Stuart Stress Adaptation Model คือ

Stuart Stress Adaptation Model คือ
Stuart Stress Adaptation Model คือ

Dr. Stuart’s Stress Adaptation Model

About the Nursing Model

  • Dr. Gail Stuart’s Stress Adaptation Model of health and wellness provides a consistent nursing-oriented framework, with clear explanations of biological, psychological, sociocultural, environmental, and legal-ethical components.
  • Dr. Stuart’s Adaption Models provide a structure for thinking, observing, and interpreting what is seen. Conceptual nursing models are frames of reference within which patients, their environment and health states, and nursing activities are described. Dr. Stuart’s theory model includes psychiatric nursing care, which integrates various aspects of patient care into a unified framework for practice.
  • Her Stress Adaptation Model of health and wellness provides a consistent nursing-oriented framework (Stuart, 2009).

Stuart Stress Adaptation Model คือ
Stuart Stress Adaptation Model คือ

Assumptions

  • “Nature is ordered as a social hierarchy from the simplest unit to the most complex and the individual is a part of the family, group, community, society, and the larger biosphere.”
  • “Nursing care is provided within a biological, psychological, sociocultural, environmental, and legal-ethical context.”
  • Health/illness and adaptation/maladaptation (nursing worldview) are two distinct continuums.
  • The model includes the primary, secondary, and tertiary levels of prevention by describing four discrete stages of psychiatric treatment: crisis, acute, maintenance, and health promotion.
    Nursing care is based on the use of the nursing process and the standards of care and professional performance for psychiatric nurses.

Stuart Stress Adaptation Model คือ
Stuart Stress Adaptation Model คือ

Major Concepts of the Stress Model 

  • Biopsychosocial approach: a holistic perspective that integrates biological, psychological, and sociocultural aspects of care.
  • Predisposing factors: risk factors such as the genetic background.
  • Precipitating stressors: stimuli that the person perceives as challenging such as life events.
  • Appraisal of stressor: an evaluation of the significance of a stressor.

Coping Resources: options or strategies that help determine what can be done as well as what is at stake; Adaptation or Maladaptation, Levels of Prevention (Primary, Secondary, Tertiary).
Four Stages of Psychiatric Treatment & Nursing Care:

  1. Crisis stage
  2. Acute stage
  3. Maintenance stage
  4. Health promotion stage & Conclusion

Conclusion

  • Stuart Stress Adaptation Model can be used across psychiatric settings.
  • This model is based on standards of psychiatric nursing care and professional performance.

Strengths

  • Stuart Stress Adaptation Model can be used across psychiatric settings.
  • This model is based on standards of psychiatric nursing care and professional performance.

Additional Information & References

  • Diagram and Outline of Dr. Stuart’s Model
  • Dr. Stuart’s Contact Information at Medical University of South Carolina
  • Online slides/notes
  • Stuart, G. W. (2013). Principles and practice of psychiatric nursing. 10th ed. St. Louis, Mo.: Elsevier.

Share this:

  • Click to share on Twitter (Opens in new window)
  • Click to share on Facebook (Opens in new window)
  • Click to share on Pinterest (Opens in new window)
  • Click to share on Pocket (Opens in new window)

  • Click to share on Reddit (Opens in new window)
  • Click to share on Tumblr (Opens in new window)
  • Click to share on LinkedIn (Opens in new window)
  • Click to email a link to a friend (Opens in new window)

1

เอกสารประกอบการสอน รายวชิ า NU 112 203 การพยาบาลสขุ ภาพจิต
ปกี ารศกึ ษา 2564

อ.ดร.ศรนิ รัตน์ จนั ทพิมพ์
ปรด. (การพยาบาล)

หนว่ ยที่ 1 แนวคดิ ทฤษฎีทางสขุ ภาพจิตและปจั จัยท่สี ่งผลต่อสุขภาพจติ แตล่ ะชว่ งวัย
1. ความหมายของสุขภาพจิต
2. ภาวะสุขภาพจติ และปัจจยั ท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั สุขภาพจติ ตามแนวคดิ ทฤษฎีทางจิตวทิ ยา
3. กรอบแนวคิดการปรบั ตวั ต่อความเครียด

วตั ถปุ ระสงค์ เมือ่ เสรจ็ สิน้ การเรียนการสอนในหน่วยนแี้ ล้ว นักศกึ ษาสามารถ
1. อธิบายความแตกต่างระหวา่ งผทู้ ่ีมสี ุขภาพจติ ดี มีปัญหาสขุ ภาพจิตและผทู้ ่ีป่วยจิตเวชได้
2. อธิบายปญั หาสุขภาพจิตตามแนวคดิ ทฤษฎหี ลกั ทางด้านสุขภาพจติ ได้
3. อธบิ ายปจั จยั ทีเ่ ก่ียวข้องกบั สุขภาพจติ ตามแนวคดิ ทฤษฎที างจติ วิทยาได้
4. อธิบายกรอบแนวคดิ การปรับตัวตอ่ ความเครยี ดของบุคคลได้

จำนวนช่ัวโมงเรียน 2 ชวั่ โมง
วนั เวลาทีเ่ รยี น

Sec 1 วันอังคารที่ 13 กค.64 เวลา 9.00-12.00 น.
Sec 2 วนั จนั ทร์ท่ี 12 กค.64 เวลา 13.00-15.00 น.
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ ดร.ศรินรตั น์ จันทพิมพ์
รูปแบบการเรยี นการสอน

การเรยี นการสอน Online ผา่ นโปรแกรม KKU E- Learning, Program Zoom
กิจกรรมการเรยี นการสอน

1. การมอบหมายใบงานรายบคุ คลการวเิ คราะหก์ รณีศกึ ษาหัวข้อปจั จัยท่ีส่งผลต่อสุขภาพจิตของ
บุคคลผ่านโปรแกรม Moodle KKU E- Learning

2. ผู้สอนบรรยายสรุปและแลกเปลี่ยนเรียนรู้รว่ มกับผูเ้ รยี นผ่านโปรแกรม Zoom
3. แบบทดสอบย่อยประจำหนว่ ยผา่ นโปรแกรม Moodule KKU E- Learning
งาน/สดั สว่ นคะแนนเก็บ
รายงานกรณีศกึ ษาปจั จยั ท่สี ง่ ผลตอ่ สขุ ภาพจิตของบคุ คล 5 คะแนน
สอ่ื การเรียนรู้
1. VDO clip
2. PPT

2

3. E-book หัวขอ้ แนวคิดทฤษฎีทางสุขภาพจติ และปัจจัยท่สี ่งผลต่อสุขภาพจติ ของบุคคลแต่ละช่วง
วยั

4. กรณศี ึกษา
วธิ ปี ระเมินผล

1. แบบประเมินกรณีศึกษา
2. พฤติกรรมการสง่ งานตรงเวลา
สุขภาพจิตและความหมาย
องค์การอนามัยโลกนยิ ามความหมายของ “สุขภาพ (health)” ไว้ว่าเปน็ สภาวะแห่งความสมบูรณ์ทาง
รา่ งกาย จิตใจและสุขภาวะทางสงั คม ไม่ใช่เพียงการปราศจากโรคภัยไข้เจบ็ เทา่ นนั้ “(WHO, 2001 อ้างใน ศุทรา
ดษุ ฎี และพันธุน์ ภา, 2560 )
สุขภาพจติ (mental health) จึงเป็นส่วนหนงึ่ ของสขุ ภาพ เป็นรากฐานของสุขภาวะ และการทำหน้าท่ี
อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพของบุคคล องคก์ ารอนามัยโลกให้ความหมาย “สุขภาพจติ ” ว่า “สภาพสขุ ภาวะทบี่ ุคคลรับรู้
ศักยภาพของตน สามารถรบั มอื กับความเครยี ดในชีวติ สามารถทำงานให้เกดิ ประโยชน์และสร้างสรรค์ และ
สามารถทำประโยชน์ให้แกส่ ังคมของตนได้ “(WHO, 2001 อา้ งใน ศุทรา ดุษฎี และพันธน์ุ ภา, 2560 )
พจนานกุ รมการสาธารณสขุ ไทย ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ.2559 (อา้ งใน กรมสุขภาพจติ , 2561 ) ให้
ความหมายสุขภาพจิตว่า “สภาพท่ดี ีของจิตใจที่สามารถควบคมุ อารมณ์มใิ หเ้ กิดความคับขอ้ งใจ หรือขดั แยง้
ภายในจติ ใจสามารถปรับตัวเขา้ กับสังคมและส่ิงแวดล้อมได้อย่างมีความสขุ หรือสภาพชวี ิตท่เี ปน็ สุข”
พระราชบญั ญัติสุขภาพจติ พ.ศ.2551 ไดใ้ หน้ ยิ มคำวา่ ปัญหาสขุ ภาพจติ ว่า “สภาวะทางจติ ใจที่แสดงออกทาง
พฤติกรรม อารมณ์ และความคิดท่เี ปลย่ี นไป ทำให้บคุ คลขาดความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากบั สังคม และ
สิ่งแวดลอ้ มรอบขา้ ง จึงไม่สามารถดำรงชีวติ อย่างเปน็ ปกตสิ ขุ ” และไดใ้ ห้ความหมายของคำวา่ ผูม้ ีปัญหา
สุขภาพจติ และจิตเวชวา่ หมายถงึ “บุคคลทมี่ ีปัญหาดา้ นสุขภาพจิต คือมีสภาวะทางจติ ใจท่ีแสดงออกทาง
พฤติกรรม อารมณ์และความคิดท่เี ปล่ียนไป ทำให้ขาดความสามารถในการปรบั ตวั ให้เข้ากบั สังคม และ
สง่ิ แวดล้อมรอบข้าง จึงไมส่ ามารถดำรงชีวติ อย่างเปน็ ปกตสิ ุข ซงึ่ ถือว่ายังไม่ป่วยเปน็ โรค” (พระราชบญั ญตั ิ
สุขภาพจิต พ.ศ.2551, อา้ งใน กรมสขุ ภาพจิต, 2561 )
การเจบ็ ปว่ ยทางจติ (mental illness) หมายถงึ คนท่ปี ระสบกับเหตกุ ารณ์ที่ทำใหเ้ กดิ ความตึงเครียด
และกระบวนการปรับตัวต่อเหตกุ ารณ์ตงึ เครียด ส่งผลทำใหบ้ ุคคลมีการทำหนา้ ท่บี กพร่อง แตย่ ังไม่ถงึ เกณฑ์ท่ี
เรียกวา่ ผดิ ปกติ (disorder) หรอื ปว่ ยเปน็ โรคจิตเวช อาจเรียกการเจ็บปว่ ยทางจิตวา่ มีภาวะสขุ ภาพจติ ไมด่ ี เชน่
ภาวะเครียด ภาวะวิตกกงั วล หรอื ซมึ เศร้า (Stuart, 2013)

