การ ใช้เครื่องมือ ตรวจ วัด ค่า ใด ไม่ ได้ แสดง ถึง สมบัติทางกายภาพ

เรื่องที่ 1 สมบัติของสาร

Show

สมบัติของสาร
    สมบัติของสาร หมายถึง ลักษณะเฉพาะตัวของสาร เช่น เนื้อสาร สี กลิ่น รส การนำไฟฟ้า การละลายน้ำ จุดเดือด จุดหลอมเหลว ความเป็นกรด-เบส เป็นต้น
นักวิทยาศาสตร์แบ่งสมบัติของสารออกเป็น 2 ประเภท คือ
1.สมบัติทางกายภาพ หรือสมบัติทางฟิสิกส์ (physical properties) หมายถึง สมบัติของสารที่สามารถสังเกตได้จากลักษณะภายนอก หรือจากการทดลองที่ไม่เกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาเคมี เข่น สถานะ เนื้อสาร สี กลิ่น รส ความหนาแน่น จุดเดือด จุดหลอมเหลว การนำไฟฟ้า การละลายน้ำ ความแข็ง ความเหนียว เป็นต้น
2.สมบัติทางเคมี (chemical properties) หมายถึง สมบัติที่เกี่ยวข้องกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีและองค์ประกอบทางเคมีของสาร เช่น การติดไฟ การผุกร่อน การทำปฏิกิริยากับน้ำ การทำปฏิกิริยากับกรด-เบส เป็นต้น
สถานะของสาร
สารแบ่งออกเป็น 3 สถานะ คือ
1. ของแข็ง (solid) หมายถึงสารที่มีลักษณะรูปร่างไม่เปลี่ยนแปลง และมีรูปร่างเฉพาะตัว เนื่อจากอนุภาคในของแข็งจัดเรียงชิดติดกันและอัดแน่นอย่างมีระเบียบไม่มีการเคลื่อนที่หรือเคลื่อนที่ได้น้อยมาก ไม่สามารถทะลุผ่านได้และไม่สามารถบีบหรือทำให้เล็กลงได้ เข่น ไม้ หิน เหล็ก ทองคำ ดิน ทราย พลาสติก กระดาษ เป็นต้น
2. ของเหลว (liquid) หมายถึงสารที่มีลักษณะไหลได้ มีรูปร่างตามภาชนะที่บรรจุ เนื่องจากอนุภาคในของเหลวอยู่ห่างกันมากกว่าของแข็ง อนุภาคไม่ยึดติดกันจึงสามารถเคลื่อนที่ได้ในระยะใกล้ และมีแรงดึงดูดซึ่งกันและกัน มีปริมาตรคงที่ สามารถทะลุผ่านได้ เช่น น้ำ แอลกอฮอล์ น้ำมันพืช น้ำมันเบนซิน เป็นต้น
3. แก๊ส (gas) หมายถึงสารที่ลักษณะฟุ้งกระจายเต็มภาชนะที่บรรจุ เนื่องจากอนุภาคของแก๊สอยู่ห่างกันมาก มีพลังงานในการเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วไปได้ในทุกทิศทางตลอดเวลา จึงมีแรงดึงดูดระหว่างอนุภาคน้อยมาก สามารถทะลุผ่านได้ง่าย และบีบอัดให้เล็กลงได้ง่าย เช่น อากาศ แก๊สออกซิเจน แก๊สหุงต้ม เป็นต้น
 การจำแนกประเภทของสาร
ในการศึกษาเรื่องสาร จำเป็นต้องแบ่งสารออกเป็นหมวดหมู่ เพื่อให้ง่ายต่อการจดจำสาร โดยทั่วไปนิยมใช้สมบัติทางกายภาพด้านใดด้านหนึ่งของสารเป็นเกณฑ์ในการจำแนกสารซึ่งมีหลายเกณฑ์ด้วยกัน เช่น
1. ใช้สถานะเป็นเกณฑ์ จะแบ่งสารออกได้เป็น 3 กลุ่ม คือ
1.1 ของแข็ง (solid)
1.2 ของเหลว (liquid)
1.3 ก๊าซ (gas)
2. ใช้ความเป็นโลหะเป็นเกณฑ์ แบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม คือ
2.1 โลหะ (metal)
2.2 อโลหะ (non-metal)
2.3 กึ่งโลหะ (metaliod)
3. ใช้การละลายน้ำเป็นเกณฑ์ แบ่งได้ 2 กลุ่ม คือ
3.1 สารที่ละลายน้ำ
3.2 สารที่ไม่ละลายน้ำ
4. ใช้เนื้อสารเป็นเกณฑ์ แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ
4.1 สารเนื้อเดียว (homogeneous substance)
4.2 สารเนื้อผสม (heterogeneous substance)

