หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เวลาและการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์

สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

  เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ช่วยให้บุคคลเข้าใจพัฒนาการทางด้านการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ในแต่ละพื้นที่

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

ตัวชี้วัด

4.1 เข้าใจความหมาย  ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์   สามารใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็นระบบ

ม.1/1วิเคราะห์ความสำคัญของเวลาในการศึกษาประวัติศาสตร์

ม.1/2เทียบศักราชตามระบบต่างๆ ที่ใช้ศึกษาประวัติศาสตร์

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. ระบุเกณฑ์ในการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ได้ถูกต้อง

2.  อภิปรายเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ในแต่ละช่วงเวลาของยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สากลและประวัติศาสตร์ไทยได้ถูกต้อง

3. วิเคราะห์ความจำเป็นที่ต้องการแบ่งยุคประวัติศาสตร์ได้อย่างสมเหตุสมผล

สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทยแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงของมนุษยชาติตามกาลเวลา และสามารถเปรียบเทียบเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ได้ การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์แบ่งออกเป็น ๒ สมัย คือ สมัยก่อนประวัติศาสตร์และสมัยประวัติศาสตร์

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

1 อธิบายการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทยได้

2 ทักษะการวิเคราะห์เหตุการณ์ในยุคสมัยต่างๆ ทางประวัติศาสตร์ไทย

3 เห็นความสำคัญของการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย

การวัดผลและประเมินผล

ชิ้นงานหรือภาระงาน

1 ใบงาน เรื่อง การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย

2 ความถูกต้องของการทำใบงาน

แผนการจดั การเรียนรู้รายวชิ า ประวตั ิศาสตร์ รหัสวิชา ส 31102 ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4ภาคเรยี นที่ 1 เวลาเรยี น 1 ชวั่ โมง/สัปดาห์ หนว่ ยกติ 0.5 (นน./นก.) ระยะเวลา 6 ช่วั โมงหนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 เรื่อง เวลาและยคุ สมัยทางประวตั ิศาสตร์แผนจดั การเรยี นร้ทู ่ี 1 เร่อื ง เวลาทางประวัตศิ าสตร์ ระยะเวลา 3 ชว่ั โมง....................................................................................... .......................................................................................................1. สาระสาคัญ เวลาในทางประวัติศาสตร์ คือเคร่ืองบ่งบอกถึงอดีต ปัจจุบัน และอนาคตที่สาคัญย่ิง เนื่องจากการบอกเวลาในทางประวัติศาสตร์นั้น สามารถบ่งบอกได้ถึงคุณค่าและความน่าเชื่อถือของประวัติศาสตร์นั้นๆได้ รวมท้ังยังสามารถเชื่อมโยงประวตั ศิ าสตร์ในแต่ละแห่งผา่ นกาลเวลาทีศ่ กึ ษาค้นคว้า2. มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตวั ช้ีวดั ชนั้ ป/ี ผลการเรยี นร/ู้ เปา้ หมายการเรียนรู้ มาตรฐาน ส 4.1 เขา้ ใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวตั ศิ าสตร์ สามารถใช้วิธกี ารทางประวัตศิ าสตรม์ าวเิ คราะหเ์ หตกุ ารณต์ ่างๆอย่างเปน็ ระบบ ตัวชี้วัด/ผลการเรยี นรู้ ส 4.1 ม.4-6/1 ตระหนักถงึ ความสาคัญของเวลาและยุคสมยั ทางประวัติศาสตร์ท่ีแสดงถึงการเปลย่ี นแปลงของมนษุ ยชาติ3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 เนื้อหาสาระหลัก : Knowledge เวลาทางประวัติศาสตร์ที่ปรากฏขึ้นตามหลักฐานการพัฒนาและการอยู่อาศัยขอ งมนุษย์ที่พบจากการศึกษาทางประวตั ิศาสตรส์ ากลมีความสาคัญและการเปล่ียนแปลงอยา่ งไรบ้าง 3.2 ทกั ษะ/กระบวนการ : Process เน้นให้นักเรยี นได้ทางานเป็นกลมุ่ คิดคานวณการเทยี บศักราชเพอื่ การศึกษาทางประวตั ิศาสตรส์ ากลและประวัตศิ าสตรไ์ ทย 3.3 คณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ : Attitude มคี วามสนใจใฝ่เรยี นรู้ และมีทศั นคติท่ดี ีตอ่ การศึกษาประวัตศิ าสตร์4. สมรรถนะสาคัญของนักเรียน 4.1 ความสามารถในการสอ่ื สาร 4.2 ความสามารถในการคดิ5. คณุ ลกั ษณะของวิชา - ความรับผิดชอบ - ความรอบคอบ - กระบวนการกลุม่6. คุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มุ่งม่ันในการทางาน

