การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยกระดูกหัก



     ���Ҵ�纷���ѹ��ѧ�ѡ�������繼�������Ѻ�Ҵ�������ç����ش ��û����Һ����С������͹���¨е�ͧ��з����١��ͧ�������������ҧ�ҡ �������㹡�д١�ѹ��ѧ����ѹ��ѧ����繷ҧ��ҹ�ͧ����ҷ��ͧ��л���ҷ��������� ������Ѻ�ç�� ���ᷡ�з��������͹����ѡ���غ �������ѹ��ѧ�ա�Ҵ ���·���ع�ç�з������Ҵ��������ҵ���Ͷ֧����Ե�� ��д١�ѹ��ѧ�ѡ��辺���� ��� ����dz�������ǹ���

���˵�
     �Դ�ҡ��õ��ҡ����٧���·�ҡ鹡��ᷡ ��觤����٧�ҡ�Թ 2 ���� �ҡ�غѵ��˵ط�ͧ���

Show

�ҡ������ҡ���ʴ�
     1. �ѡ��ǹ�� �лǴ�� ��ѧ ᢹ�Ҫ�������͹�ç �Ҩ���ҡ�����㨢Ѵ �ִ�Ѵ�����Ӻҡ
     2. �ѡ��ǹ����ѡ�����ҡ�ûǴ��� �ҷ���ͧ��ҧ��͹�ç �����ب�������ͻ�����������

��û����Һ��
     �����д١�ѹ��ѧ�����������ѧ������ǵç ������ѧ�������д١����͹��� �������͹���¤�èѴ������дҹ��������͹ ��þ�ԡ��Ǩе�ͧ��ԡẺ��͹�ا (Log rolling) ��ê����������С������͹���¨����ŧ��ͨ����Ҩ����Ѻ��ê�������ͷ������ ����դ������������§�� ����վ�˹о�������й����ç��Һ��

การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยกระดูกหัก
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยกระดูกหัก


�Ҿ��� 14 �. ��þ�ԡ���Ẻ log rolling �. �Ը������͡��ѧ��������дҹ�����

อุบัติเหตุที่ทำให้เกิดข้อเคล็ด ข้อแพลง หรือกระดูกหัก ข้อหลุดเลื่อน มักพบเห็นอยู่เป็นประจำ หลายรายไม่รู้ว่าจะต้องปฐมพยาบาลอย่างไร และบางรายก็อาจใช้วิธีการที่ผิดๆ ในการช่วยเหลือผู้ป่วย แทนที่จะหายกลายเป็นเลวร้ายกว่าเดิม ต่อไปนี้เป็นวิธีการช่วยผู้ป่วยดังกล่าวก่อนถึงมือแพทย์อย่างปลอดภัย

ข้อเคล็ด ข้อแพลง
ถ้าผู้ป่วยสวมรองเท้าอยู่อย่าถอดออก ใช้ผ้าสามเหลี่ยมพันยึดข้อเท้าให้อยู่นิ่งๆ ถ้าเท้าเปล่าให้ผู้ป่วยนอนลงยกปลายเท้าสูงขึ้น ใช้ผ้าห่อก้อนน้ำแข็งประคบรอบๆ ข้อ แต่ถ้าสงสัยว่าอาจมีกระดูกแตกร้าวให้นำส่งแพทย์อย่าให้ยืนหรือเดิน ให้ใช้น้ำร้อนประคบ

ข้อเคลื่อน ข้อหลุด
ถ้าหัวกระดูกหลุดออกจากเบ้า รูปร่างของข้อจะเปลี่ยนแปลงไป และข้อจะติดขัดเคลื่อนไหวไม่ได้อย่างปกติ จะมีอาการปวดและบวมบริเวณข้อนั้น อย่าพยายามดึงข้อเข้าที่เอง เพราะอาจเกิดอันตรายถึงขั้นกระดูกหักได้ ให้ข้อนั้นอยู่นิ่งๆ ในท่าที่เป็นอยู่ และนำผู้ป่วยส่งแพทย์

กระดูกหัก แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
กระดูกหักชนิดธรรมดา ไม่มีทางติดต่อกับผิวหนังภายนอก
กระดูกหักชนิดแทรกซ้อน มีทางติดต่อกับผิวหนังภายนอก เช่น กระดูกหักตำทะลุออกมานอกเนื้อ ถูกสิ่งสกปรก หรือถูกกระสุนปืนยิงทะลุกระดูกแตก

ปฐมพยาบาลจะต้องระมัดระวังไม่ทำให้กระดูกหักชนิดธรรมดากลายเป็นกระดูกหักชนิดแทรกซ้อน เพราะการช่วยเหลือไม่ถูกวิธี จะทำให้รักษาหายช้า หรืออาจทำให้พิการได้