การตรวจวัดความหนาแน่นด้วยเครื่องชั่งสำหรับห้องปฏิบัติการ

ใช้เครื่องชั่งและชุดเครื่องมือวัดความหนาแน่นเพื่อวัดความหนาแน่นของสารที่เป็นของแข็ง สารที่เป็นของเหลว และสารที่มีความหนืด

  • ภาพรวม
  • การใช้งาน
  • เอกสารประกอบ
  • ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง
  • ข้อมูลเพิ่มเติม

การ ใช้เครื่องมือ ตรวจ วัด ค่า ใด ไม่ ได้ แสดง ถึง สมบัติทางกายภาพ

การตรวจวัดความหนาแน่นของตัวอย่างเป็นตัววัดคุณภาพที่สำคัญของทั้งวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป เทคนิคที่หลากหลายทำให้สามารถวัดความหนาแน่นของวัสดุของแข็ง วัสดุที่มีความหนืด และวัสดุของเหลวได้อย่างถูกต้อง เช่น โลหะ พลาสติก สารเคมี สารหล่อลื่น และอาหาร

การควบคุมคุณภาพด้วยความหนาแน่น

การเปลี่ยนแปลงของวัตถุดิบซึ่งระบุได้จากการเปลี่ยนแปลงความหนาแน่น อาจทำให้เกิดผลเสียหายต่อการทำงานหรือคุณภาพของผลิตภัณฑ์ขั้นสุดท้ายได้ ซึ่งสามารถใช้การตรวจวัดความหนาแน่นของวัตถุดิบเพื่อยืนยันความบริสุทธิ์ของวัสดุได้ หากสารมีสิ่งอื่นที่ราคาถูกกว่าปลอมปนอยู่ ความหนาแน่นของวัสดุคอมโพสิตที่วัดได้จะแตกต่างจากสารบริสุทธิ์

นอกจากนี้ ยังสามารถใช้ความหนาแน่นเพื่อรับรองความเป็นเนื้อเดียวกันได้ด้วย หากชิ้นส่วนที่ผลิตไม่เป็นเนื้อเดียวกัน อาจมีผลกระทบต่อคุณลักษณะที่ระบุประสิทธิภาพหลักได้ อย่างเช่น ความแข็งแรงและความทนต่อการแตกหัก ตัวอย่างเช่น ฟองอากาศภายในสามารถทำให้ชิ้นส่วนบกพร่องได้ในที่สุด เมื่อมีการวางภายใต้แรงเค้น การสุ่มตัวอย่างชิ้นส่วนเป็นวิธีการที่ง่ายและคุ้มค่าในการเฝ้าติดตามคุณภาพอย่างต่อเนื่อง

ทำไมการชั่งน้ำหนักที่ถูกต้องจึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง

ขั้นตอนปฏิบัติทั่วไปในการวัดความหนาแน่นจากน้ำหนักในห้องปฏิบัติการ ได้แก่ เทคนิคการลอยตัว หลักการแทนที่ และวิธีการใช้พิคโนมิเตอร์