3

การปว่ ยเป็นโรคจิตเวช (mental disorder) หมายถึงคนทีม่ ีความผิดปกตติ ามเกณฑ์การ
วินิจฉยั โรคทสี่ ่งผลใหบ้ ุคคลมีความบกพร่องในการทำหนา้ ทใ่ี นชีวติ ประจำวันมาก เช่น โรคจิตเภท โรคอารมณ์
แปรปรวนแบบสองข้ัว (Stuart, 2013) พระราชบัญญตั สิ ุขภาพจติ พ.ศ.2551 (อา้ งใน กรมสขุ ภาพจติ , 2561
หน้า 4) ไดใ้ ห้นิยมคำวา่ ความผดิ ปกติทางจติ วา่ “หมายถงึ อาการผดิ ปกตขิ องจิตใจทแ่ี สดงออกมาทาง
พฤติกรรม อารมณ์ ความคิด ความจำ สตปิ ัญญา ประสาท การรบั รู้ หรอื กาลเวลา สถานท่หี รอื บคุ คล รวมท้งั
อาการผดิ ปกตขิ องจติ ใจทเี่ กิดจากสุรา หรือสารอืน่ ทีอ่ อกฤทธ์ิต่อจิตและประสาท”

จากความหมายคำวา่ สุขภาพจิต ปญั หาสุขภาพจิต การเจ็บป่วยทางจิต และ ความผิดปกติทางจิต
จนถึงการปว่ ยเป็นโรคจิตเวช มีความหมายท่ตี อ่ เน่ืองจากข้ัวหน่ึงคือการมีสุขภาพจติ ดี ถึงอีกขัว้ หนึ่งคือการปว่ ย
เป็นโรคจติ เวช โดยพิจารณาที่ความสามารถในการทำหน้าที่ในชวี ิตประจำวนั
เกณฑ์ข้อบ่งชคี้ ณุ ลกั ษณะของผู้ที่มสี ขุ ภาพจติ ดี

แม้วา่ คำวา่ สุขภาพจติ อาจใหค้ วามหมายที่แตกต่างกัน ตามสังคม วฒั นธรรม แต่มีคุณลักษณะกลำงของผู้
ทีม่ ีสุขภาพจิตท่ดี ี (Stuart, 2013) ดังน้ี

1. การมที ัศนคตทิ ี่ดีตอ่ ตนเอง หมายถงึ การยอมรับตนเองและมกี ารตระหนักรู้ในตนเอง พงึ พอใจ
ภาพลกั ษณ์ของตน มีเป้าหมาย และแรงบนั ดำลใจทม่ี ีความเปน็ ไปได้สาหรับตัวเอง เป้าหมายหรอื แรงบันดำล
ใจน้ี สามารถเปล่ียนแปลงเม่ือมีอายุมากขึ้น มคี วามม่นั คงภายในจติ ใจ รสู้ กึ เปน็ สว่ นหนึง่ ของกลมุ่ หรอื สังคม มี
ชีวิตอยา่ งมีความหมาย

2. ยอมรับความจริง มองโลกในแง่ดี มีกลไกในการแกไ้ ขปญั หาท่ียืดหยุน่
3. ตระหนักรใู้ นอารมณ์ ความรู้สึก ความต้องการของตวั เอง และมีความกลมกลืนสอดคลอ้ งระหวา่ ง
ความคดิ ความรสู้ ึกและพฤติกรรม รวมถงึ ความสามารถในการควบคุมตวั เอง
4. มปี ฏิสัมพนั ธ์กบั สง่ิ แวดล้อมอยา่ งเป็นอสิ ระสามารถใช้ทรัพยากรแหลง่ สนบั สนุนในการปรับตัวต่อ
ความเครยี ดได้ โดยไมร่ ู้สึกท่วมทน้ (overwhelm)
5. สามารถแลกเปล่ียนประสบการณก์ บั ผู้อืน่ สร้างความสมั พันธก์ ับคนใหม่ๆได้ พึงพอใจตอ่ การเข้า
ร่วมกจิ กรรมในกลมุ่ หรือสงั คมท่ตี นเองเปน็ สมาชกิ
6. มีความเข้มแข็งทางใจ (resilience) มคี วามสามารถในการรบั มอื ตอบสนองต่อเหตุการณค์ บั ขนั
หรือสถานการณย์ ากลำบากได้ โดยไม่เกดิ การเจ็บป่วย เรียนรู้จากประสบการณ์ มีการเติบโต เกดิ ความเข้มแข็ง
พัฒนาทกั ษะการแกไ้ ขปัญหาในรปู แบบใหม่ สามารถกลับมาดำเนินชีวติ ไดต้ ามปกตเิ ม่ือเหตุการณ์คบั ขันหรอื
ความยากลำบากผา่ นไป
7. มีความเป็นอิสระแห่งตน (autonomy) หมายถึง มคี วามสามารถในการรักษาความสมดุลระหวา่ ง
การพง่ึ พาตนเอง และการพึ่งพาผูอ้ ื่น สามารถยอมรบั ผลท่เี กดิ ข้ึนจากกการกระทำของตน มีความมุ่งมนั่ ใน
ตัวเองรับผดิ ชอบต่อการตัดสนิ ใจของตน สามารถให้ความเคารพ ให้อิสระผู้อ่นื และสามารถรกั ผู้อ่นื ได้

4

8. มีความสามารถในการรับรแู้ ละยอมรบั ความจรงิ ทเ่ี กิดขน้ึ เปลี่ยนแปลงทัศนคติของตนเองตาม
ขอ้ มลู ใหมท่ มี่ ี เหน็ อกเหน็ ใจผอู้ นื่ มีความละเอียดอ่อนต่อสังคม ไวและเคารพความแตกตา่ ง เคารพความร้สู ึก
ผู้อ่นื

แนวคดิ ทฤษฎีทางดา้ นสขุ ภาพจติ หลกั ในการอธบิ ายสขุ ภาพจติ
แนวคดิ ทฤษฎีหลกั ทางสุขภาพจิตทใี่ ชใ้ นการอธิบายสุขภาพจิตรวมทั้งการเกดิ ปัญหาสุขภาพจติ มีแนวคิด
หลักๆ ดังนี้ (สมพร รุง่ เรืองกลกิจ, 2561) ได้แก่
1. ทฤษฎจี ติ วิเคราะห์ (psychoanalytic theory)

ซกิ มนั ด์ ฟรอยด์ นกั ประสาทวทิ ยาเปน็ ผู้พัฒนาทฤษฎีจติ วิเคราะห์ ฟรอย์มีความเชื่อวา่ ปัญหา
สุขภาพจติ หรือความผิดปกติทางจติ เปน็ ผลมาจากความขัดแย้งทางจิตใจ ไม่ไดร้ ับการตอบสนองความต้องการ
โดยเฉพาะในชว่ ง 6 ปีแรกของชวี ิต ทฤษฎีจติ วเิ คราะห์ประกอบด้วยแนวคิดย่อย 4 แนวคดิ (ศุกรใ์ จ เจริญสุข,
2556) ดังน้ี