7. ชน้ิ งาน/ภาระงาน : - ใบความรูท้ ี่ 1 เรอ่ื ง เวลาและยุคสมัยทางประวตั ิศาสตร์ - แบบฝึกหัดที่ 1 เร่ือง ศักราชและการคานวณ8. กจิ กรรมการเรียนรู้ (ความสามารถในการวเิ คราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ / เทคนิคการถามตอบ) ทาความเข้าใจและช้ีแจงสาระการเรียนรู้ให้นักเรียนทราบในหน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เร่ืองเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ นักเรียนจะต้องเรียนรู้เก่ียวกับศักราชและการเทียบศักราช การคานวณศักราช และการแบ่งยุคสมัยทางประวตั ศิ าสตร์ 1. ถาม-ตอบ พื้นฐานความรู้เดิมด้วยคาถามสาคัญ คือ นักเรียนรู้จักศักราชใดบ้าง ท่ีมาของศักราชนั้นคืออะไร และทาไมจงึ มกี ารนับศักราช 2. แบ่งกลุ่มนกั เรยี น กลุ่มละ 6 – 10 คน รว่ มกนั ศกึ ษาใบความรู้ท่ี 1 เรือ่ ง เวลาและยคุ สมัยทางประวัติศาสตร์ 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มต้ังคาถามจากใบความรู้ท่ีได้รับ กลุ่มละ 5 ข้อ สลับกันถามทีละกลุ่ม กลุ่มที่ตอบได้มาก ทีส่ ุดจะได้รบั คะแนนพเิ ศษ 1 ดาวเพม่ิ คะแนนจิตพิสัย 4. สรปุ ความรู้ทีไ่ ดร้ บั ลงในสมดุ ในรปู แบบแผนผงั ความคิด 5. ทาแบบฝกึ หัดที่ 1 เร่อื ง ศกั ราชและการคานวณ ทบทวนความเข้าใจ9. สอื่ การเรียนการสอน / แหล่งเรียนรู้ สภาพการใช้สอ่ื รายการสือ่ ขนั้ ตรวจสอบความรเู้ ดิม,ขยายความรู้ ขนั้ สร้างความสนใจและขยายความรู้1. ใบความร้ทู ่ี 1 เร่ือง เวลาและยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตร์2. วดี ิทศั นย์ ุคสมยั ทางประวัตศิ าสตร์ การคานวณศักราช และการเทียบศักราช10. การวัดผลและประเมนิ ผลเป้าหมาย หลักฐานการเรยี นรู้ วธิ วี ดั เครือ่ งมอื ประเดน็ /การเรียนรู้ ชน้ิ งาน/ภาระงาน วดั ฯ เกณฑก์ ารให้ คะแนนเข้าใจและสามารถ แบบฝึกหัดที่ 1 เร่ือง การคานวณศักราชในแบบฝึกหัด แบบฝึกหัด 5 คือ ดเี ย่ยี มสื บ ค้ น ข้ อ มู ล ท า ง ศักราชและการคานวณ ท่ีให้ไปถูกต้อง ครบถ้วน ภายใน ท่ี 1 4 คือ ดีมากป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ไ ด้ ระยะเวลาทีก่ าหนดไว้ 3 คือ ดีอยา่ งถูกตอ้ ง ไม่ว่าจะ ใบความรู้ที่ 1 เร่ือง การถามตอบของครูและนักเรียน การสังเกต 2 คอื พอใช้ในชว่ งเวล่าใดก็ตาม เวลาและยุคสมัยทาง และการต้ังคาถามถามตอบของ แ ล ะ ก า ร 1 คอื ควรปรับปรุง ประวตั ิศาสตร์ นกั เรยี นเอง สอบถาม 0 คือ ไม่ผา่ น11. จดุ เนน้ ของโรงเรียน การบูรณาการปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและกจิ กรรมสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี นปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ครู ผู้เรียน1. ความพอประมาณ พอดีดา้ นเทคโนโลยี พอดีด้านจติ ใจ รู้ จั ก ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี ม า ผ ลิ ต สื่ อ ที่ มีจิตสานึกท่ีดี เอื้ออาทร รู้จักประนี เหมาะสมและสอดคล้องเน้ือหาเป็น ประนอม นึกถึงประโยชน์ส่วนรวม/กลุ่ม ประโยชน์ต่อผู้เรียนและพัฒนาจากภูมิ ปัญญาของผู้เรียน

ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ครู ผเู้ รยี น2. ความมเี หตผุ ล3. มภี มู คิ มุ้ กนั ในตัวท่ดี ี - ยดึ ถือการประกอบอาชีพด้วยความ ไมห่ ยดุ นงิ่ ทจ่ี ะคน้ หาความรู้เพ่อื อนาคต4. เงือ่ นไขความรู้ ถูกต้อง สุจริต แมจ้ ะตกอยู่ในภาวะขาด ของตนเอง5. เง่อื นไขคุณธรรม แคลนในการดารงชีวติ ภูมปิ ญั ญา : มีความรู้ รอบคอบ และ ภูมิปญั ญา : มีความรู้ รอบคอบ และ ระมัดระวงั ระมัดระวงั สรา้ งสรรค์ ภมู ิธรรม : ซ่อื สัตย์ สุจริต ขยันอดทน ภูมิธรรม : ซ่ือสัตย์ สจุ รติ ขยนั อดทน ตรงตอ่ เวลาและแบ่งปัน ตรงต่อเวลา เสยี สละ ความรอบรู้ เรื่อง เวลาและยุคสมัย ความรอบรู้ เร่ือง เวลาและยุคสมัย ทางประวัติศาสตร์ ท่ีเกี่ยวข้องรอบด้าน ทางประวัติศาสตร์ กรณีที่เกิดงาน ความรอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้นมา ปริมาณที่เก่ียวข้อง การคานวณสูตรท่ี พิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อ ต้องใช้ สามารถนาความรู้เหล่านั้นมา ประกอบการวางแผน การดาเนินการจัด พิจารณาให้เช่ือมโยงกัน สามารถ กิจกรรมการเรยี นรใู้ หก้ ับผู้เรียน ประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจาวนั มคี วามตระหนกั ใน คุณธรรม มี มคี วามตระหนกั ใน คุณธรรม มี ความซือ่ สตั ยส์ ุจรติ และมีความอดทน มี ความซือ่ สตั ย์สุจริตและมีความอดทน มี ความเพียร ใชส้ ติปัญญาในการดาเนนิ ความเพยี ร ใชส้ ตปิ ัญญาในการดาเนิน ชวี ิต ชีวิต กจิ กรรม ครู ผ้เู รียนสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน เวลาและยคุ สมัยทางประวตั ิศาสตร์เ ว ล า แ ล ะ ยุ ค ส มั ย ท า ง เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ - ระบุปัจจัยท่ีมีผลต่อการเจริญเติบโต ของตน้ ไม้ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ กั บ ก า ร - เวลาในการทางานและการรู้จักแบ่ง - ทาปฏิทินต้นไม้ช่วยบันทึกผลการ สังเกตการเจรญิ เตบิ โตของตน้ ไม้เจริญเตบิ โตของตน้ ไม้ ช่วงงาน เพื่อใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจและ ปฏิบตั ติ ามได้อยา่ งเป็นระบบ ลงชอื่ .................................................. ผ้สู อน (นางสาวศิริมา เมฆปัจฉาพชิ ติ )