วิธีการที่นิยมใช้มากที่สุดคือเทคนิคการลอยตัวซึ่งใช้หลักการของอาร์คิมิดีส กล่าวคือ วัตถุที่จุ่มลงในของเหลวจะระบุการสูญเสียน้ำหนักที่ชัดเจนเทียบเท่ากับน้ำหนักของของเหลวที่วัตถุนั้นแทนที่ หลักการสมัยโบราณเมื่อ 200 ปีก่อนคริสตกาลคือหลักการเดียวกันกับที่เราใช้ในปัจจุบันเพื่อวัดความหนาแน่นด้วยวิธีกราวิเมตริก ดังนั้น การตรวจวัดความหนาแน่นที่ถูกต้องจึงขึ้นอยู่กับค่าน้ำหนักที่ถูกต้องเป็นอย่างมาก

การ ใช้เครื่องมือ ตรวจ วัด ค่า ใด ไม่ ได้ แสดง ถึง สมบัติทางกายภาพ

ขั้นตอนการวัดความหนาแน่นในตัวอย่างของแข็ง

วิธีการลอยตัว - การใช้หลักการของอาร์คิมิดีส

หลักการของอาร์คิมิดีสระบุว่า วัตถุที่จุ่มลงในของเหลวบางส่วนหรือทั้งหมดจะมีแรงลอยตัวกระทำกับวัตถุนั้นในทิศทางพยุงขึ้น โดยที่แรงมีขนาดเท่ากับ
น้ำหนักของของเหลวที่วัตถุนั้นเข้ามาแทนที่

มีการชั่งน้ำหนักของแข็งในอากาศ (A) และชั่งน้ำหนักอีกครั้ง (B) ในของเหลวเสริมที่ทราบความหนาแน่น โดยสามารถคำนวณความหนาแน่นของของแข็ง ρ ได้ดังต่อไปนี้

การ ใช้เครื่องมือ ตรวจ วัด ค่า ใด ไม่ ได้ แสดง ถึง สมบัติทางกายภาพ

ρ        = ความหนาแน่นของตัวอย่าง

A        = น้ำหนักของตัวอย่างในอากาศ

B        = น้ำหนักของตัวอย่างในของเหลวเสริม

ρ0       = ความหนาแน่นของของเหลวเสริม

ρL       = ความหนาแน่นของอากาศ

ในการคำนวณต้องพิจารณาถึงอุณหภูมิของของเหลวด้วย เนื่องจากอาจทำให้ความหนาแน่นเปลี่ยนแปลงในระดับ 0.001 ถึง 0.1 ต่อ °C โดยจะสังเกตเห็นผลกระทบได้ใน
จุดทศนิยมตำแหน่งที่สามของผลลัพธ์ที่ได้
 

การ ใช้เครื่องมือ ตรวจ วัด ค่า ใด ไม่ ได้ แสดง ถึง สมบัติทางกายภาพ

การวัดความหนาแน่นของของเหลวด้วยเครื่องวัดความหนาแน่นแบบดิจิทัล

หากคุณไม่ได้สนใจเพียงแค่เรื่องความหนาแน่น เครื่องวัดความหนาแน่นแบบดิจิทัลสามารถใช้ตรวจวัดความหนาแน่น ความถ่วงจำเพาะ และคุณลักษณะที่เกี่ยวข้องอื่นๆ ของตัวอย่างของเหลว (ซึ่งได้แก่ %แอลกอฮอล์, BRIX°, ระดับ API) ด้วยความเที่ยงตรงแม่นยำสูงและใช้เวลาตรวจวัดไม่นาน
 

มาตรฐานเกี่ยวกับความหนาแน่น

การวัดความหนาแน่นในตัวอย่างของแข็งมีมาตรฐานและบรรทัดฐานมากมาย ตัวอย่างของมาตรฐานที่นิยมใช้มากที่สุด ได้แก่

  • ISO 1183-1: พลาสติก — วิธีการวัดความหนาแน่นของพลาสติกแบบไร้โพรง
  • OIML G 14: การตรวจวัดความหนาแน่นตาม OIML
  • ASTM-D-792: วิธีการทดสอบมาตรฐานสำหรับความหนาแน่นและมาตรฐานความถ่วงจำเพาะ

