16, 18 หรือ 28
3.7 สภาพการใช้งานและข้อกาหนด งานเช่ือมที่นาไปใช้งานท่ีอุณหภูมิต่า อุณหภูมิสูงหรือรับแรงกระแทก
ควรเลอื กใช้ลวดเชอ่ื มทม่ี คี ณุ สมบัตติ รงกบั ชิ้นงาน โดยเฉพาะส่วนผสม ความเหนียวและความต้านทานต่อแรงกระแทก ซึ่ง
ลวดเชือ่ มทีเ่ หมาะแกส่ ภาพการใช้งานดงั กลา่ ว ไดแ้ ก่ ลวดเชือ่ มไฮโดรเจนต่า
3.8 ประสทิ ธภิ าพในการผลติ และสภาพของงาน ลวดเชอื่ มทม่ี ีอตั ราการเติมน้าโลหะสูงแต่อาจใช้กับท่าเชื่อม
ใดท่าเชอื่ มหนง่ึ เท่านัน้ ถา้ สามารถใช้ไดค้ วรเลือกใชล้ วดเชื่อมชนดิ ผงเหลก็ (Iron Powder) ซงึ่ ไดแ้ ก่ Exx24, 27 หรือ 28

4. การเกบ็ รักษาลวดเช่อื ม

ลวดเช่ือมทุกชนิดมีราคาแพง การเก็บรักษาก่อนท่ีจะนาไปใช้งานมีความสาคัญย่ิง ซึ่งจะต้องระมัดระวังอย่าง
มาก เพราะวา่ ลวดเชอื่ มจะเสอื่ มคุณภาพในการใชง้ าน เชน่ ฟลกั ซท์ ่หี ุ้มลวดเช่ือมไฟฟ้ามีความชื้นสูงเวลานาไปใช้งานได้นาน
ไมเ่ กิน 6 เดือนเท่านั้น ท้งั น้ีข้ึนอยกู่ ับชนิดของฟลักซท์ ่ีหมุ้ แกนลวดเชื่อมไฟฟา้ และวธิ ีการเกบ็ รักษาลวดเชือ่ ม

เป็นที่รู้กันดีว่า ลวดเชื่อมทุกชนิดน้ันควรถูกเก็บรักษาอย่างดี โดยให้ห่างจากความชื้นและอากาศภายนอก
ดังนน้ั กล่องหรือลงั ทบ่ี รรจุลวดเชื่อมอยนู่ ้นั ไมว่ า่ จะเป็นลวดเช่ือมเหล็ก หรือลวดเช่ือมอลูมิเนียม ควรถูกปิดผนึกอย่างมิดชิด
หรือถ้าจาเปน็ ตอ้ งแกะหอ่ ออกมา ควรใช้ผ้าเทปปิดใหส้ นิทเหมือนเดิม ดังน้ันควรเกบ็ รกั ษาลวดเชอื่ มตามข้อปฎิบัติ ดงั นี้

1) เกบ็ ไว้ในทีเ่ กดิ ความช้ืนไดย้ าก เช่น ในถุงพลาสตกิ ทเ่ี ชอ่ื มปิดท้งั หมด เพ่ือไม่ให้อากาศเข้าไปทาให้อากาศเข้า
ไปทาใหเ้ กดิ ความช่นื ได้