แผนการจดั การเรียนรู้รายวชิ า ประวตั ศิ าสตร์ รหัสวชิ า ส 31102 ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 4ภาคเรียนท่ี 1 เวลาเรยี น 1 ช่วั โมง/สปั ดาห์ หนว่ ยกติ 0.5 (นน./นก.) ระยะเวลา 6 ชั่วโมงหนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 เร่ือง เวลาและยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตร์แผนจดั การเรยี นรู้ที่ 2 เรื่อง ยคุ สมัยทางประวตั ศิ าสตร์ ระยะเวลา 3 ชว่ั โมง..............................................................................................................................................................................................1. สาระสาคญั ยุคสมัย คือ คาท่ีแบ่งแยกช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์ เพ่ือให้สามารถศึกษาเรียนรู้เร่ืองราวทางประวัติศาสตร์ได้อยา่ งเป็นระบบ โดยแบ่งออกเป็น 2 ยคุ สมัยหลักๆ ได้แก่ ยุคก่อนประวตั ิศาสตร์ และยุคประวัตศิ าสตร์2. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชว้ี ดั ชน้ั ปี/ผลการเรยี นรู้/เป้าหมายการเรียนรู้ มาตรฐาน ส 4.1 เขา้ ใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมยั ทางประวตั ศิ าสตร์ สามารถใชว้ ิธกี ารทางประวตั ิศาสตร์มาวเิ คราะห์เหตุการณต์ ่างๆอย่างเป็นระบบ ตวั ชวี้ ดั /ผลการเรียนรู้ ส 4.1 ม.4-6/1 ตระหนักถึงความสาคญั ของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ที่แสดงถึงการเปลีย่ นแปลงของมนษุ ยชาติ3. สาระการเรียนรู้ 3.1 เน้ือหาสาระหลกั : Knowledge การแบ่งช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์ออกเป็น 2 สมัยจากการแบ่งด้วยตัวอักษรและการจดบันทึกประวัติศาสตร์ ซึ่งการพฒั นาของมนษุ ยใ์ นแตล่ ะยุคสมยั ซง่ึ มีความเหมอื นและแตกต่างกันอย่ใู นตวั ไดแ้ ก่ 1. สมยั ก่อนประวัติศาสตร์ ได้แก่ ยคุ หิน และยคุ โลหะ 2. สมยั ประวัติศาสตร์ ไดแ้ ก่ สมยั โบราณ สมัยกลาง สมัยใหม่ และปัจจบุ นั 3.2 ทกั ษะ/กระบวนการ : Process การทางานเป็นกลุ่ม การตัง้ คาถามเพอื่ การเรยี นรู้ 3.3 คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ : Attitude มีความสนใจใฝเ่ รียนรู้ และมีทศั นคติทด่ี ีตอ่ การศึกษาประวัติศาสตร์4. สมรรถนะสาคัญของนักเรยี น 4.1 ความสามารถในการสอ่ื สาร 4.2 ความสามารถในการคิด5. คณุ ลักษณะของวิชา - ความรับผิดชอบ - ความรอบคอบ - กระบวนการกลุ่ม6. คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ 1. ใฝเ่ รียนรู้ 2. มุ่งม่ันในการทางาน

7. ช้ินงาน/ภาระงาน : - ใบกจิ กรรมท่ี 1 เร่ือง เวลาและยคุ สมัยทางประวัติศาสตร์8. กิจกรรมการเรียนรู้ (ความสามารถในการวเิ คราะห์ / ใฝ่เรยี นรู้ / เทคนคิ การถามตอบ) 1. ทบทวนความรู้เดมิ เร่ืองศักราชและการคานวณ 2. ถาม-ตอบ พื้นฐานความรู้เดิมด้วยคาถามสาคัญ คือ ยุคสมัยคืออะไร รู้หรือไม่ทาไมเราจึงต้องมีการแบ่งยุค สมยั และนักประวัติศาสตร์ใชอ้ ะไรในการแบง่ ยคุ สมัยประวัติศาสตร์ 3. แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 6 – 10 คน ร่วมกันศึกษายุคสมัยทางประวัติศาสตร์จากวีดิทัศน์และ ภาพประกอบคาอธบิ ายในโปรแกรมเพาเวอร์พอ้ ยต์การแบง่ ยุคสมยั ทางประวัติศาสตร์ 4. นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ ต้ังคาถามจากการศึกษายุคสมัยทางประวัติศาสตร์ โดยเริ่มจากยุคก่อนประวัติศาสตร์ ได่ แก่ ยคุ หิน และยุคโลหะ และยุคประวัตศิ าสตร์ จากยุคโบราณ ยุคกลาง ยุคใหม่ และยุคปัจจุบัน กลุ่มละ 10 ข้อ แบ่งเป็นยุคก่อนประวัติศาสตร์ 5 ข้อ และยุคประวัติศาสตร์ 5 ข้อ สลับกันถามทีละกลุ่ม กลุ่มท่ีตอบ ไดม้ ากที่สดุ จะไดร้ ับคะแนนพเิ ศษ 1 ดาวเพ่มิ คะแนนจติ พิสัย 5. ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ตอบคาถามในใบกจิ กรรมท่ี 1 เรอื่ ง เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6. ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั สรปุ ความรทู้ ่ไี ดร้ บั และบันทึกลงในสมุดในรูปแบบแผนผงั ความคิด9. สอื่ การเรยี นการสอน / แหล่งเรียนรู้ สภาพการใช้ส่ือ รายการสื่อ ขนั้ ตรวจสอบความรูเ้ ดิม ขั้นสรา้ งความสนใจ1. การถามตอบดว้ ยชดุ คาถามสาคัญ ข้ันขยายความรู้2. วีดทิ ัศน์และภาพประกอบคาอธิบายการแบง่ ยุคสมัยทางประวตั ศิ าสตร์3. ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง เวลาและยุคสมยั ทางประวตั ศิ าสตร์10. การวดั ผลและประเมนิ ผลเป้าหมาย หลกั ฐานการเรยี นรู้ วิธวี ัด เคร่ืองมอื วัดฯ ประเดน็ /การเรียนรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน เกณฑก์ ารให้ คะแนนเข้าใจและสามารถ ใบกิจกรรมท่ี 1 เร่ือง การทางานเป็นกลุ่ม การ การสังเกตและ 5 คอื ดเี ยี่ยมสื บ ค้ น ข้ อ มู ล ท า ง เวลาและยุคสมัยทาง สืบค้นข้อมูลและการสรุป การตอบคาถาม 4 คือ ดีมากป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ไ ด้ ประวัตศิ าสตร์ ข้อมลู ในใบกจิ กรรม 3 คือ ดีอย่างถกู ต้อง ไม่ว่าจะ 2 คือ พอใช้ในชว่ งเวลา่ ใดกต็ าม 1 คือ ควรปรับปรงุ 0 คือ ไม่ผา่ น