1.1 ระดับของจิต (level of mind) ฟรอยด์แบง่ ระดบั ของจติ ใจออกเปน็ 3 ระดับคือ

1) จติ สำนึก (conscious) เปน็ ส่วนท่บี คุ คลตระหนักและรู้ อารมณ์ความคดิ และพฤตกิ รรมของ
ตนเองในการดำเนนิ ชีวติ ประจำวนั ประกอบด้วยการรับรู้ ความจำ ความคิด ความรู้ สติปัญญาและ
ประสบการณ์ กระบวนการทำงานในระดับจติ สำนกึ จะส่งผลใหบ้ ุคคลประพฤติ ปฏิบตั ติ ามความคาดหวัง
บรรทดั ฐานของสังคมท่ยี อมรบั หลกี เลย่ี งไมแ่ สดงพฤติกรรมทสี่ ังคมไม่ยอมรบั

2) จติ ก่อนสำนกึ (preconcious) เป็นสว่ นที่ตอ้ งใช้ความสนใจ สมาธิในการทจ่ี ะระลกึ รู้ ไมใ่ ช่
ส่ิงทอ่ี ยูใ่ นความสนใจในปัจจบุ ัน เชน่ ต้องใช้เวลาในการคิดหรอื จำเหตกุ ารณ์บางอย่างที่เคยเกดิ ข้ึน บางคร้ัง
อาจต้องมสี ญั ญาณหรอื อะไรมากระตนุ้ จึงจะจำได้ กระบวนการทำงานของจิตในระดบั นเี้ พอ่ื ช่วยขจัดข้อมูลท่ี
ไมจ่ ำเปน็ ออกไปจากความนึกคดิ และ

3) จติ ใต้สำนึก (unconscious) เป็นสว่ นของจิตใจท่บี ุคคลนั้นไม่ตระหนกั ไมร่ ตู้ ัว เป็นสว่ นของ
จิตใจท่ีเก็บรวบรวมประสบการณ์ เหตกุ ารณ์ ความรูส้ ึก ความปรารถนาทีเ่ กดิ ข้นึ ในวัยต้นต้นของชวี ิต ส่วนใหญ่
แล้วเป็นสว่ นของจติ ใจทเี่ ก็บสะสมความรสู้ กึ เจบ็ ปวด ความทรงจำ ประสบการณท์ บ่ี ุคคลน้นั ไมอ่ ยากรบั รู้ เป็น
ความเจบ็ ปวดทมี่ ากเกนิ กว่าท่ีบุคคลจะจดั การได้ อารมณ์และพฤตกิ รรมของจิตในสว่ นน้ีจะแสดงออกมา เมื่อ
บุคคลนัน้ สูญเสยี การควบคมุ เชน่ ความฝัน พฤตกิ รรมย้าคดิ ยา้ ทำ การแสดงอารมณ์เกรย้ี วกราดออกมา
มากกวา่ เหตุการณ์กระตุน้

1.2 โครงสรา้ งของจติ ใจ (structural of mind) ฟรอยด์ แบ่งโครงสรา้ งของจิตใจออกเป็น3 ส่วน
คือ

1) id เปน็ สว่ นของจติ ใจที่เปน็ สัญชาตญิ าณธรรมชาติ เช่น แรงขบั ความตอ้ งการ ความ
ปรารถนาโดยไม่มกี าร

5

กล่นั กรองหรือขัดเกลำให้ถกู ต้องเหมาะสมตามบรรทดั ฐานทางสังคมวฒั นธรรม
2) ego เปน็ ส่วนของจิตใจที่ดำเนินการโดยอาศยั เหตุผล และความเปน็ ไปได้ ใช้หลักความเปน็ จริง

มีการคดิ กล่นั กรอง ยับยงั้ การแสดงออกตามความต้องการของตน ไมข่ ัดกับมโนธรรม ศีลธรรมท่สี ังคมกำหนด
3) superego เปน็ จติ ใจส่วนที่ได้รบั การพัฒนา หลอ่ หลอมทางสังคมมาจากการอบรมสงั่ สอนของ

พ่อแม่ เปน็ เรื่องเก่ยี วกบั ความเชอ่ื คา่ นิยม คุณธรรม ระเบยี บแบบแผน ประเพณีทีส่ งั คมกำหนดเปน็ บรรทดั
ฐานใหค้ นในสังคมนนั้ ๆปฏบิ ตั ิ เป็นสว่ นของความรู้สกึ ผดิ ชอบชว่ั ดี กระบวนการทำงานของจติ ใจท้ังสามส่วนจะ
ดำเนินการอยู่ในจิตสำนึกและจติ ใต้สำนกึ หากกระบวนการทำงานของจิตใจท้งั สามส่วนนี้ มกี ารทำงานสอด
ประสานกนั ดี โดยที่การทำงานในสว่ นของ ego มีความเข้มแข็ง จะทำให้บุคคลนั้นมีความม่ันคงทางใจ แตห่ าก
การทำงานไม่ประสานสอดคล้องกนั ego ไม่เข้มแขง็ ปล่อยให้ id ทำงานเป็นอสิ ระ จะสง่ ผลใหบ้ คุ คลมี
พฤติกรรมการแสดงออกตามความต้องการของตนเอง ไม่สามารถควบคุมตวั เองได้ ในทางตรงกนั ขา้ ม หาก
superego มคี วามเข้มแข็งกว่าจะสง่ ผลใหบ้ คุ คลนั้นตำหนิตนเอง เกดิ ความรสู้ ึกผดิ หรอื ตำหนิ กลา่ วโทษผู้อนื่

1.3 กลไกปอ้ งกนั ทางจติ (defense mechanism) ในภาวะทก่ี ระบวนการทำงานทางจิตใจท้ังสาม
สว่ นมีความขดั แยง้ ส่งผลใหเ้ กิดความวติ กกงั วล จติ ใต้สานกึ จะมีกระบวนการทำงานเพือ่ ลดความวิตกกังวล
เรียกวา่ กลไกการป้องกันทางจติ อย่างไรก็ตามหากกระบวนการทำงานของจิตใจท่ใี ชก้ ลไกป้องกนั ทางจติ มาก
เกินไป จะทำใหบ้ ุคคลนน้ั ไม่สามารถเผชญิ กบั ความเป็นจริงและแก้ไขปัญหาได้

1.4 พฒั นาการของจิตใจ (psychosexual development) ฟรอยด์อธิบายว่า พัฒนาการบคุ ลกิ ภาพของ
บุคคลแบ่งออกเป็น 5 ระยะ คือ ระยะปาก (oral stage) ระยะทวารหนัก (anal stage) ระยะพฒั นาการทาง
เพศ (phallic stage) ระยะแฝงตวั (latent stage) และ ระยะวยั ร่นุ (genital stage)
2. ทฤษฎีสัมพันธภาพระหวา่ งบุคคล (interpersonal theory)

ซัลลิแวน (Sullivan) เปน็ ผพู้ ฒั นาทฤษฎีสัมพันธภาพ ซัลลแิ วนมคี วามเชือ่ วา่ พฤตกิ รรมและพัฒนาการ
ของบุคลกิ ภาพเป็นผลมาจากปฏิสัมพนั ธ์กบั คนในแวดล้อม ประสบการณ์ด้านปฏิสัมพันธ์ระหว่างบคุ คลในชว่ ง
ชีวิตวัยตน้ ๆมีอทิ ธิพลต่อการเสรมิ สร้างสุขภาพจติ ของบุคคลในช่วงวัยต่อไป ระบบแหง่ ตน (self system) เปน็
การสะสมการรบั รตู้ นเองของบคุ คลท่ีเด็กได้รบั จากการทผี่ เู้ ลย้ี งดูปฏบิ ัติต่อเด็ก หากเดก็ ได้รบั การเลี้ยงดดู ว้ ย
ความรัก ความอบอุ่น ตอบสนองต่อความต้องการ ยอมรับเดก็ ส่งผลใหเ้ ด็กมกี ารรับรู้ระบบแหง่ ตนในลักษณะ
ของความม่ันคงภายใน (security) มคี วามรูส้ ึกที่ดตี อ่ ตวั เอง แต่หากเดก็ เตบิ โตมาในลักษณะไมไ่ ดร้ ับความรกั
ไม่ได้รบั การยอมรบั ความตอ้ งการไมไ่ ดร้ บั การตอบสนอง ถกู ปฏิเสธ หรือทอดท้งิ จะทำใหเ้ ด็กเกิดความรูส้ ึกไม่
มนั่ คง วติ กกังวล ไมม่ ีความม่ันใจในตัวเอง ไม่สามารถยอมรับตนเอง นำมาสู่การไม่ไวว้ างใจผอู้ ่ืน
3. ทฤษฎีพฤตกิ รรมนิยม (behavior theory)