2) เกบ็ ไวใ้ นทม่ี น่ั ใจวา่ ไม่มนี า้ ทาให้ลวดเช่ือมไฟฟา้ เปยี กชนื้
3) เก็บบรรจกุ ล่องใหแ้ ขง็ แรง ป้องกันฟลักซท์ ีห่ ุ้มแกนลวดเชือ่ มไฟฟา้ แตกชารดุ
เสยี หายกอ่ นท่ีจะนาไปใช้งานขณะทาการขนยา้ ยเมื่อลวดเชอ่ื มไฟฟ้าหุ้มฟลักซ์เกิดความชื้น หรือคาดว่าเกิดความชื้นเนื่องจาก
เก็บเอาไวน้ านเกินไป ก่อนท่ีจะนาไปใช้งานควรทาการอบให้แหง้ กอ่ น เตาทีใ่ ชใ้ นการอบควรใช้เตาไฟฟ้า หรือเตาอบลวดเช่ือม
โดยเฉพาะ สามารถต้ังอุณหภูมิได้ตามต้องการ ในการอบลวดเชื่อมไฟฟ้าก่อนนาไปใช้เช่ือมควรอบท่ีอุณหภูมิไม่เกิน 220
องศาเซลเซียส เวลาทใี่ ช้ในการอบ 1 – 2 ช่ัวโมง ข้นึ อยกู่ บั ชนดิ ของลวดเช่ือมไฟฟ้าและให้ศึกษาจากคู่มือลวดเช่ือมของแต่ละ
บรษิ ทั ผผู้ ลติ
4) ควรเก็บลวดเชอ่ื มไว้ในทีท่ ่มี อี ุณหภูมิห้องปกติ และความชน้ื ไมส่ ูงมากนกั (ไม่เกิน 70%)
5) ควรรองพืน้ ด้วยไมพ้ าเลท และไม่ควรวางลวดเช่ือมติดกับกาแพง เพ่ือป้องกันความชื้นที่อาจซึมจากพื้นและ
กาแพง
6) ถ้ากลอ่ งลวดเช่อื มเปยี กนา้ หรือมีความชนื้ สูง ควรเปลยี่ นกล่องหรอื ลงั ทันที เพื่อป้องกันลวดเช่ือมอลูมิเนียม
หรอื ลวดเชอื่ มเหล็กเกิดความชื้นเกาะที่ตัวลวดเชอ่ื ม และฟลกั ซ์ 7) สาหรับลวดเชื่อมมิก อลูมิเนียม ควรถอดออกจาก
เครื่องฟีดและเก็บใส่กล่องท่ีปิดมิดชิด ถ้าไม่ได้ใช้งานมากกว่า 2 วัน ส่วนลวดเชื่อมอาร์กอน อลูมิเนียม ควรเก็บใส่หลอด
พลาสติกทบ่ี รรจุลวดเช่ือมอลมู เิ นียม

ก่อน และหลังจากจบฝกึ เรื่องลวดเช่ือมหุ้มฟลักซ์
ใหท้ ่านทากจิ กรรมในหน้าถดั ไป

ใบกิจกรรม

คาชแ้ี จง : ให้ผ้รู บั การฝึกทาแบบทดสอบในใบกจิ กรรม โดยใหเ้ ลอื กกากบาท (X) ลงบน
กระดาษ คาตอบท่ีถูกต้องทสี่ ุดเพียงข้อเดยี ว

1) ชนดิ ของลวดเช่ือมหุ้มฟลักซ์ สาหรบั เหล็กกล้าคาร์บอน ข้อใด ไม่เกี่ยวขอ้ ง?
ก. ชนิดเซลลูโลส (D 4311)
ข. ชนิดไฮโดรเจนต่า (D 4316)
ค. ชนิดผงเหล็ก – ออกไซด์ (D 4327)
ง. ชนิดกรด (Acid)

2) วิธีการแกไ้ ขการอาร์กยากของลวดเชือ่ มไฮโดรเจนต่า คือวิธีใด?
ก. อบไล่ความช้ืนนานกว่าปกติ
ข. เตมิ สารท่ีเปน็ ส่อื ทางไฟฟ้าทปี่ ลายลวดเช่ือม
ค. เพ่ิมกระแสไฟให้สูงขึ้น
ง. เพ่ิมหนิ ปูนเขา้ ไปในส่วนประกอบของเปลอื กฟลักซ์

3) ฟลกั ซท์ ี่มีสว่ นผสมของสารอนิ ทรยี จ์ านวนมาก ทาให้เกิดแกส๊ ไฮโดรเจนปกคลุมบริเวณอาร์ก
มสี แลคบาง เปน็ ลกั ษณะของลวดเชอ่ื มหุ้มฟลักซ์ชนดิ ใด?
ก. ชนิดเซลลโู ลส (D 4311)
ข. ชนิดไฮโดรเจนตา่ (D 4316)
ค. ชนิดผงเหลก็ – ออกไซด์ (D 4327)
ง. ชนิดกรด (Acid)