11. จุดเน้นของโรงเรยี น การบรู ณาการปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงและกจิ กรรมสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี นปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ครู ผเู้ รียน6. ความพอประมาณ พอดดี ้านเทคโนโลยี พอดดี ้านจิตใจ7. ความมีเหตผุ ล8. มีภูมิคมุ้ กันในตัวทีด่ ี รู้ จั ก ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี ม า ผ ลิ ต สื่ อ ที่ มีจิตสานึกท่ีดี เอื้ออาทร รู้จักประนี9. เงอื่ นไขความรู้ เหมาะสมและสอดคล้องเนื้อหาเป็น ประนอม นึกถงึ ประโยชน์ส่วนรวม/กลมุ่10.เง่ือนไขคุณธรรม ประโยชน์ต่อผู้เรียนและพัฒนาจากภูมิ ปัญญาของผ้เู รียน - ยึดถือการประกอบอาชพี ด้วยความ ไม่หยุดนิ่งทจี่ ะคน้ หาความรเู้ พอื่ อนาคต ถูกต้อง สุจรติ แม้จะตกอย่ใู นภาวะขาด ของตนเอง แคลนในการดารงชีวิต ภูมปิ ญั ญา : มีความรู้ รอบคอบ และ ภมู ิปญั ญา : มีความรู้ รอบคอบ และ ระมัดระวัง ระมัดระวงั สร้างสรรค์ ภมู ธิ รรม : ซือ่ สตั ย์ สุจริต ขยันอดทน ภมู ธิ รรม : ซอ่ื สตั ย์ สจุ ริต ขยนั อดทน ตรงต่อเวลาและแบ่งปัน ตรงต่อเวลา เสียสละ ความรอบรู้ เรื่อง เวลาและยุคสมัย ความรอบรู้ เรื่อง เวลาและยุคสมัย ทางประวัติศาสตร์ ที่เก่ียวข้องรอบด้าน ทางประวัติศาสตร์ กรณีท่ีเกิดงาน ความรอบคอบท่ีจะนาความรู้เหล่าน้ันมา ปริมาณที่เก่ียวข้อง การคานวณสูตรท่ี พิจารณาให้เช่ือมโยงกัน เพื่อ ต้องใช้ สามารถนาความรู้เหล่าน้ันมา ประกอบการวางแผน การดาเนินการจัด พิจารณาให้เชื่อมโยงกัน สามารถ กิจกรรมการเรียนรู้ใหก้ ับผู้เรียน ประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจาวัน มีความตระหนกั ใน คุณธรรม มี มคี วามตระหนักใน คุณธรรม มี ความซ่อื สัตย์สจุ ริตและมีความอดทน มี ความซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มี ความเพยี ร ใช้สติปัญญาในการดาเนิน ความเพียร ใชส้ ตปิ ญั ญาในการดาเนนิ ชีวิต ชวี ติ กิจกรรม ครู ผเู้ รียนสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์เ ว ล า แ ล ะ ยุ ค ส มั ย ท า ง เวลาและยุคสมัยทางประวตั ิศาสตร์ - ระบุปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโต ของต้นไม้ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ กั บ ก า ร - เวลาในการทางานและการรู้จักแบ่ง - ทาปฏิทินต้นไม้ช่วยบันทึกผลการ สังเกตการเจรญิ เติบโตของต้นไม้เจรญิ เติบโตของต้นไม้ ช่วงงาน เพื่อใหเ้ กิดความเข้าใจและ ปฏิบตั ติ ามได้อย่างเปน็ ระบบ ลงช่ือ..................................................ผสู้ อน (นางสาวศิรมิ า เมฆปัจฉาพิชติ )

ใบความรู้ ประวัตศิ าสตรส์ ากล ส 31102ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 เรื่อง เวลาและยคุ สมัยทางประวตั ิศาสตร์ ครศู ริ มิ า เมฆปจั ฉาพิชติ ชือ่ -สกุล .............................................................................. ชน้ั ............... เลขท่ี ............ เวลากบั ประวตั ศิ าสตร์ ประวัติศาสตร์ คือ การศึกษาเร่ืองราวต่างๆ ในอดีตโดยมีความสัมพันธ์ก่อให้เกิดความง่ายต่อการทาความเข้าใจในเหตุการณ์ต่างๆ โดยมีระยะเวลาเป็นตัวกาหนดในการศึกษาเร่ืองราวการนับเวลาและการเปรียบเทียบศักราชในการศึกษาเร่อื งราวทางประวัตศิ าสตร์ มกั นยิ มใชก้ ารระบุชว่ งเวลาเพ่ือให้ทราบถึงเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดข้ึน โดยจะแบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือการนับเวลาแบบไทย และการนับเวลาแบบสากลการนับเวลาแบบไทยในประวัติศาสตร์ไทย จะมีการบันทึกเร่ืองราวต่างๆโดยมกี ารอ้างองิ ถึงการนบั ช่วงเวลาแตกต่างกนั ไป ตามแตล่ ะทอ้ งถิ่นมดี ังนี้การนับและเทียบศกั ราช 1. พุทธศักราช (พ.ศ.) เป็นการนับเวลาทางศกั ราชในกลุ่มผู้นับถือพระพุทธศาสนา โดยเร่ิมนับตั้งแต่พระพุทธเจ้าเสด็จดบั ขนั ธ์ปรินพิ พาน ใหน้ บั เป็นพุทธศักราชท่ี1 ทงั้ นี้ประเทศไทยจะนยิ มใช้การนบั เวลาแบบนี้ โดยเริ่มใช้ตั้งแต่คร้ังสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช จนมาเป็นที่แพร่หลายและระบุใช้กันอย่างเป็นทางการในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว(รชั กาลท่ี 6) ในปีพุทธศักราช 2455 2. มหาศักราช(ม.ศ.) การนบั ศักราชน้จี ะพบในหลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ในสมัยสุโขทัยและอยุธยาตอนต้นโดยคิดขึ้นจากกษตั รยิ ์ของอนิ เดีย (พระเจา้ กนิษกะ) ซงึ่ พ่อคา้ อินเดยี และพวกพราหมณ์นาเข้ามาเผยแพรใ่ นเวลาติดต่อการค้ากับไทยในสมัยโบราณ จะมีปรากฏในศิลาจาลกึ เพ่อื บนั ทกึ เรอื่ งราวเหตกุ ารณ์ตา่ งๆ ที่เกิดข้ึน ซึ่งถือว่าปีมหาศักราชท่ี 1 จะตรงกับปีพุทธศักราช6213 3. จุลศักราช (จ.ศ.) จัดตั้งขึ้นโดยสังฆราชมนุโสรหัน แห่งอาณาจักรพุกาม เม่ือปีพุทธศักราช 1181 โดยไทยรับเอาวิธีการนับเวลานี้มาใช้ในสมยั อยุธยาเพอ่ื การคานวณทาง โหราศาสตร์ ใชบ้ อกเวลาในจารกึ ตานาน พระราชพงศาวดาร จดหมายเหตุ ตา่ งๆ จนมาถึงสมัยพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว (รัชกาลท่ี5) จงึ เลกิ ใช้ 4. รัตนโกสินทร์ศก (ร.ศ) การนับเวลาแบบน้ีพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่5) ทรงต้ังข้ึนในปีพทุ ธศกั ราช 2432 โดยกาหนดใหก้ าหนดให้นบั ปีท่ีพระบาทสมเดจ็ พระพุทะยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์เมื่อปีพุทธศักราช 2325 เป็นรัตนโกสินทร์ศกที่1 และให้เริ่มใช้ศักราชนี้ในทางราชการตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน ร.ศ.108 (พ.ศ.2432) เปน็ ต้นมาการนบั เวลาแบบสากล 1. คริสต์ศกั ราช (ค.ศ.) เปน็ การนับเวลาทางศักราชของผู้นับถือศาสนาคริสต์ ซ่ึงถือเป็นการนับเวลาท่ีนิยมใช้กันมาทั่วโลก โดยคริสต์ศักราชท่ี 1 เริ่มนับต้ังแต่ปีที่พระเยซูคริสต์ประสูต(ตรงกับ พ.ศ.543)และถือระยะเวลาท่ีอยู่ก่อนคริสต์ศักราชลงไป จะเรยี กว่าสมยั กอ่ นครสิ ต์ศักราชหรือก่อนคริสตกาล 2. ฮิจเราะห์ศักราช (ฮ.ศ.) เป็นการนับเวลาทางศักราชของผู้นับถือศาสนาอิสลามโดยอาศัยปีที่ท่านนบีมูฮัมหมัดได้อพยพจากเมืองเมกกะไปยังเมืองเมดินะ เป็นปีเริ่มต้นของศักราชอิสลามซ่ึงตรงกับวันท่ี 6 กรกฎาคม ค.ศ. 622 อย่างไรก็ตามการนับศักราชแบบต่างๆ ในบางครั้งบางเหตุการณ์ก็ไม่ได้ระบุความชัดเจนไว้ แต่อาจกล่าวการนับเวลาอย่างกว้างๆไว้ ซ่ึงนิยมเรียกกนั ใน 3 รปู แบบ ดังนี้