ทฤษฎีพฤติกรรมนยิ มมพี นื้ ฐานถูกพัฒนามาจากทฤษฎกี ารเรยี นรู้ นักทฤษฎที ่ีสำคญั คือ พาฟลอฟ (Ivan
Pavlov) และสกนิ เนอร์ (Skinner) นกั พฤตกิ รรมนิยมมีความเชื่อว่าพฤติกรรมมนษุ ยเ์ กดิ จากการเรียนรู้ ปญั หา
พฤติกรรมหรอื สขุ ภาพจิตเกิดจากการเรียนรทู้ ่ผี ดิ หรือไม่เหมาะสม พฤตกิ รรมเกิดจากการจดั วางเง่ือนไขทาง

6

สงิ่ แวดลอ้ ม (conditions) หรือการให้การเสริมแรง (reinforcement) เพอื่ การคงไวซ้ ่งึ พฤติกรรมท่ีพึงประสงค์
หรือ การลงโทษ (punishment) เพอื่ การการจัดพฤติกรรมที่ไมพ่ ึงประสงค์ นักทฤษฎนี ้มี ีความเช่ือว่าการ
เปล่ียนแปลงพฤติกรรมจะนำไปสกู่ ารเปลี่ยนแปลงความคดิ และอารมณ์ ความรสู้ ึก
4. ทฤษฎีทางปญั ญา (cognitive theory)

นกั ทฤษฎีท่ีสำคัญ คอื นกั จิตวิทยาชอื่ เอลลิส (Albert Ellis) และจติ แพทยช์ ่ือ เบค (Aaron Beck)
นกั ทฤษฎีน้มี ีความเช่ือว่าความคิดมีอิทธิพลต่อความรูส้ ึกและการกระทำของมนุษย์ เอลลิสมคี วามเชอ่ื ว่า บุคคล
มีความคดิ ท้ังทเ่ี ปน็ เหตผุ ลและไม่เป็นเหตุผล เอลลิสอธบิ ายกระบวนการคิดของบุคคลทม่ี ีตอ่ เหตุการณ์นำมาสู่
การตอบสนองทางอารมณ์และพฤติกรรมในรูปแบบ A-B-C โดย A หมายถึงเหตุการณ์ที่เปน็ ตวั กระตุ้น
(Activating events) B หมายถึงความคดิ ความเช่ือการให้ความหมายต่อเหตุการณ์ (Beliefs) และ C
หมายถงึ การตอบสนองของบุคคลท่เี กิดข้นึ ตามมา (Consequences) คนท่มี ีสุขภาพจติ ดคี อื คนทมี่ ีความคดิ ต่อ
เหตกุ ารณ์กระต้นุ ที่เป็นเหตุเป็นผล ยอมรับความจรงิ และมีมุมมองต่อเหตกุ ารณห์ ลายแง่มมุ ในขณะท่ีคนที่ไม่มี
ความสขุ มีสขุ ภาพจิตทีไ่ มด่ ี คอื คนทมี่ ีแนวโนม้ ที่จะมคี วามคดิ ต่อเหตกุ ารณใ์ นลกั ษณะที่ไมเ่ ปน็ เหตุเป็นผล มี
แนวโน้มทีจ่ ะตำหนิตนเอง เห็นแตจ่ ุดบกพร่องของตนเอง ในขณะทีเ่ บค อธบิ ายทฤษฎีทางปัญญาในกลุ่มผู้ป่วย
โรคซมึ เศร้าวา่ เปน็ บคุ คลทม่ี ีความคิดความเชื่อตอ่ เหตุการณ์ในลักษณะบดิ เบือนไปจากความเปน็ จริง เป็น
บุคคลท่ีมีความคดิ ความเช่อื มองตนเอง และมองโลกในแง่ลบ
5. ทฤษฎีมนษุ ยนิยม (Humanistic theory)

นกั ทฤษฎที ่ีสำคญั ในกลุ่มนีค้ ือ มาสโลว์ (Maslow) และ โรเจอรส์ (Carl Rogers) เปน็ นักทฤษฎกี ลุ่ม
มนษุ ยนยิ มอย่ภู ายใต้ปรชั ญา อตั ถิภาวะนิยม (existential philosophy ) นักทฤษฎีนี้มีความเช่ือวา่ มนุษย์มี
คุณคา่ มีศักดศิ์ รี มีความรบั ผดิ ชอบในตวั เอง มีความต้องการทีจ่ ะพฒั นาตวั เอง มีเสรภี าพในการดำเนนิ ชวี ิต มี
การแสวงหาความหมายของชีวิต การมีชวี ิตที่มีความหมายจะเปน็ แรงจงู ใจให้มนษุ ย์พร้อมที่จะเผชญิ กับความ
ยากลำบากตา่ งๆ มนษุ ย์ไม่สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้โดยไม่มสี งั คมและส่งิ แวดลอ้ ม นักทฤษฎีนี้ใหค้ วามสำคญั
แบบองคร์ วมในการทำความเขา้ ใจมนุษย์ตอ้ งเขา้ ใจบุคคลท้ังหมด (the whole person) ไมส่ ามารถแยก
อารมณ์ออกจากความคดิ หรือพฤติกรรม มนุษย์มีความยดื หยนุ่ และสามารถเปล่ยี นแปลงตามสงิ่ แวดลอ้ ม นกั
ทฤษฎนี ม้ี ีความเช่อื ว่ามนุษย์มีความดี มศี ักยภาพ มีความคิดสรา้ งสรรค์ การไม่ไดร้ บั การยอมรับ ไม่ไดร้ ับการ
สนับสนนุ ให้บคุ คลมีชีวติ ทเ่ี ป็นอิสระ หรือใช้ชีวิตท่ไี มส่ อดคล้องกลมกลืนระหวา่ งความคดิ ความรสู้ ึกและ
พฤติกรรมการแสดงออกจะสง่ ผลให้บุคคลน้ันมีความเสย่ี งต่อการมีปญั หาสุขภาพจิต

แบบจำลองการตอบสนองต่อความเครียดของสจว๊ ต
(Stuart Stress Adaptation Model)

แบบจำลองการปรับตัวต่อความเครียดของสจ๊วต (Stuart Stress Adaptation Model) พัฒนำโดย
พยาบาลจิตเวชช่ือ สจ๊วต (Gail Stuart) สจ๊วตมีความเช่ือว่ามนุษย์เป็นองค์รวม พยาบาลต้องบูรณาการกรอบ
แนวคิดด้านชีวภาพ จิตใจ สงั คมวัฒนธรรม ส่ิงแวดลอ้ ม การเมือง การปกครอง มาทำความเข้าใจบุคคล และใช้

7

กระบวนการพยาบาลเพื่อช่วยเหลือให้บุคคลสามารถใช้ศักยภาพในการเผชิญกับความเครียด กรอบแนวคิด
ทส่ี จว๊ ตใช้ในการพฒั นำแบบจำลองการปรบั ตวั ต่อความเครยี ด (Stuart, 2013) มดี งั น้ี

1. บุคคลอยู่ภายใต้สังคมท่ีมีการเรียงตัวเป็นลำดับขั้น ซึ่งแต่ละขั้น มคี วามเก่ียวข้อง และมอี ิทธิพลต่อ
กันไมส่ ามารถแยกออกจากกนั ได้ คอื ครอบครวั ชุมชน และสงั คม

2. ใช้แนวคิดแบบองค์รวมในการให้การพยาบาลผู้ป่วย โดยคำนึงปัจจัยด้านชีวภาพ จิตใจ สังคม
วัฒนธรรม นโยบาย การเมืองการปกครอง และสทิ ธมิ นุษยชน ดังนั้นทฤษฎที ่ีพยาบาลจิตเวชนำมาใช้จงึ มีความ
หลากหลายเช่น ศาสตร์ทางการพยาบาล จิตวิทยาพัฒนำการ สารส่ือประสาท เภสัชวิทยา ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีพฤติกรรมศาสตร์ ทฤษฎีปัญญานิยม ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล เศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง
นโยบาย และสิง่ แวดล้อม เปน็ ตน้

3. ภาวะสุขภาพจิตท่ีดี การเจ็บป่วยทางจิตและการเป็นโรคทางจิตเวช มีความต่อเน่ืองกัน 2 ขั้วจาก
การปรับตัวต่อความเครียดได้จนถึงการปรับตัวต่อความเครียดไม่ได้ พยาบาลจิตเวชใช้มุมมองทางการแพทย์ที่
เช่ือว่าการเจ็บป่วยทางจิตเป็นความต่อเน่ืองกันระหว่างสุขภาพดีที่เป็นข้ัวด้านหนึ่งกับการป่วยเป็นโรคทางจิต
เวชที่อยู่อีกข้ัวด้านหนึ่ง และใช้มุมมองทางสังคมท่ีเช่ือว่าบุคคลที่เจ็บป่วย หรือเป็นโรคสามารถที่จะปรับตัวอยู่
กับการเป็นโรคได้ ในทางตรงข้ามคนที่ไม่เป็นโรคก็อาจก็ปัญหาหรือข้อบกพร่องต่อการปรับตัวต่อความเครียด
ได้