อาการของกระดูกหัก
เจ็บปวด บวม และเคลื่อนไหวตามปกติไม่ได้ตรงบริเวณที่มีกระดูกหัก
เวลาจับกระดูกอาจได้ยินเสียงกระดูกหักเสียดสีกันกรอบแกรบ
รูปร่างเปลี่ยนไป เช่น คดงอ โก่ง โป่งออก ฯลฯ

การปฐมพยาบาล
เพื่อไม่ให้ชิ้นส่วนของกระดูกที่หักเคลื่อนไหว อันอาจเกิดอันตรายตำทะลุหลอดเหลือดเส้นประสาท หรือตำทะลุออกมานอกเนื้อ จะต้องเข้าเฝือกชั่วคราวก่อนการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยทุกครั้ง

หลักการเข้าเฝือก
เมื่อกระดูกหักการเคลื่อนไหวของข้อย่อมทำให้ชิ้นกระดูกที่หักเคลื่อนไหวไปด้วย จนอาจเกิดอันตราย ดังนั้นการจะให้ชิ้นส่วนกระดูกที่หักอยู่นิ่งๆ ทำได้โดยการยึดข้อกระดูกให้อยู่นิ่งด้วยวิธีใดก็ได้ เช่น ใช้ไม้ดาม แฟ้ม กระดาษแข็ง หนังสือพิมพ์ ฯลฯ พับทบให้ยาวพอที่จะยึดให้อยู่นิ่งๆ โดยมีหลักว่า ต้องยึดข้อกระดูก 1 ข้อเหนือรอยกระดูกหัก และ 1 ข้อใต้รอยกระดูกหักให้อยู่นิ่งๆ ไม่เคลื่อนไหว

ถ้าเป็นกระดูกหักชนิดแทรกซ้อน ต้องปิดบาดแผลด้วยผ้าสะอาด พันผ้าแล้วจึงเข้าเฝือกชั่วคราว ถ้ามีเลือดออกต้องห้ามเลือดโดยวิธีขันชะเนาะ อย่าพยายามดึงกระดูกเข้าที่เอง และให้การปฐมพยาบาล ณ ที่ๆ ผู้ป่วยนอนอยู่ก่อนเคลื่อนย้าย


กระดูกหัก (Fracture)

กระดูกหัก (Fracture) คือ ภาวะที่มีการแตกหรือหักของกระดูก บริเวณที่หักอาจจะแตกเป็นรอย จะเคลื่อนออกจากกันหรือไม่ก็ได้ บางครั้งแตกเป็นหลายชิ้น ขึ้นอยู่กับลักษณะการบาดเจ็บและความรุนแรงของอุบัติเหตุกระดูกหักอาจเป็นสาเหตุทำให้เกิดความพิการ หรือในบางรายอาจทำให้เสียชีวิตได้

อาการกระดูกหักและข้อเคลื่อน

  1. เจ็บปวด บวม บริเวณที่มีกระดูกหักหรือข้อเคลื่อน
  2. สีของผิวหนัง รูปร่างของอวัยวะนั้น ๆ เปลี่ยนแปลงไปจากรูปร่างปกติ
  3. ไม่สามารถเคลื่อนไหวบริเวณนั้นได้ หรือเคลื่อนไหวแล้วจะเจ็บปวดมาก
  4. มีการหดสั้นของอวัยวะ เช่น แขน ฯลฯ
  5. อาจคลำพบปลายหรือหัวกระดูกที่เคลื่อนหรือหักออกมา

เมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุร่างกายย่อมเสื่อมลงไปตามกาลเวลา ซึ่งแต่ละคนจะเปลี่ยนแปลงไม่เท่ากัน ด้วยปัจจัยที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นกรรมพันธุ์ โรคหรือความเจ็บป่วย ตลอดจนพฤติกรรมการใช้ชีวิต ทั้งอาหาร อาชีพ ความเครียด การนอนหลับพักผ่อน การออกกำลังกาย เพราะฉะนั้นการรู้ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากความเสื่อมจึงเป็นเรื่องสำคัญที่ควรใส่ใจเพื่อจะได้ดูแลตัวเองอย่างถูกต้อง