ISO 1183-1 ระบุการใช้เครื่องชั่งเชิงวิเคราะห์แบบทศนิยม 4 ตำแหน่ง

ความสับสนเกี่ยวกับความหนาแน่นรวม

ความหนาแน่นรวมคือการตรวจวัดจำนวนอนุภาค ชิ้นส่วน ชิ้น ที่มีอยู่ในปริมาตรที่ตรวจวัดได้ ความหนาแน่นรวมไม่ใช่คุณสมบัติของตัววัสดุเอง ความหนาแน่นรวม รวมถึงที่ว่างระหว่างอนุภาคหรือวัสดุและช่องว่างภายในตัววัสดุเอง ความหนาแน่นรวมอาจแตกต่างกันออกไปตามวิธีการจัดการวัสดุ อย่างเช่น การเขย่าภาชนะทำให้ชิ้นส่วนอยู่ตัว ซึ่งเป็นการเพิ่มความหนาแน่นรวมทั้งหมด

การ ใช้เครื่องมือ ตรวจ วัด ค่า ใด ไม่ ได้ แสดง ถึง สมบัติทางกายภาพ

คุณต้องการความช่วยเหลือหรือไม่?

การตรวจวัดความหนาแน่นเป็นตัววัดคุณภาพที่สำคัญอย่างยิ่งของทั้งวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป เราเข้าใจว่ามีปัจจัยหลายประการที่ต้องพิจารณาเพื่อรับรองความถูกต้องของผลลัพธ์ความหนาแน่น หากคุณต้องการความช่วยเหลือในการวัดความหนาแน่น หรือต้องการคำแนะนำว่าจะซื้อเครื่องชั่งหรือชุดเครื่องมือวัดความหนาแน่นชนิดใด ทีมผู้เชี่ยวชาญของเราพร้อมที่จะช่วยเหลือคุณ
อย่าลังเลที่จะติดต่อขอความช่วยเหลือจากเรา

การ ใช้เครื่องมือ ตรวจ วัด ค่า ใด ไม่ ได้ แสดง ถึง สมบัติทางกายภาพ

ความท้าทายในการตรวจวัดความหนาแน่นของของแข็งให้ถูกต้อง

ฟองอากาศ

ส่วนใหญ่แล้ว ที่มาของข้อผิดพลาดที่พบมากที่สุดในการตรวจวัดความหนาแน่นคือ ตัวอย่างมีความสามารถในการเปียกที่จำกัด เมื่อจุ่มตัวอย่างลงในของเหลว สิ่งสำคัญอย่างยิ่งคือต้องไม่มีฟองอากาศใดๆ เกาะอยู่ที่ตัวอย่างและอุปกรณ์ฟองอากาศใดๆ ที่เหลืออยู่จะทำให้เกิดผลการลอยตัวและทำให้การคำนวณความหนาแน่นผิดไป (ฟองอากาศที่มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 มิลลิเมตรจะทำให้เกิดการลอยตัว 0.5 มิลลิกรัม) เราขอให้คำแนะนำดังนี้
 

  • ใช้สารที่ทำให้เปียกหรือของเหลวอินทรีย์ (ไม่ต้องคำนึงถึงความหนาแน่นของน้ำกลั่นที่เปลี่ยนไปจากการเติมสารที่ทำให้เปียกไม่กี่หยด)
  • กำจัดไขมันออกจากของแข็งที่ทนต่อตัวทำละลาย
  • ทำความสะอาดอุปกรณ์อย่างสม่ำเสมอ
  • ห้ามใช้มือเปล่าสัมผัสชิ้นส่วนที่จะจุ่ม
  • ใช้แปรงขนละเอียดกำจัดฟองอากาศที่หลงเหลืออยู่
     

อุณหภูมิ

โดยทั่วไป ของแข็งจะไม่ไวต่อความผันผวนของอุณหภูมิโดยรอบ จนทำให้การเปลี่ยนแปลงความหนาแน่นที่สัมพันธ์กันไม่มีผลใดๆอย่างไรก็ตาม เนื่องจากมีการวัดความหนาแน่นด้วยของเหลวเสริม จึงต้องพิจารณาถึงอุณหภูมิด้วย อุณหภูมิมีผลกับของเหลวมากกว่า และทำให้ความหนาแน่นเปลี่ยนแปลงไปที่ระดับขนาด 0.1 ถึง 1‰ ต่อ °C