4. การดูแลทางด้านสุขภาพจิตและจิตเวช ประกอบด้วยการส่งเสริม การป้องกัน การรักษาและการ
ฟืน้ ฟู มี 4 ระยะของการเจ็บปว่ ย คอื ระยะวิกฤต ระยะเฉียบพลนั ระยะคงสภาพและการส่งเสริมสุขภาพ
5. พยาบาลสามารถใชก้ ระบวนการพยาบาลในการตอบสนองความต้องการของผ้ปู ่วยในแต่ละระยะ

8

แบบจำลองการตอบสนองตอ่ ความเครยี ดของสจ๊วตประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ มีรายละเอียดดังนี้
1. ปัจจัยนำหรอื ปัจจยั โนม้ เอยี ง (predisposing factors)

ปัจจยั นำเป็นปจั จยั ที่เกิดขึ้นมากอ่ น สามารถเป็นได้ทัง้ ปัจจัยปกปอ้ ง (protective factor) หรอื ปัจจัยเส่ียง
(risk factor) ในลกั ษณะผกผันขวั้ ตรงขา้ มกัน

1.1) ปัจจัยด้านชีวภาพ ประกอบด้วย ประวัติพันธุกรรม ภาวะโภชนำการ ความไวต่อปัจจัยด้าน
ชวี ภาพ (biological sensitive) ภาวะสุขภาพ เพศสรรี ะ (sex) การอยใู่ กล้สารพิษ เปน็ ตน้

1.2) ปัจจัยด้านจิตใจ ประกอบด้วย ระดับสติปัญญา ทกั ษะการส่อื สารทางคำพูด คุณธรรม บุคลกิ ภาพ
ประสบการณ์ในอดีต อัตมโนทศั น์ แรงจูงใจ กลไกทางจิต ความสามารถในการควบคุมหรือความเช่ือในอานำจ
ตน (locus of control) ทกั ษะการจดั การปัญหา ความสามารถในการคน้ หาขอ้ มูล ทักษะทางสังคม

1.3) ปัจจัยด้านพฤติกรรมส่วนบคุ คล หมายถึง พฤติกรรมส่วนบุคคลที่ส่งผลต่อสุขภาพและการเจบ็ ป่วย
ของบุคคล เป็นผลมาจากความคิดความเชื่อในเรื่องนั้นๆ เช่น การด่ืมสุรา การใช้สารเสพติด การสูบบุหร่ี การ
ออกกาลงั กาย

1.4) ปัจจัยด้านสังคมวัฒนธรรม ประกอบด้วย วยั (สงั คมให้ความหมายต่ออายุอย่างไร เชน่ บางสังคมมี
ความเชื่อต่อวัยเด็กว่าเป็นวัยต้องพึ่งพา ในขณะท่ีบางสังคมมีความเช่ือว่าเป็นวัยแห่งการสร้างประเทศ วัย
ผู้สูงอายุเป็นวัยสะสมประสบการณ์ ในขณะท่ีบางสังคมมองผู้สูงอายุเป็นวัยพ่ึงพา เป็นภาระ) เพศภาวะ
(gender) หมายถึงการหล่อหลอมทางสังคมในการกำหนดบทบาทความเป็นผูห้ ญิง เป็นผชู้ าย ระดับการศึกษา
รายได้ อาชีพ สถานะตำแหน่งทางสังคม วัฒนธรรม ความเชื่อ ความศรัทธาทางศาสนำ การเป็นสมาชิกพรรค
การเมือง การมสี ว่ นร่วมทางสังคม

ปัจจัยนำข้างต้นองค์การอนำมัยโลกเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ปัจจัยกำหนดสุขภาพ (health
determinants) จากสถานการณ์ท่ีพบว่าคนบางกลมุ่ มีสขุ ภาวะที่ดีในขณะท่ีคนบางกลุ่มมีสุขภาวะท่ีไมด่ ี ทำให้
เกิดความเหล่ือมล้าทางสุขภาพ (health inequality) เพ่ือสนับสนุนให้ทุกคนมีสุขภาวะท่ีดี องค์การอนำมัย
โลกให้ความสำคัญต่อปัจจัยกำหนดสุขภาพ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคลท่ีกำหนดมาแต่กา
เนิด เช่น อายุ เพศ รวมถึงรูปแบบการใช้ชีวิต ปัจจัยระดับสังคมและชุมชน การมีเครือข่ายสนับสนุนหรือไม่มี
สภาพแวดล้อมในการดาเนนิ ชีวิตและการทำงานและปจั จยั ทางเศรษฐกิจ สงั คมวัฒนธรรม

องค์การอนำมัยโลกได้ให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการทำความเข้าใจปัจจัยทางสังคมที่กำหนดสขุ ภาพ
(social determinants of health) เพื่อส่งเสริมความเป็นธรรมทางสุขภาพ (health equality) เนื่องจาก
ปจั จยั กำหนดสขุ ภาพบางปัจจัยไม่สามารถเปล่ียนแปลงได้ เช่น ปัจจัยที่กำหนดมาแต่กาเนิด และ ปัจจยั สังคมนี้
มีผลทำให้บุคคลมีความแตกต่างกันในเชิงสังคม เพราะเป็นปัจจัยท่ีทำให้คนกลุ่มหน่ึงมีโอกาสมากกว่าคนอีก
กลุ่ม องค์การอนำมัยโลกให้ความสำคัญในประเด็นที่ปัจจัยสังคมกำหนดเหล่าน้ีส่งผลให้เกิดความไม่เป็นธรรม
ในด้านสุขภาพผ่านความไม่เท่าเทียมกันทางสังคม ในแต่ละบริบทของพ้ืนท่ี ปัจจัยทางสังคมมีผลกระทบต่อ
สุขภาพที่แตกต่างกันและมีลักษณะเฉพาะ อย่างไรก็ตามปัจจัยสังคมท่ีกำหนดสุขภาพเป็นปัจจัยที่สามารถจัด
กระทำเพ่ือสง่ เสริมความเป็นธรรมทางสขุ ภาพได้

9

องค์การอนำมัยโลกให้ความหมายปัจจัยสังคมท่ีกำหนดสุขภาพว่า “สภาวะแวดล้อมของบุคคลต้ังแต่เกิด
เติบโต ทางานและชราภาพ ซึ่งสภาวะนั้นถูกกำหนดโดยระบบเศรษฐกิจ การเมืองและการกระจำยทรัพยากร
ในระดับทอ้ งถิ่น ระดับชาติและระดับโลก” (นิภากร, 2559) คณะกรรมาธิการปจั จัยสังคมที่กำหนดสุขภาพของ
องค์การอนำมยั โลก แบ่งปจั จัยสงั คมกำหนดสขุ ภาพ (นิภากร, 2559 ชลธิชา, 2556) ดงั น้ี

1. ชนชั้นทางสังคม (social gradient) หมายถึงสถานะทางเศรษฐกิจ ระดับการศึกษา ลำดับชั้น
ทางสังคม ตาแหน่งหน้าท่ีการงาน ผู้ท่ีอยู่ในชนช้ันทางสังคมต่ำกว่ามักจะมีความเส่ียงต่อการเกิดปัญหา
สุขภาพจิตหรือเป็นโรคจิตเวชสูงกว่าผู้ท่ีอยู่ในชนชั้นทางสังคมสูงกว่า เพราะคนที่อยู่ในชนชั้นทางสังคมต่ำ มี
โอกาสเข้าถึงทรัพยากรนอ้ ยกวา่ อยใู่ นสภาพแวดล้อมท่ลี ำบาก และมีความยากจนมากกว่า

2. ความเครียด หากบุคคลอยู่ในสถานการณ์ทางสังคมทีท่ ำใหเ้ กิดความเครียดในระยะยาวจะส่งผลต่อ
กระบวนการตอบสนองต่อความเครียดทำให้โอกาสท่ีบุคคลนั้นจะปรับตัวกลับมาอยู่ในระยะสมดุลได้น้อยหรือ
เปน็ ระยะเวลาส้ันๆสง่ ผลตอ่ ความเสีย่ งในการเกดิ การเจ็บปว่ ยทางจติ