4) มาตรฐาน AWS A5.1 – 91 E XX XX ตวั เลข 91 หมายถึง?
ก. กลุ่มลวดเชื่อมหมุ้ ฟลักซ์
ข. ปที กี่ าหนดมาตรฐาน
ค. กระแสไฟเชอื่ ม
ง. ตาแหน่งทา่ เช่ือม

5) มาตรฐาน มอก. 49 – 2538 E XX XB X X ตัวอักษร B หมายถงึ ?
ก. คา่ ความตา้ นแรงดงึ
ข. ตาแหน่งทา่ เชอื่ ม
ค. กระแสไฟเช่ือม
ง. ชนดิ ของฟลักซ์

กระดาษคาตอบ

ชอื่ ......................................................นามสกลุ ...................................... เลขที่......................
คาสัง่ จงทาเครื่องหมายกากบาท (X) ทับข้อที่ถกู ท่สี ุดเพียงขอ้ เดียว

ขอ้ ท่ี 1 ก ข ค ง
ขอ้ ท่ี 2 ก ข ค ง
ข้อท่ี 3 ก ข ค ง
ข้อที่ 4 ก ข ค ง
ข้อที่ 5 ก ข ค ง

คะแนนเต็ม 10
คะแนนทไ่ี ด้

หมายเหตุ ทาถกู 3 ข้อขึน้ ไป ถึงจะถือวา่ ผ่านความรู้ความสามารถหลังการฝึก
หากทาถูกน้อยกว่า 3 ขอ้ กลบั ไปทบทวนเน้อื หาใหม่อีกที

ลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์คืออะไร

กระบวนการเชื่อมอาร์กลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ (Shielded Metal Arc Welding : SMAW) เป็นกระบวนการเชื่อมที่ได้รับความร้อนจากการอาร์กระหว่างลวดเชื่อมกับชิ้นงาน ทำให้ลวดเชื่อมและชิ้นงานบริเวณการอาร์กหลอมเหลวรวมตัวกันเป็นแนวเชื่อม ส่วนฟลักซ์จะเกิดเป็นแก๊สและสแลกปกคลุมแนวเชื่อมจากบรรยากาศภายนอก อุปกรณ์ที่ใช้ เครื่องเชื่อมเป็น ...

ลวดเชื่อมมีหน้าที่อะไร

ลวดเชื่อมคือวัสดุหลักที่บรรดาช่างเชื่อมใช้ในงานทางด้านงานเชื่อมโลหะทำให้ชิ้นงานที่เป็นโลหะหลายๆชิ้น ผสานกันให้เป็นชิ้นเดียว ช่างเชื่อมต้องเลือกใช้ลวดเชื่อมให้เหมาะสมกับชิ้นงานที่ต้องการเชื่อมเพื่อประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่งลวดเชื่อมที่บรรดาช่างเชื่อมนิยมใช้มี 6 ชนิด ได้แก่

สารพอกหุ้มมีอะไรบ้าง

RC คือ สารพอกหุ้มรูไทล์-เซลลูโลส (Rutile Cellulosic Type) RA คือ สารพอกหุ้มรูไทล์-กรด (Rutile Acid Type) RB คือ สารพอกหุ้มรูไทล์-ด่าง (Rutile Basic Type) B คือ สารพอกหุ้มด่าง (Basic Type).
สร้างอาร์ก.
เป็นแก็สคลุม.
เป็นตัวลดออกซิเจน.
กำจัดสารมลทินและสารปนเปื้อน.
สร้างสแลก.
เติมธาตุผสม.

การเชื่อมไฟฟ้าด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์มีหลักการอย่างไร

การเชื่อมอาร์กลวดหุ้มฟลักซ์ (Shielded Metal Arc Welding: SMAW) คือการเชื่อมด้วยไฟฟ้า ในลักษณะที่ทาให้เกิดการอาร์กและได้รับความร้อนจากการอาร์กระหว่างลวดเชื่อมชนิดมีสารพอกหุ้มกับ ชิ้นงาน สารพอกหุ้มบนลวดเชื่อมเมื่อละลายจะทาหน้าที่เป็นเกาะป้องกันบรรยากาศ ลวดเชื่อมทาหน้าที่