ทศวรรษ (decade) คือ รอบ 10 ปี นับจากศักราชท่ีลงท้ายด้วย 1 ไปจนถึงศักราชที่ลงท้ายด้วย 0 เช่น ทศวรรษท่ี1990 ตามคริสตศ์ ักราช หมายถงึ ค.ศ. 1991 - 2000ศตวรรษ (century) คือ รอบ 100 ปี นับจากศักราชที่ลงท้าย 1 ไปจนครบ 100 ปีในศักราชท่ีลงท้ายด้วย 00 เช่นพทุ ธศตวรรษที่ 26 คอื พ.ศ. 2501 - 2600สหสั วรรษ (millennium) คือ รอบ 1000 ปี ศักราชที่ครบแต่ละสหัสวรรษจะลงท้ายด้วย 000 เช่น สหัสวรรษท่ี 2นบั ตามพุทธศกั ราช คอื พ.ศ. 1001 - 2000หลกั การเทยี บศกั ราชการนับศักราชที่แตกต่างกัน จะทาให้เกิดความสับสนและไม่ชัดเจนในการศึกษาเร่ืองราวประวัติศาสตร์ ดังนั้น การเปรยี บเทียบศกั ราชให้เป็นแบบเดียวกัน จะช่วยให้สามารถศึกษาเร่ืองราวทางประวัติศาสตร์ได้เข้าใจมากขึ้น รวมทั้งทาให้ทราบว่าในช่วงศักราช หรือช่วงเวลาเดียวกันในแต่ละภาคของโลก เกิดเหตุการณ์สาคัญๆ ทางประวัติศาสตร์ อะไรบ้าง ซึ่งการเปรยี บเทียบศักราชสามารถกระทาได้งา่ ยๆ โดยนาตัวเลขผลตา่ งของอายศุ กั ราชแตศ่ ักราชมาบวกหรือลบกับศักราชท่ีเราต้องการตามหลกั เกณฑ์ดังนี้ม.ศ. + 621 = พ.ศ พ.ศ. – 1181 = จ.ศ. พ.ศ. – 2325 = ร.ศ.จ.ศ. + 1181 = พ.ศ. พ.ศ. – 543 = ค.ศ. ร.ศ. + 2325 = พ.ศ.ค.ศ. – 621 = ฮ.ศ. ฮ.ศ. + 621 = ค.ศ. พ.ศ. – 621 = ม.ศ.ฮ.ศ. + 1164 = พ.ศ. ค.ศ. + 543 = พ.ศ.การแบง่ ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์๑. สมัยก่อนประวตั ิศาสตร์ อายุระหวา่ งราว ๕๐,๐๐๐-๑,๗๐๐ ปมี าแลว้ สมยั ก่อนประวัติศาสตร์ของไทยเป็นการศึกษาเรื่องราวของมนุษย์ ท่ีได้จากหลักฐานที่ถูกละท้ิงไว้บนดินในบริเวณท่ีเคยเป็นทอี่ ยูอ่ าศยั หรือในหลมุ ศพ อาจจะเป็นเครื่องมือเครือ่ งใช้ท่ที าจากหนิ ในรปู แบบตา่ งๆ ภาชนะที่ทาด้วยดินหรือโลหะ ตลอดจนเครื่องประดับทีต่ ดิ อยู่กับโครงกระดกู ซ่งึ เร่ืองราวของมนุษย์กลุ่มต่างๆเหล่าน้ีอยู่ในระยะเวลาท่ีไม่ปรากฏว่ามีการใช้หนังสือเป็นส่ือภาษาท่ีบันทึกไว้แต่อย่างใด แต่เราสามารถศึกษาอายุของหลักฐานโบราณวัตถุนั้นๆจากรูปร่างลักษณะ และจากวัสดุที่ใช้ทาข้ึน ทั้งโดยวิธีการหาอายุจากวิธีวิทยาศาสตร์ คือ วิธี คาร์บอน ๑๔ หรือเทอร์โมลูมิเนสเซนส์ และการศึกษาเปรียบเทียบกับรปู แบบของโบราณวัตถจุ ากแหล่งโบราณคดีของเพือ่ นบา้ น หรือดนิ แดนอารยธรรมร่วมสมัยใกล้เคียงที่สามารถศึกษากาหนดอายุได้ แหลง่ โบราณคดกี อ่ นประวตั ิศาสตร์ของไทยนี้แต่เดิมแบ่งออกเป็น ๔ สมัย ตามลักษณะและวัสดุที่นามาทาเคร่ืองมือเคร่ืองใช้คือ ๑. สมยั หนิ เก่า อายุประมาณ ๕๐,๐๐๐-๑๐,๐๐๐ ปีมาแล้ว ๒. สมัยหนิ กลาง อายุประมาณ ๑๐,๐๐๐-๗,๐๐๐ ปีมาแล้ว ๓. สมยั หนิ ใหม่ อายปุ ระมาณ ๗,๐๐๐-๔,๐๐๐ ปีมาแล้ว ๔. สมัยโลหะ อายุประมาณ ๕,๖๐๐-๑,๗๐๐ ปีมาแลว้ อย่างไรก็ดี สมัยก่อนประวัติศาสตร์นี้นักวิชาการโบราณคดีรุ่นใหม่ได้ใช้ศัพท์ในการกาหนดเรียกสมัยเหล่านี้ใหม่ โดยใช้ลักษณะความเจรญิ ของสังคมเปน็ การกาหนดอายุ คอื ๑. สังคมล่าสตั ว์ ๒. สงั คมเกษตรกรรม ๓. สังคมเมอื งเร่มิ แรก