3. ชีวิตในวัยต้น (early life) รวมถึงสภาวะของบุคคลตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดา ภาวะโภชนำการและ
การดูแลสขุ ภาพของมารดา ส่งผลตอ่ ทำรก เด็กไม่สามารถพ่ึงพาตัวเองได้ ต้องพงึ่ พาพอ่ แม่ ผูป้ กครอง ผทู้ ี่เล้ียง
ดูในทุกด้าน เช่น ด้านโภชนำการ การสร้างเสริมพัฒนำการทางกาย สติปัญญา และอารมณ์ ความรัก ความ
อบอุ่น การศึกษา รวมถึงเป็นวัยท่ีได้รับการปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพ ซึ่งปัจจัยสังคมชีวิตในวัยตอนต้นนำไปสู่
ภาวะสุขภาพในวัยต่อไป ดังที่อธบิ ายไว้ในทฤษฎีท่ีอธิบายสุขภาพจิตท่ีเกอื บทุกทฤษฎีให้ความสำคัญต่อพัฒนำ
การทางจติ ใจในชว่ งต้นของชวี ติ

4. การกีดกันทางสังคม (social exclusion) หมายถึง การท่ีบุคคลหรือกลุ่มคนได้รับการกระทำจาก
สงั คมให้รู้สึกแปลกแยก และไม่เท่าเทียมจากการที่มีลักษณะเฉพาะของบุคคลหรือกลุ่มน้ัน เช่น คนชนเผ่า คน
พิการ ผู้อยู่ร่วมกับเช้ือ ผู้มีประวัติต้องขัง คนอพยพ แรงงานต่างด้าว บุคคลไร้สัญชาติ การกีดกันอันเน่ืองจาก
ความเป็นเพศ (gender discrimination) ผู้ท่ีมีเพศสภาพไม่ตรงกับเพศกาเนิด (กลุ่มเพศทางเลือก เช่น ทอม
เลสเบียน กระเทย) กลมุ่ คนรักตา่ งเพศ หรือรักสองเพศ การถูกกีดกันทางสังคมเป็นปัจจัยสังคมกำหนดที่ทำให้
เกิดผลกระทบต่อสุขภาพโดยตรงจากสถานการณ์ และส่ิงแวดล้อมท่ียากลำบาก ร่วมกับเป็นผลโดยอ้อมจาก
การขาดโอกาสในการเขา้ ถงึ ทรพั ยากรตา่ งๆ รวมถงึ บรกิ ารสขุ ภาพ

5. การทำงานหมายถึงลักษณะโครงสร้างทางสังคมและรูปแบบการจดั การขององค์กร ความสัมพันธ์
ทางสังคมในท่ีทำงานความเป็นอิสระในการทางานและการตัดสินใจ ชนิดของงาน จำนวนชั่วโมงในการทำงาน
การเอาเปรยี บของนำยจา้ งต่อลูกจ้าง ส่ิงแวดลอ้ มในการทำงานเปน็ ต้น

6. การว่างงาน การที่บุคคลไม่มีงานทำท่ีทำให้เกดิ รายได้ หรือมีความไมม่ ั่นคงในงานจะส่งผลต่อปัญหา
ทางสุขภาพจติ มากกวา่ คนท่มี ีรายไดเ้ พยี งพอหรือมีความมนั่ คงในการทำงาน

7. การสนับสนนุ ทางสังคม หมายถึง การเป็นส่วนหน่ึงของสังคมหรือเครือข่ายทางสังคม มีความผูกพัน
ทางสังคม มสี มั พนั ธท์ ีด่ ีกับเพ่ือนเปน็ ปัจจยั ปกป้องต่อการมีสุขภาพจติ ที่ดี

10

8. การเสพติด (addiction) พฤติกรรมการติดบุหร่ี สุราหรือสารเสพติด ส่งผลต่อกระบวนการคิด
การตัดสินใจและการควบคุมตนเอง รวมถึงภาวะสุขภาพทางร่างกาย และอาจนำไปสู่การใช้ความรุนแรง
อาชญากรรม และการฆ่าตัวตาย

9. ความมั่นคงปลอดภัยด้านอาหาร อาหารที่มีคุณภาพและมีปริมาณเพียงพอเป็นปัจจัยปกป้องให้
บุคคลมสี ขุ ภาพท่ดี ี การขาดแคลนอาหารหรือได้รบั อาหารทีไ่ ม่มคี ณุ ภาพ สารอาหารครบถว้ นส่งผลให้เกดิ ภาวะ
ทโุ ภชนำการ มผี ลต่อพัฒนำการทางรา่ งกายและสตปิ ัญญาโดยเฉพาะในกลุ่มเดก็ และหญิงต้ังครรภ์

10. การคมนาคม การทภ่ี าครัฐจัดบริการให้บคุ คลหรือกลุ่มบุคคลให้ประชาชนสามารถเดนิ ทางในการ
เข้าถงึ แหล่งทรพั ยากรหรือบริการสวสั ดกิ ารต่างๆ ของรัฐได้เปน็ ปัจจัยปกป้องให้คนมสี ขุ ภาพจติ ท่ดี ี
การทำความเข้าใจปัจจัยสังคมกำหนดสขุ ภาพ จะช่วยทำให้พยาบาลวิเคราะห์ข้อมูลในมุมมองทค่ี วามเสี่ยงหรือ
ปัญหาสุขภาพจิตไม่ได้เกิดที่ตัวบุคคล แต่เกิดจากปัจจัยทางสังคมท่ีเหลื่อมล้า ไม่เป็นธรรม หากเป็นประเด็นนี้
การแก้ไขปัญหาจงึ ต้องเปล่ียนแปลงท่ีโครงสร้างทางสังคมเพ่ือลดความเหลื่อมล้า ส่งผลให้บุคคลมีสขุ ภาพจิตท่ี
ดี
2. ปจั จัยกระต้นุ (precipitating stressors)

ปัจจัยกระตุ้นทำให้บุคคลต้องใช้พลังงานเพ่ิมข้ึนในการตอบสนองต่อความเครียด ปัจจัยกระตุ้นอาจเป็น
ปัจจัยทางชีวภาพ จิตใจ สังคม วัฒนธรรม การประเมินปัจจัยกระตุ้นพยาบาลต้องเข้าใจองค์ประกอบของ
ปัจจัยกระตุ้นด้วย เช่น เป็นปัจจัยกระตุ้นท่ีเกิดทางธรรมชาติหรือไม่ ปัจจัยกระตนุ้ นั้นเกิดภายในตวั บุคคลหรือ
นอกตัวบุคคล ระยะเวลาท่ีบุคคลน้ันเผชิญกับปัจจัยกระตุ้น ความถี่ของปัจจัยที่มากระตุ้น และจำนวนปัจจัย
กระตุ้น หากมีหลายปัจจัย เกิดเป็นเวลานำน หลายๆ ครง้ั จะทำให้บุคคลนั้นมีความยากลำบากในการรับมอื ต่อ
สถานการณท์ ั้งหมดได้ ตัวอยา่ งของปัจจัยกระตนุ้ มดี งั น้ี

2.1 เหตุการณค์ ับขนั ในชีวติ (stressful life events)
เหตุการณ์คับขันในชีวิตอาจเป็นเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นกับตัวบุคคลน้ันเอง เช่น ภาวะสุขภาพ การเล่ือนตำแหน่ง
การงานที่สูงข้ึน การสูญเสีย การถูกทำให้ออกจากงาน หรือเกิดข้ึนกับครอบครัว เช่น ภาวะเศรษฐกิจ การ
แตง่ งาน การหยา่ ร้าง มีสมาชิกใหมเ่ กิดขนึ้ ในครอบครัว หรือในระดบั ชุมชน เช่น ภาวะวิกฤต ภยั พบิ ตั ิต่างๆ

2.2 ความเครยี ดเรอ้ื รัง (Life strain and hassles)
การเผชิญกับความเครียดเรื้อรังต่อเน่ืองยาวนำนแม้ว่าจะเป็นเหตุการณ์เล็กน้อย ไม่ต้องใช้พลังงาน

มาก แต่หากเหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นต่อเนื่องยาวนำน สามารถส่งผลให้บุคคลน้ันมีปัญหาสุขภาพจิตได้ ตัวอย่าง
ของความเครียดเรื้อรัง เช่น ความขัดแย้งกับคู่สมรสหรือคู่รัก ความเครียดของพ่อแม่ในการเล้ียงดูเด็ก ภาวะ
เศรษฐกจิ ในครอบครวั ความเครยี ดจากการทำงาน
เมื่อบุคคลเผชิญกับเหตุการณ์คับขันในชีวิต ไม่ได้หมายความว่าทุกคนจะมีปัญหาสุขภาพจิตข้ึนอยู่กับการให้
ความหมายต่อเหตุการณ์และวัฒนธรรมนั้นๆ ดังน้ันปัจจัยกระตุ้นบางคนอาจให้ความหมายเป็นปัจจัยท้าทาย
(challenging) หรือบางคนใหค้ วามหมายวา่ เป็นปจั จัยคุกคาม (threatening)
3. การประเมินและใหค้ วามหมายต่อความเครียด (appraisal of stressors)