ผลกระทบดังกล่าวปรากฏชัดเจนในจุดทศนิยมตำแหน่งที่สามของผลลัพธ์ที่ได้ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง เราขอแนะนำให้คุณพิจารณาถึงอุณหภูมิของของเหลวเสริมในการวัดความหนาแน่นทั้งหมดเสมอ โดยสามารถดูค่าต่างๆ ได้จากคู่มือตารางเฉพาะ ส่วนในเครื่องชั่งจะมีการจัดเก็บความหนาแน่นต่างๆ ของของเหลวอ้างอิงที่สำคัญที่สุด (H2O และเอทานอล)

การชั่งน้ำหนัก

ตามที่กล่าวไว้ข้างต้น การชั่งน้ำหนักมีส่วนสำคัญในการวัดความหนาแน่นอย่างถูกต้อง ดังนั้น สิ่งที่สำคัญอย่างยิ่งคือ เครื่องชั่งที่ใช้ต้องตอบสนองความต้องการในการใช้งานเพื่อวัดความหนาแน่น สำหรับตัวอย่างขนาดเล็ก ต้องพิจารณาน้ำหนักตัวอย่างสุทธิขั้นต่ำของเครื่องชั่ง เพราะไม่สามารถเชื่อถือได้ว่าการชั่งน้ำหนักตัวอย่างที่ต่ำกว่าน้ำหนักนี้จะมีความถูกต้องตามระดับที่กำหนด

การจัดการข้อมูล

การทำรายการข้อมูลตัวอย่าง การคำนวณค่าน้ำหนักและความหนาแน่นด้วยตนเอง เป็นงานที่ใช้เวลานานและมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดข้อผิดพลาด

การ ใช้เครื่องมือ ตรวจ วัด ค่า ใด ไม่ ได้ แสดง ถึง สมบัติทางกายภาพ

โซลูชันจาก METTLER TOLEDO เพื่อวัดความหนาแน่นของตัวอย่างด้วยวิธีกราวิเมตริก

เครื่องชั่งเชิงวิเคราะห์และเครื่องชั่งแบบแม่นยำของ METTLER TOLEDO ส่วนใหญ่ที่มีค่าอ่านละเอียด 1 มิลลิกรัมหรือสูงกว่า สามารถนำมาใช้เพื่อวัดความหนาแน่นด้วยเทคนิคการลอยตัวด้วยขั้นตอนง่ายๆ ไม่กี่ขั้นตอน โดยมีชุดเครื่องมือวัดความหนาแน่นซึ่งติดตั้งอยู่บนเครื่องชั่ง

การวัดความหนาแน่นของของแข็งโดยใช้เครื่องชั่งเป็นกระบวนการที่ง่ายและสะดวก ทั้งยังให้ผลลัพธ์ซึ่งมีความน่าเชื่อถือสูงเมื่อเทียบกับวิธีการอื่นที่วัดปริมาตรของชิ้นส่วนแยกกันกับน้ำหนัก การเปลี่ยนเครื่องชั่งสำหรับห้องปฏิบัติการโดยการเพิ่มชุดเครื่องมือวัดความหนาแน่นทำให้คุณไม่จำเป็นต้องสั่งซื้ออุปกรณ์เฉพาะเพื่อใช้ในการดำเนินการขั้นตอนนี้โดยตรง ทำให้การสั่งซื้ออุปกรณ์เสริมชุดวัดความหนาแน่นเป็นการลงทุนที่คุ้มค่า การเพิ่มตัวถ่วงแก้วที่ทราบปริมาตร ทำให้สามารถใช้ชุดวัดความหนาแน่นในการวัดความหนาแน่นของตัวอย่างของเหลวได้

แอปพลิเคชันวัดความหนาแน่นในตัวเครื่องให้คำแนะนำแบบทีละขั้นตอน ซึ่งทำให้ใช้งานง่ายแม้เป็นเจ้าหน้าปฏิบัติงานที่ยังไม่ผ่านการฝึกอบรมก็ตาม นอกจากนี้ยังมีประโยชน์เพิ่มเติมดังนี้
 