เครอื่ งปน้ั ดินเผาสมยั ก่อนประวัตศิ าสตรข์ องไทย เคร่ืองปนั้ ดนิ เผาสมัยก่อนประวัติศาสตร์พบว่าเกิดขึ้นคร้ังแรกในสมัยหินกลางหรือสังคมล่าสัตว์ ทาขึ้นอย่างเรียบง่ายไม่พิถีพิถันนัก โดยใช้มือป้ันขึ้นรูปอย่างอิสระ จากนั้นได้พัฒนาให้มีความประณีตสวยงามขึ้นโดยใช้แป้นหมุนช่วยในการข้ึนรูปและตกแต่งผิวภาชนะด้วยการขัดผิวใหม้ นั ประดบั ลวดลายด้วยกรรมวิธีต่างๆ และเน้อื ดินป้ันทาไดบ้ างลง ดังที่พบในสมัยหินใหม่หรอื สงั คมเกษตรกรรม และยุคโลหะหรือสงั คมเมอื งเรมิ่ แรก จากการที่เครื่องปั้นดินเผามีความสัมพันธ์กับวิถีชีวิตของคนตั้งแต่เกิดจนตาย ท้ังในชีวิตประจาวันและในพิธีกรรมดังน้ันจึงพบเศษเครื่องปั้นดินเผากระจายอยู่ตามแหล่งโบราณคดีเป็นจานวนมาก ซ่ึงบางชิ้นมีการตกแต่งเขียนลวดลายสวยงามอันสะท้อนให้เห็นถึงคติความเชื่ออันเป็นเหตุให้เกิดพิธีกรรมของกลุ่มชนในยุคนั้นๆด้วย แหล่งที่พบเคร่ืองป้ันดินเผาสมัยก่อนประวตั ิศาสตรท์ ่ีนา่ สนใจมีดังนี้ ยคุ หนิ กลาง ใ น ยุ ค หิ น ก ล า ง เ ป็ น ส มั ย ก่ อ น ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ท่ี มี อ า ยุ ป ร ะ ม า ณ ๑ ๐ ,๐ ๐ ๐ ปี ถึ ง ๗ ,๐ ๐ ๐ ปีในยุคน้ีได้พบเครื่องป้ันดินเผาที่เก่าที่สุดท่ีถ้าผีอาเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีทั้งท่ีเป็นภาชนะผิวเรียบและที่มีผิวขัดมันรวมท้งั มกี ารตกแต่งผวิ ด้วยลายเชือกทาบ อันแสดงใหเ้ หน็ ความสัมพนั ธก์ ับวัฒนธรรมโฮบเิ หียน ยคุ หนิ ใหม่ ยุคหินใหม่ มีอายุประมาณ ๗,๐๐๐-๔,๐๐๐ ปีมาแล้ว ยุคน้ีได้พบเคร่ืองปั้นดินเผาตามแหล่งโบราณคดีในภาคตา่ งๆ เกอื บทกุ จงั หวดั ทีส่ าคัญอาทเิ ชน่ จังหวัดกาญจนบุรี ลพบุรี นครศรีธรรมราช กระบี่ และพังงา เป็นต้นก่อนคริสตร์กาล ในยุคน้ีได้เกิดการเปล่ียนแปลงทางวัฒนธรรมคร้ังย่ิงใหญ่ของมนุษย์ 4 ประการ คือ มีการคิดค้นการเพาะปลูกข้าวเป็นคร้ังแรก เร่ิมต้นการเลี้ยงสัตว์ รู้จักการทาเครื่องป้ันดินเผา และการประดิษฐ์อาวุธและเครื่องมือเคร่ืองใช้จากหิน โดยขัดให้เรยี บ สามารถใช้ประโยชน์ไดง้ ่ายและ มีประสทิ ธภิ าพ พื้นฐานทางเศรษฐกจิ และการดารงชีวิตของมนุษย์เปล่ียนแปลงไปจากการเป็นผ้เู สาะแสวงหาอาหาร (food-gatherer) มาเปน็ ผผู้ ลิตอาหาร (food-producer) โดยพบหลักฐานว่ามีการเพาะปลูกข้าวเป็นครั้งแรกที่เมืองจาร์โม (Jarmo) ทางภาคเหนือของเมโสโปเตเมีย เมื่อประมาณ 6,750 ปีก่อนคริสตกาล มนุษย์เร่ิมรู้จักการชลประทานอย่างง่ายๆ ทาอ่างเก็บน้า ทานบกั้นน้า และพยายามเรียนรู้ที่จะควบคุมธรรมชาติ และแสวงหาประโยชน์จากธรรมชาติ การผลิตเคร่ืองปั้นดินเผาชี้ให้เห็นว่า มนุษย์เริ่มสะสมอาหารไว้ให้เพียงพอต่อการบริโภค เม่ือมนุษย์ยุคหินใหม่เปลี่ยนชีวิตจากการเป็นนักล่าสัตว์มาเป็นกสิกร วิถีการดารงชีวิตก็เปลี่ยนจากการเร่ร่อนมาเป็นการต้ังหลักแหล่งอยู่กับท่ี มีการสรา้ งบ้านเรือนอยู่อย่างถาวรในบริเวณท่ีมีแหล่งน้าอุดมสมบูรณ์ จากครอบครัวหลายครอบครัวกลายเป็นหมู่บ้านเล็กๆ เกิดเป็นสังคมชนเผา่ (tribal societies) คนในสังคมจะมภี าษา ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมเดียวกัน และเพ่ือความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสังคม ทาให้เกิดกฎหมายและกฎข้อบังคับในหมู่บ้านขึ้น มีหัวหน้าปกครอง หมู่บ้านกสิกรเหล่าน้ีเองคือชุมชนแห่งแรกของโลก ซ่ึงเป็นสังคมโบราณที่เก่าแก่ท่ีสุดเท่าท่ีพบหลักฐานมา อยู่ท่ีเขตตะวันออกกลางแถบประเทศตุรกี ซีเรีย อิสราเอลอิรัก อิหร่าน และอียิปต์ ในปัจจุบันเม่ือชุมชนของมนุษย์มีขนาดใหญ่โตขึ้น ก็เกิดมีบ้านเมืองตามลุ่มแม่น้าใหญ่ๆ พร้อมกับสรา้ งสรรคอ์ ารยธรรมของตนขนึ้ มา สาหรับท่ีจังหวัดกาญจนบุรี พบที่หมู่บ้านเก่าตาบลจระเข้เผือก อาเภอเมือง และที่ถ้าเขาสามเหล่ียม ตาบลช่องสะเดาอาเภอเมือง ที่จังหวัดลพบุรี พบที่บ้านโคกเจริญ ตาบลบัวชุม และท่ีเนินคลองบารุง ตาบลหนองยายโต๊ะอาเภอชัยบาดาลสว่ นทีจ่ ังหวดั นครศรธี รรมราชพบท่นี พพติ า อาเภอทา่ ศาลา และจงั หวดั กระบี่ พบท่อี าเภออา่ วลึก เคร่ืองปั้นดินเผายุคหินใหม่นี้มีหลายรูปแบบล้วนมีความประณีต สวยงามด้วยเทคนิคท่ีขึ้นรูปด้วยแป้นหมุนแมว้ า่ บางแหลง่ ยังคงขึน้ รูปอสิ ระด้วยมอื สืบตอ่ มากต็ าม รปู แบบของภาชนะมีทงั้ หมอ้ ก้นกลม หม้อสามขา และพาน ซ่ึงล้วนมีเนื้อดนิ ปั้นบางลง เน้ือดินละเอียดขึน้ และมีสตี า่ งๆ ท้งั สดี า สแี ดง สีเทา และสีน้าตาล ทั้งน้ีขึ้นอยู่กับลักษณะส่วนผสมของดินและการเผาภาชนะเหลา่ น้มี ที ้ังแบบเรียบและทีม่ กี ารตกแตง่ ดว้ ยลายเชือกทาบและลายขูดขดี