11

เมื่อบุคคลเผชิญกับเหตุการณ์เขาจะประเมินและให้ความหมายทำความเข้าใจต่อสถานการณ์ท่ีเกิดขึ้นว่ามี
ความสำคัญต่อเขาอย่างไร เม่ือประมวลเหตุการณ์ได้ บุคคลจะตอบสนองต่อเหตุการณ์ออกมาให้ด้านต่างๆ
ประกอบด้วย ความคิด อารมณ์ สรีระ พฤติกรรมและความสัมพันธ์ทางสังคม ซ่ึงการตอบสนองนี้จะนำมาสู่
ความเส่ียงของการเกิดปัญหาสขุ ภาพจิตท่แี ตกต่างกัน

3.1 การตอบสนองทางความคิด
การตอบสนองทางความคิดเป็นบทบาทสำคัญต่อกระบวนการปรับตัวเป็นการให้ความหมายต่อผลกระทบต่อ
เหตกุ ารณ์ การเลือกใช้วิธกี ารแก้ไขปญั หา การตอบสนองทางความคดิ ตอ่ เหตุการณ์ มี 3 ประเภท ดังนี้

(1) เป็นอนั ตรายหรือเป็นการสูญเสยี เปน็ ความคดิ ท่ีตอบสนองต่อเหตกุ ารณท์ ี่เกดิ ข้ึนแล้ว
(2) คกุ คาม เป็นการคำดการณ์ต่อเหตกุ ารณ์ในอนำคตวา่ จะเปน็ อนั ตราย
(3) ท้าทาย เป็นการให้ความหมายต่อเหตุการณ์ว่า จะทำให้เกิดการพัฒนำศักยภาพ เติบโต หรือการใช้
ความสามารถ มากกว่าที่จะคิดว่าเป็นความเสี่ยง การรับรู้ว่าเหตุการณ์น้ันเป็นเรื่องท้าทำยมีบทบาทสำคัญต่อ
การเกิดความเข้มแข็งทางใจ (resilience) บุคคลท่ีมีความเข้มแข็งทางใจเม่ือเผชิญกับภาวะคับขันเขาจะมี
กระบวนการตอบสนอง ดังนี้
(1) มงุ่ มน่ั มีความคดิ ความเชอื่ วา่ เขามคี วามสามารถในการทำสงิ่ ต่างๆ ได้
(2) ทา้ ทาย มคี วามคดิ ความเชอ่ื ว่าชีวติ มีการเปลีย่ นแปลง ไม่คงที่หรอื แนน่ อน
(3) ควบคุม มีความคิดความเช่ือว่าเขาสามารถท่ีจะควบคุมเหตุการณ์ได้ มากกว่าท่ีจะมีความคิดว่า
เหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นไม่สามารถจัดการได้ ซึ่งความคิดประเภทหลังจะนำมาสู่ความรู้สึกสิ้นหวังต่อการเผชิญ
เหตกุ ารณ์
3.2 การตอบสนองทางอำรมณ์
หลังจากที่บุคคลประเมินและให้ความหมายต่อสถานการณ์ท่ีเกิดขึ้น บุคคลจะมีการตอบสนองทางอารมณ์
ตามการให้ความหมายที่มีความต่างกันและอาจมีหลำกหลายอารมณ์ ขึ้นอยู่กับความคิดการให้ความหมายต่อ
สถานการณ์ อารมณ์ทางบวก เช่น มีความสุข สนุกสนำน ต่ืนเต้น ประหลาดใจ มั่นใจ มีพลัง อารมณ์ทางลบ
เช่น เศร้า กลวั โกรธ ไมไ่ ว้วางใจ โดดเด่ยี ว เหน่ือยลา้ ผิดหวงั เสยี ใจ เป็นต้น
3.3 การตอบสนองทางสรรี ะ
การตอบสนองทางสรีระ หรือเรียกว่า กลุ่มอาการทั่วไปในการปรับตัว (general adaptation syndrome)
การตอบสนองทางสรรี ะ แบ่งออกเป็น 3 ระยะ (พรพรรณ และธนวรรณ, 2560) คอื

(1) ระยะเตรียมพร้อม (alarm stage) เป็นระยะเริ่มต้นของปฏิกิริยาตอบสนอง ทำให้ร่างกายเกิด
อาการที่เรียกว่า สู้ หรือ หนี (fight or flight) ร่างกายรับรู้ว่ามีส่ิงเร้ามากระตุ้นระบบประสาทอัตโนมัติ ซิมพา
เททิค (sympathetic) จะถูกกระตุ้นเป็นอันดับแรก ในช่วงแรกการทำงานของระบบประสาทซิมพาเททติกจะ
ถูกยับย้ัง ส่งผลให้กล้ามเนื้ออ่อนแรง ความดันโลหิตต่ำลง อุณหภูมิกายลดลง และระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ
ระยะนี้อาจเกิดข้ึนส้ันๆ ไม่เกิน24 ช่ัวโมงขึ้น อยู่กับความรุนแรงของสิ่งกระตุ้นและความเปราะบางของแต่ละ
บุคคล ซึ่งเรียกระยะนี้ว่า ระยะช็อค (shock phase) หลังจากน้ันร่างกายเข้าสู่ ระยะต้านช็อค (counter

12

shock phase) ระบบประสาทซิมพาเทติคถูกกระตุ้นให้ทางานเกิดการหล่ัง catecholamine ไปกระตุ้นต่อม
หมวกไตช้ัน medulla ทำให้มีการหลั่ง epinephrine และ norepinephrine ส่งผลให้ร่างกายมคี วามต่ืนตัว รู
ม่านตาขยาย ชีพจรและอัตราการหายใจ ความดันโลหิตเพ่ิมสูงขึ้น กล้ามเน้ือมีความตึงตัว ส่ัน มีการขับเหงื่อ
เพิ่มมากขึ้น ต่อมใต้สมองส่วนหน้าถูกกระตุ้นให้มีการหล่ัง adrenocorticotropic hormones (ACTH) ไป
กระตุ้นต่อมหมวกไตส่วน cortex ให้หล่ัง cortisol และ aldosterone เพ่ิมขึ้น มีการสลายไกลโคเจนในตับ
และกล้ามเนื้อ เพ่ือให้ร่างกายได้รับกลูโคสมากข้ึน ทำให้มีระดับน้าตาลในเลือดเพิ่มมากขึ้นเพ่ือให้พลังงานแก่
ร่างกายในการเผชญิ ภาวะฉุกเฉนิ

(2) ระยะระยะต่อต้าน (resistance stage) หรือระยะปรับตัว (adaptation phase) เป็นระยะที่
ร่างกายปรับตัวเพื่อเขา้ สู่ภาวะสมดุล (homeostasis) ระยะนีร้ ะบบประสาทซมิ พาเทติคจะทางานลดลง ขณะท่ี
ฮอร์โมน cortisol และ aldosterone หล่ังมากขึ้นทำให้มีระดับน้าตาลในเลือดเพ่ิมมากข้ึนมีการค่ังของเกลือ
และน้ำในระยะนี้ร่างกายจะมีการปรับความสมดุลผ่านกลไกการทางานของระบบภูมิคุ้มกันในร่างกาย ช่วยลด
อาการอกั เสบหรืออาการอื่นอันเนือ่ งมาจากความเครียด ในระยะน้ีถ้าความเครยี ดไมร่ ุนแรงและรา่ งกายปรับตัว
ได้ สามารถกลบั ไปใช้ชวี ติ ตามปกติ ก็จะไมเ่ ขา้ สู่ระยะที่ 3

(3) ระยะหมดแรง (exhaustion stage) หากร่างกายไม่สามารถปรับตัวเข้าสู่ภาวะสมดุลได้ เมื่อ
พลังงานสะสมลดลง ระบบต่างๆในร่างกายจะทางานหนักมากขึ้น ระบบภูมิคุ้มกันทางานล้มเหลว อาจทำให้
เกิดการเจบ็ ปว่ ย ร่างกายไม่สามารถฟืน้ คนื สภาพจากความเครียดได้ ตอ้ งได้รับการชว่ ยเหลอื ทางการแพทย์
3.4 การตอบสนองทางพฤตกิ รรม

การตอบสนองทางพฤติกรรมเป็นผลมาจากการตอบสนองทางความคิด อารมณ์และสรีระร่างกาย
บุคคลอาจมีพฤติกรรมหลีกหนีออกจากเหตุการณ์ หรือการเผชิญรับมือกับเหตุการณ์ หาวิธีแก้ไขปัญหา หรือ
การทำกจิ กรรมอื่นเพื่อใหค้ วามรสู้ กึ เครยี ดลดลง
3.5 การตอบสนองทางสังคม