  • ความยืดหยุ่นสูงเพื่อสอดรับความต้องการของแต่ละกระบวนการ
  • การคำนวณความหนาแน่นของของแข็งและของเหลวโดยอัตโนมัติ รวมถึงการปรับอุณหภูมิของของเหลวอ้างอิง
  • การประเมินทางสถิติสำหรับตัวอย่างหลายตัวอย่าง
  • ผลลัพธ์ทั้งหมดรวมถึงผู้ใช้, ID ของตัวอย่าง, หมายเลขล็อต, เวลาและวันที่ สามารถพิมพ์หรือบันทึกลงบนแฟลชไดรฟ์ USB ได้
     

ตรวจวัดความหนาแน่นของตัวอย่างขนาดใหญ่

สำหรับตัวอย่างขนาดใหญ่ซึ่งไม่พอดีกับชุดเครื่องมือวัดความหนาแน่น สามารถเปลี่ยนเครื่องชั่งแบบแม่นยำของ METTLER TOLEDO ที่มีค่าอ่านละเอียด 0.1 กรัมและ 0.01 กรัมให้ชั่งน้ำหนักใต้เครื่องชั่งได้โดยเพิ่มขอเกี่ยวเฉพาะ หลักการตรวจวัดความหนาแน่นเหมือนกันทุกประการ โดยมีการชั่งน้ำหนักตัวอย่างในอากาศและชั่งน้ำหนักอีกครั้งในของเหลวอ้างอิง

วิดีโอ: การดำเนินการวัดความหนาแน่น

ดูว่าวิธีการตรวจวัดความหนาแน่นบนเครื่องชั่งในห้องปฏิบัติการของ METTLER TOLEDO ง่ายดายเพียงใด ชุดเครื่องมือวัดความหนาแน่นช่วยให้คุณสามารถวัดความหนาแน่นของสารที่เป็นของแข็ง สารที่เป็นของเหลว สารที่เป็นรูพรุน และสารที่มีความหนืดได้ คำแนะนำแบบทีละขั้นตอนและการคำนวณแบบอัตโนมัติทำให้ทั้งกระบวนการเป็นเรื่องง่าย

การ ใช้เครื่องมือ ตรวจ วัด ค่า ใด ไม่ ได้ แสดง ถึง สมบัติทางกายภาพ

เอกสารการใช้งานฟรี: การวัดความหนาแน่นอย่างง่ายเพื่อให้พลาสติกมีคุณภาพสม่ำเสมอ

การวัดความหนาแน่นในพลาสติกเป็นสิ่งจำเป็นเพื่อให้ได้คุณภาพพลาสติกที่สม่ำเสมอ เอกสารการใช้งานจะอธิบายถึงวิธีการวัดความหนาแน่นของชิ้นส่วนพลาสติกแข็งที่ง่ายดายโดยใช้เครื่องชั่งเชิงวิเคราะห์ MS-TS, ML-T หรือ ME-T ของ METTLER TOLEDO ร่วมกันกับชุดเครื่องมือวัดความหนาแน่น

การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการข้อมูลและการรักษาความปลอดภัยของกระบวนการ

การ ใช้เครื่องมือ ตรวจ วัด ค่า ใด ไม่ ได้ แสดง ถึง สมบัติทางกายภาพ

การรวมเครื่องชั่งกลุ่ม Excellence ของ METTLER TOLEDO เข้ากับซอฟต์แวร์ LabX มอบการจัดการข้อมูลและการรักษาความปลอดภัยของกระบวนการในระดับที่สูงขึ้น โดยสามารถตั้งค่าเครื่องชั่งเชิงวิเคราะห์และเครื่องชั่งแบบแม่นยำอัจฉริยะพร้อมชุดเครื่องมือวัดความหนาแน่นเพื่อการวัดความหนาแน่น LabX รับรองว่ามีการปฏิบัติตาม SOP เกี่ยวกับความหนาแน่นอย่างถูกต้องแม่นยำ โดย LabX บันทึกค่าน้ำหนักทั้งหมด ดำเนินการคำนวณทั้งหมด และบันทึกผลลัพธ์ทั้งหมดลงในฐานข้อมูลกลางอย่างปลอดภัย ซึ่งข้อมูลทั้งหมดเกี่ยวกับการใช้งานด้านความหนาแน่นสามารถโอนไปยังระบบการจัดการข้อมูลภายในของคุณได้โดยตรง