ยุคโลหะ ยุคโลหะมีอายุระหว่าง ๕,๖๐๐-๑,๗๐๐ ปีมาแล้ว เร่ิมจากมนุษย์รู้จักใช้ทองแดงและสาริดมาประกอบเป็นเครื่องมือเครื่องใช้ และเคร่ืองประดับ มนษุ ย์สมัยนี้พัฒนากิจกรรมการเพาะปลูกและการเลี้ยงสัตว์ให้มีประสิทธิภาพมากข้ึน ในยุคนี้มีการเปลย่ี นแปลงในด้านความเป็นอยขู่ องสงั คมและการเมืองอยา่ งมาก ได้เปลี่ยนสภาพความเป็นอยู่จากชุมชนกสิกรรมขนาดใหญ่มาเป็นเมอื งอย่างแท้จริง คือ เมืองเป็นศูนย์กลางของการกสิกรรม การปกครองและสังคมในเวลาเดียว ผู้ที่อยู่ในเมืองมิได้มีแต่พวกกสกิ รเทา่ นนั้ แตย่ งั มชี า่ งฝีมือ นักรบ และพระผทู้ าหน้าท่ปี กครองบรหิ ารเมือง ในยุคสาริด สังคมขยายตัวมากขึ้น จึงจาเป็นต้องมีคนท่ีทาหน้าที่ต่างๆ กันหลายด้าน เช่น พระทาหน้าท่ีเซ่นสรวงบูชาติดต่อกับเทพเจ้าให้ประทานความอุดมสมบูรณ์ให้แก่ชุมชน กษัตริย์ทาหน้าท่ีปกครองบ้านเมือง เป็นต้นโครงสร้างความสัมพันธ์แบบเครือญาติท่ีเคยเป็นมาแต่เดิมจะเปลี่ยนไปเป็นโครงสร้างที่อาศัยอาชี พและตาแหน่งหน้าท่ีเป็นเกณฑ์ในการกาหนดกลุ่มคนและความสัมพันธ์ทางสังคม ซึ่งมักแบ่งออกได้ดังน้ี คือ ชนช้ันสูง ได้แก่ พระ ขุนนางกษัตริย์ นักรบ ชนช้ันกลาง ได้แก่ พ่อค้า ช่างฝีมือ ชาวนา และชนช้ันต่า ได้แก่ ทาส การแบ่งงานและหน้าที่มีผลต่อการเพิ่มผลผลิต คือ แต่ละคนทางานตามความถนัด ซ่ึงจะได้งานมากขึ้นจนกลายเป็นส่วนเกินไว้แลกเปล่ียนเกิดมีการค้าขายแลกเปล่ียนสินค้ากัน มนุษย์สมัยน้ีเริ่มรู้จักใช้ภาพส่ือความเข้าใจกัน เป็นต้นกาเนิดของการประดิษฐ์ตัวอักษรซึ่งทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงยุคสมัยไปสู่ยุคประวัติศาสตร์ มีการรวมกลุ่มเป็นชุมชนเมืองซ่ึงจะพัฒนาไปสู่นครรัฐมีการคิดค้นและใช้เทคโนโลยีง่ายๆ เช่น การใช้ลูกล้อในการขนส่งทางบกและในพลังงานจักรกล การใช้คันไถไม้ และเริ่มการเดินเรอื เคร่ืองป้ันดินเผาในยุคน้ีมีความสวยงามมาก บางแหล่งแสดงให้เห็นว่ามีการทาอย่างพิถีพิถันอย่างย่ิงและทาควบคู่ไปกับการผลิตเครื่องใช้โลหะท่ีมีทั้งสาริด ทองแดง และเหล็ก แสดงถึงความเจริญในเรื่องเทคโนโลยีที่พัฒนาขน้ึ อย่างมาก เป็นที่น่าสังเกตว่า ในขณะท่ีการหล่อโลหะทาได้ดี แต่เคร่ืองปั้นดินเผากลับไม่ค่อยได้รับความสนใจเท่าท่ีควรมี ก า ร ต ก แ ต่ ง แ บ บ เ รี ย บ ง่ า ย เ ช่ น ท า น้ า ดิ น สี แ ด ง ท่ั ว ไ ป ไ ม่ เ ขี ย น ล ว ด ล า ย ห รื อ ท า ข น า ด เ ล็ ก ๆการตกแต่งเครื่องปั้นดินเผาท่ีสาคัญมีพบท่ีโนนนกทา อาเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่นที่บ้านเชียง อาเภอหนองหานจังหวัดอุดรธานีบ้านปราสาท ตาบลธารปราสาท อาเภอโนนสูงจังหวัดนครราชสีมา และบ้านดอนตาเพชรอาเภอพนมทวนจังหวัดกาญจนบุรี เคร่ืองปั้นดินเผาดังกล่าวจะมีลักษณะพิเศษที่เป็นเอกลักษณ์ของท้องถ่ิน อาทิท่ีบ้านเชียง จะมีการพัฒนาลวดลายตกแต่งภาชนะต่างๆ ด้วย ซึ่งในระยะแรกภาชนะเป็นสีดา เขียนลาดลายด้วยวิธีขูดขีดลงไปในเน้ือดินปั้นในระยะต่อมามีการใช้ดินสีแดงเขียนเป็นลายต่างๆ โดยเฉพาะลายก้านขดและในระยะหลังก็มีการตกแต่งน้อยลงเพียงแต่ทาด้วยน้าดินสีแดงเรียบๆ เท่าน้ัน สาหรับเครื่องปั้นดินเผาที่บ้านปราสาท มีรูปแบบที่โดดเด่น คือหม้อมีเชิงการแบง่ ยุคสมัยทางประวัตศิ าสตร์สากล ประวัติศาสตร์สากลในที่นี้จากัดขอบเขตเฉพาะประวัติศาสตร์ ยุโรป แอฟริกาโดยกล่าวถึงเกณฑ์การแบ่งยุคและเหตุการณ์สาคญั ดังน้ีการแบง่ ยุคสมยั ทางประวัติศาสตรย์ โุ รป ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ยุคก่อนประวัติศาสตร์เป็นยุคท่ีมนุษย์เริ่มรู้จักดัดแปลงวัสดุตามธรรมชาติมาเป็นเคร่ืองมือเคร่ืองใช้ในการยังชีพ ที่สาคัญได้แก่ การนาก้อนหินมากะเทาะ ให้มีคม ดัดแปลงเป็นเคร่ืองมือสับ ตัด ขูด เพ่ือยังชีพ โดยอาศัยตามถา้ เก็บพชื ผกั ตามธรรมชาติ ลา่ สตั วเ์ ป็นอาหาร อยไู่ ม่เปน็ หลักแหลง่ ยุคหนิ แบ่งเป็นยุคหินเก่า และยุคหนิ ใหม่ พบในบริเวณตา่ ง ๆ ทว่ั โลกแตล่ ะแห่งมวี วิ ัฒนาการคลา้ ยกัน (แต่อยู่ในช่วงเวลาไม่เทา่ กัน)