การตอบสนองทางสังคม เช่น การค้นหา ข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาหรือการหาแหลง่ ช่วยเหลือ หาคนพูดคุย
หรอื การแยกตัวไมพ่ ดู คยุ ไม่ทำกจิ กรรมตามบทบาทหนา้ ทีค่ วามรบั ผดิ ชอบ หรอื ไมท่ ำกจิ กรรมทเ่ี คยชอบทำ
4. แหล่งทรัพยากรในการเผชญิ กบั ปญั หา (coping resources)

การมที รัพยากรในการเผชิญกับปัญหา เป็นแหลง่ สนบั สนนุ ท่ีช่วยให้บคุ คลสามารถเลอื กใช้ในการเผชิญกับ
ปัญหา เป็นปัจจัยปกป้อง ซ่ึงสามารถมีอยู่ในระดับบุคคล (ทักษะความสามารถส่วนบุคคล ความเช่ือ ความ
ศรัทธา ทักษะการแก้ไขปัญหา ทักษะทางสังคม ความรู้ สติปัญญา) ในระดับครอบครัวและชุมชน เช่น ฐานะ
ทางเศรษฐกจิ ความรกั การเก้ือกูล สวสั ดกิ ารทางสังคม เครือข่ายต่างๆ
5. กลไกการแกป้ ัญหา (coping mechanisms)

กลไกการแกไ้ ขปญั หาในการจดั การกบั ความเครยี ด แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ ดังน้ี
(1) แบบมุ่งปัญหา (problem-focused) บุคคลให้ความสำคัญต่อการจัดการแก้ไขปัญหาโดยตรง

เช่น การเผชิญกับปัญหา การเจรจำต่อรอง การหาข้อมูลหรือคำแนะนำ

13
(2) แบบใช้ความคิด (cognitively focused) บุคคลจะใช้เวลาทำความเข้าใจวิเคราะห์กับสถานการณ์
ปัญหาท่ีเกิดข้ึนก่อน จากนั้นจึงเลือกใช้วิธีการแก้ไขปัญหา อาจตัดสินใจเข้าไปจัดการกับปัญหา หรือ เพิกเฉย
ทำใจปล่อยวาง หรอื เปล่ียนแปลงเปา้ หมาย
(3) แบบใช้อารมณ์ (emotion focused) ส่วนใหญ่เป็นการทำงานของกลไกทางจิตในการจัดการกับ
สถานการณ์ เช่น ปฏิเสธ เกบ็ กด โทษคนอ่นื กา้ วร้าว

ภาพแบบจำลองการปรับตัวต่อความเครยี ดของสจ๊วต (Stuart Stress Adaptation Model) (Stuart, 2013 )

14

การพยาบาลตามกรอบแนวคิดแบบจำลองการตอบสนองต่อความเครียดของสจ๊วต
พยาบาลสามารถใช้กระบวนการพยาบาลในขั้นตอนแรกคือการประเมิน โดยประเมินปัจจัยเสี่ยงและ

ปัจจัยปกป้องที่มีอิทธิพลที่จะทำให้บุคคลมีความเส่ียงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพจิต ความเข้าใจกระบวนการ
ปรับตัวต่อสถานการณ์ท่ีเกิดข้ึนใน 5 องค์ประกอบ นำมาสู่แบบแผนการตอบสนองของบคุ คล ที่พยาบาลจะใช้
ในการประเมินว่าแบบแผนการตอบสนองนั้นเป็นการปรับตัวได้หรือไม่ได้ จากนั้นนำข้อมูลที่วิเคราะห์ได้มา
กำหนดเป็นข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลเพื่อกำหนดวัตถุประสงค์การพยาบาล เป้าหมายท่ัวไปของพยาบาล คือ
การส่งเสริมให้บุคคลสามารถปรบั ตัวต่อสถานการณ์ทท่ี ำใหเ้ กิดความตึงเครียดได้ ดังน้ันกิจกรรมการพยาบาลมี
เป้าหมายในการลดปัจจัยเสยี่ ง เพิ่มปจั จัยปกปอ้ ง ส่งเสรมิ ใหบ้ ุคคลมีการประเมนิ ให้ความหมายต่อสถานการณ์
ทจี่ ะเป็นประโยชน์ สง่ เสริมทรัพยากรสนับสนนุ บุคคลให้มีความสามารถในการปรบั ตวั กลบั มาใชช้ ีวิตประจำวัน
ได้ตามปกติ มสี ุขภาพจิตทด่ี ี

15

เอกสารอ้างองิ
กองยทุ ธศาสตรแ์ ละแผนงาน กรมสขุ ภาพจติ กระทรวงสาธารณสุข. แผนพัฒนาสุขภาพจติ แห่งชาติ ฉบับท่ี1

(พ.ศ. 2561-2580).
นิภากร เออ้ื วัณณะโชตมิ า. (2559). ปจั จัยสังคมกำหนดสขุ ภาพและการสรา้ งเสริมสุขภาพของประชากร.

วารสารวิชาการสาธารณสขุ . 25 (1): 147-156.
พรพรรณ ศรโี สภา และ ธนวรรณ อาษารัฐ. (2560). บทบาทพยาบาลในการปอ้ งกันและจัดการความเครียด.

บรู พาเวชสาร. 4 (2): 79-92.
สมพร รงุ่ เรอื งกลกจิ .( 2561). เอกสารประกอบการสอนวชิ าการพยาบาลสขุ ภาพจติ .คณะพยาบาลศาสตร์

มหาวิทยาลยั ขอนแก่น
ศกุ รใ์ จ เจริญสขุ . (2556). แนวคิดทฤษฎที ่ีจำเป็นในการปฏิบัตกิ ารพยาบาลจติ เวชและสุขภาพจติ . ใน

ฉวีวรรณ สตั ยธรรม แผ จนั ทร์สุข และ ศุกร์ใจ เจริญสุข (บรรณาธิการ). การพยาบาลจิตเวชและ
สขุ ภาพจติ (ฉบบั ปรับปรงุ ) เล่มท่1ี (หนา้ 67-112). ธนาเพรส:กรุงเทพ.
ศทุ รา เอื้ออภสิ ิทธ์วิ งศ์ ดุษฎี จงึ ศิรกลุ วทิ ย์ และ พนั ธ์ุนภา กติ ตริ ตั นไพบูลย.์ (2560). การสง่ เสรมิ สุขภาพจิต:
แนวคิด หลกั ฐาน และแนวทางปฏิบัติ. วนิดำการพิมพ์: เชียงใหม่.
Stuart, W.G. (2013). Principles and Practice of Psychiatric Nursing, 10th Edition St Louis,
United States: Elsevier - Health Sciences Division.

16

เอกสารอ้างอิง
ดาราวรรณ ต๊ะปนิ ตา. (2549). เอกสารประกอบการสอนทฤษฏพี นื้ ฐานด้านสุขภาพจติ . เชียงใหม่:
มหาวิทยาลยั เชียงใหม.่
ธณัชช์นรี สโรบล. (25๕9). เอกสารประกอบการสอนทฤษฏีการพยาบาลและการประยุกตใ์ ช้ในการ พยาบาล
จิตเวช. เชียงใหม่: วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี เชียงใหม่.
มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช สาขาวิชาพยาบาลศาสตร.์ (2545). เอกสารการสอนชดุ วชิ าการ
ส่งเสรมิ สุขภาพจิตและการพยาบาลจติ เวช หนว่ ยท่ี 1-7 (พมิ พ์ครงั้ ท่ี 2). กรุงเทพฯ:
มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช.
มานติ ย์ ศรสี ุรภานนท.์ (2547). เอกสารประกอบการสอนทฤษฎีชวี ภาพ. ภาควิชาจิตเวชศาสตร์
โรงพยาบาลมหาราช นครเชียงใหม่. เชยี งใหม:่ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่.
มาโนช หล่อตระกลู และ ปราโมทย์ สคุ นิชย.์ (2548). จติ เวชศาสตร์ รามาธิบด(ี พิมพ์คร้ังที่ 2).
กรงุ เทพฯ: บยี อนด์ เอน็ เทอร์ไพรซ.์
หรรษา เศรษฐบปุ ผา (2549). ทฤษฏีการพยาบาลและการประยกุ ตใ์ ชใ้ นการพยาบาลจิตเวช.
เชยี งใหม:่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สมบตั ิ สกุลพรรณ.์ (2556). เอกสารประกอบการสอนกระบวนวิชาการพยาบาลจิตเวช 1. เชียงใหม่:
มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม.่
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สวนสุนนั ทา. [ม.ป.ป.]. เอกสารประกอบการสอนทฤษฎที างจิตเวชศาสตร์และการ
พยาบาลจิตเวช. สืบค้นจาก http://www.ssru.ac.th/
สจุ ิตรา อรู่ ตั นมณ.ี [ม.ป.ป.]. เอกสารประกอบการสอนทฤษฎีการปรับตัวของรอย. สืบคน้ จาก
http://www.ssru.ac.th/