​10) ความอึด (Endurance)เมื่ออายุเพิ่มมากขึ้นความอึดย่อมลดลง ยกตัวอย่างเช่น เมื่ออายุ 25 ปี และอายุ 35 ปีขณะที่ขึ้นบันไดในจำนวนขั้นที่เท่ากัน ความอึดอาจไม่เท่ากัน ในวัย 35 ปีอาจจะรู้สึกเหนื่อยง่ายมากขึ้นและอดทนได้น้อยกว่า เป็นต้น เพราะฉะนั้นการออกกำลังกายเพิ่มความทนทานของกล้ามเนื้อ อย่างการเดินเร็วหรือวิ่งเหยาะ ๆ จะช่วยเพิ่มความทนทานของระบบไหลเวียนเลือดและการทำงานของปอด เนื่องจากมีการใช้ออกซิเจนสันดาปไขมันสร้างพลังงานให้กล้ามเนื้อ เป็นต้น โดยต้องเลือกชนิดการฝึกที่เหมาะสมกับสภาพร่างกายและสิ่งแวดล้อม ซึ่งจำเป็นต้องเข้ารับการตรวจประเมินสมรรถภาพ กำลังกล้ามเนื้อ การทรงตัว ความเสี่ยงในการล้มโดยแพทย์เฉพาะทางเพื่อดูแลตนเองอย่างถูกต้องการตรวจประเมินภาวะด้านร่างกาย ความจำ และอารมณ์ของผู้สูงอายุ โดยแพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู และการได้รับคำแนะนำที่ถูกต้องจากนักกายภาพบำบัดและนักกิจกรรมบำบัดมีส่วนสำคัญที่ช่วยให้ผู้สูงอายุดึงศักยภาพตามวัยออกมาใช้ได้อย่างเต็มที่ ตลอดจนสามารถดูแลสุขภาพให้แข็งแรงสมวัย เพื่อการมีคุณภาพชีวิตที่ดียามสูงวัย กระดูกหักเคลื่อนย้ายยังไง

วิธีเคลื่อนย้าย ผู้ช่วยเหลือทั้งสองคนใช้มือขวากำข้อมือซ้ายของตนเอง ขณะเดียวกันก็ใช้มือซ้ายกำมือขวาซึ่งกันและกัน ให้ผู้ป่วยใช้แขนทั้งสองยันตัวขึ้นนั่งบนมือทั้งสี่ที่จับประสานกันเป็นแคร่ แขนทั้งสองของผู้ป่วยโอบคอผู้ช่วยเหลือ จากนั้นวางผู้ป่วยบนเข่าเป็นจังหวะที่หนึ่ง และอุ้มยืนเป็นจังหวะที่สอง แล้วจึงเดินไปพร้อมๆ กัน

การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิธีใดเหมาะสมกับผู้ที่กระดูกสันหลังหัก

การช่วยเหลือผู้ป่วยกระดูกสันหลังหักที่หลัง ให้ผู้ป่วยนอนราบอยู่บนพื้น ไม่ให้เคลื่อนไหว หาผู้ช่วยเหลือ ๓-๔ คน และแผ่นกระดานขนาดยาวเท่าผู้ป่วย เช่น บานประตู หรือเปลพยาบาล ค่อยๆ เคลื่อนตัวผู้ป่วยในท่าแนวตรงทั้งศีรษะและลำตัว ไม่ให้หลังงอเป็นอันขาด วางผู้ป่วยลงบนไม้กระดาน หรือบนเปลพยาบาล ใช้ผ้ารัดตัวผู้ป่วยให้ติดกับแผ่น ...

การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยในข้อใดเหมาะกับผู้ป่วยที่กระดูกไขสันหลังหักที่สุด

1. กรณีที่ผู้ป่วยติดอยู่ในรถ ในซากปรักหักพัง การเอาผู้ป่วยออกมาจากที่แคบๆ ควรใช้การลาก ลากทางหัว ดีกว่าลากทางเท้า แต่ถ้าลากออกทางหัวไม่ได้ ลากออกทางเท้าก็ได้ (ดูรูปที่ 5) การลากควรใช้ผ้าขาวม้าคล้องแขนใต้รักแร้ แล้วดึงออกมาตรงๆ (ดูรูปที่ 6) จนพ้นเครื่องกีดขวาง

ข้อใดคืออาการของผู้ป่วยที่กระดูกหัก ข้อเคลื่อน

อาการกระดูกหักและข้อเคลื่อน.
เจ็บปวด บวม บริเวณที่มีกระดูกหักหรือข้อเคลื่อน.
สีของผิวหนัง รูปร่างของอวัยวะนั้น ๆ เปลี่ยนแปลงไปจากรูปร่างปกติ.
ไม่สามารถเคลื่อนไหวบริเวณนั้นได้ หรือเคลื่อนไหวแล้วจะเจ็บปวดมาก.
มีการหดสั้นของอวัยวะ เช่น แขน ฯลฯ.
อาจคลำพบปลายหรือหัวกระดูกที่เคลื่อนหรือหักออกมา.