FAQs – คำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับการตรวจวัดความหนาแน่น

การ ใช้เครื่องมือ ตรวจ วัด ค่า ใด ไม่ ได้ แสดง ถึง สมบัติทางกายภาพ

เครื่องชั่งเชิงวิเคราะห์

การชั่งน้ำหนักเชิงวิเคราะห์ประสิทธิภาพสูง: เครื่องชั่งเชิงวิเคราะห์และเครื่องชั่งเชิงวิเคราะห์ระดับไมโครที่ถูกต้องแม่นยำและเชื่อถือได้สำหรับการชั่งน้ำหนักตัวอย่างที่มีขนาดเล็ก มูลค...

การ ใช้เครื่องมือ ตรวจ วัด ค่า ใด ไม่ ได้ แสดง ถึง สมบัติทางกายภาพ

เครื่องชั่งความแม่นยำสูง

เครื่องชั่งความแม่นยำสูงที่ใช้งานได้หลากหลายอย่างยิ่งของเรามีพิกัดการชั่งสูงสุด 64 กิโลกรัมและค่าอ่านละเอียดเริ่มต้นตั้งแต่ 1 มิลลิกรัม เพื่อให้ได้ผลการชั่งน้ำหนักในห้องปฏิบัติการแ...

การ ใช้เครื่องมือ ตรวจ วัด ค่า ใด ไม่ ได้ แสดง ถึง สมบัติทางกายภาพ

การวัดความหนาแน่น

ชุดเครื่องมือวัดความหนาแน่นและอุปกรณ์เสริมสำหรับการวัดความหนาแน่นของสารที่เป็นของแข็ง ของเหลว และเป็นรูพรุน โดยดำเนินการตรวจวัดบนเครื่องชั่งเชิงวิเคราะห์และเครื่องชั่งแบบแม่นยำ

การ ใช้เครื่องมือ ตรวจ วัด ค่า ใด ไม่ ได้ แสดง ถึง สมบัติทางกายภาพ

เครื่องวัดความหนาแน่น

เครื่องวัดความหนาแน่นแบบดิจิตอลที่ถูกต้องแม่นยำสำหรับการใช้งานที่หลากหลาย ออกแบบมาเพื่อการใช้งานในห้องปฏิบัติการ ในบริเวณสายการผลิต หรือในบริเวณจัดเก็บและรับผลิตภัณฑ์

การ ใช้เครื่องมือ ตรวจ วัด ค่า ใด ไม่ ได้ แสดง ถึง สมบัติทางกายภาพ

เครื่องพิมพ์และอุปกรณ์เสริม

เครื่องพิมพ์และเครื่องพิมพ์ฉลากที่มีคุณภาพสูงซึ่งใช้เทคโนโลยี Dot Matrix หรือการถ่ายเทความร้อนแบบไม่มีหมึก เพื่อการจัดการข้อมูลที่ดีขึ้น ข้อผิดพลาดในการทำรายการที่น้อยลง และกระบวนก...

การ ใช้เครื่องมือ ตรวจ วัด ค่า ใด ไม่ ได้ แสดง ถึง สมบัติทางกายภาพ

ซอฟต์แวร์เครื่องชั่ง LabX

ซอฟต์แวร์เครื่องชั่ง LabX™ มีการควบคุมเครื่องมือ งาน และผู้ใช้งานจากส่วนกลาง แสดงคำแนะนำ SOP บนหน้าจอเครื่องชั่ง และไม่ต้องคัดลอกข้อมูลแบบแมนนวลอีกต่อไป