1. ยคุ หินเกา่ ( Paleolithic หรือ The Old Stone Age ) พัฒนาการในยคุ หินเก่า สรุปได้ดงั น้ีระยะเวลาโดยประมาณ ชอื่ เรยี กมนษุ ย์กอ่ นประวัติศาสตร์ เร่ืองที่คน้ พบ และเครอื่ งมือหนิ2 ลา้ นปี Australopitheecus เรยี กกนั ว่า มนุษย์วานร1.75 ลา้ นปี Homo habilis1.5 ลา้ นปี Homo erectusหินเก่าตอนตน้ เครื่องมือแบบเชลลนี พบมาก เคร่อื งมอื หนิ กะเทาะหรือขวานกาป้ัน ใช้สับ ตัด ขูด ตอนกลางของยโุ รปและเครื่องมือ มนษุ ยไ์ ฮเดนเบริ ์กมนุษย์ชวา มนุษยป์ ักก่งิ ในเอเซยี แบบอาชลีนหินเกา่ ตอนกลาง เครือ่ งมือแบบมสู ์เตเรยี น ปลาย มนุษยน์ ีแอนเดอธัล (Neanderthal Man) กะโหลกประมาณ 150,000 ปี ระหว่าง แหลม ศรี ษะแบน หนา้ ผากลาด เรม่ิ รู้จักศลิ ปะวาดภาพหิมะละลาย สตั ว์บนผนงั ถา้ เริ่มมีพธิ ีฝงั ศพหนิ เก่าตอนปลาย มนษุ ยโ์ ครมันยอง (Cro-magnonan) พบที่ฝรง่ั เศสประมาณ 40,000 ปี ระยะที่ 4 เครอ่ื งมือแบบแมกดาเลเนยี น เคร่อื งมือทาจากกระดูก เขาสัตว์ เคร่ืองประดบัของยุคนา้ แข็งสดุ ท้าย หลายรปู แบบ ภาพเขยี นในถา้ ท่ีเสปนและฝร่งั เศสตัวอย่างหลักฐานยุคหินเกา่ ซ่งึ แบ่งเป็น 3 ตอน คือ ตอนตน้ ตอนกลางและตอนปลายยคุ หนิ เก่าตอนตน้ เคร่ืองมือหินกะเทาะ ได้แก่ ขวานมือหรือ ขวานกาปั้น พบมากในยุโรปตอนกลาง อายุใกล้เคียงกับมนุษย์ชวา และมนุษย์ปักก่ิง ท่ีพบในเอเซีย มนุษย์บางกลุ่ม เช่น มนุษย์ไฮเดนเบิร์ก สามารถพัฒนาเครื่องมือให้มีประสิทธิภาพมากขึน้ เชน่ เครอ่ื งมอื หนิ กะเทาะแบบอาชลีน (Acheulean) เป็นตน้ยคุ หนิ เก่าตอนกลาง รูปรา่ งของเครื่องมอื หินกะเทาะแบบน้ีมปี ลายคอ่ นขา้ งแหลม มนุษย์กลุ่มท่ีทาเครื่องแบบน้ี ได้แก่นแี อนเดอธลั (Neanderthal) ในเยอรมนั นี เคร่อื งมือหินกะเทาะที่ทาขึ้นเรยี กกันวา่ แบบมูสเ์ ตเรียน (Mousterian)ยุคหินเก่าตอนปลาย เป็นผลงานของมนุษย์โครมันยอง เรียกกันว่าแบบแมกดาเลเนียน (Magdalenian ) ซึ่งนอกจากทาดว้ ยหนิ ไฟแลว้ ยังนากระดกู สัตวเ์ ขาสตั ว์ เปลือกหอยและงาช้าง มาใช้ ประโยชน์ เคร่ืองมือสมัยน้ีมีความประณีตมาก รู้จักใช้มีดมีด้าม ทาเข็มจากกระดูกสัตว์ มีการฝนและขัดเครื่องมือให้เรียบและคม ใช้ประโยชน์ได้หลายด้านมากข้ึน เคร่ืองมือหินของพวกโครมันยองแบบแมกดาเลเนียนจัดเป็นแบบสุดท้ายของยุคหินเก่าตอนปลาย มีพัฒนาการมากขึ้นรู้จักประดิษฐ์เข็มทาจากกระดูกสตั ว์ แสดงวา่ เรมิ่ รจู้ ักการเยบ็ เครอ่ื งนงุ่ หม่ จากหนังสตั ว์ และทาเครือ่ งมอื เครือ่ งใช้หลากหลายมากข้ึน เช่นฉมวกจับปลาเป็นตน้ ที่สาคัญคือ เร่ิมรู้จักทาเครื่องประดับและวาดภาพในผนังถ้า ศิลปะแบบแมกดาเลเนียนท่ีมีชื่อเสียงท่ีสุด ได้แก่ ภาพวาดบนผนังถ้าในประเทศฝรัง่ เศสและสเปน

ใบกจิ กรรมที่ 1 ประวัติศาสตรส์ ากล ส 31102ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 เรอื่ ง เวลาและยคุ สมัยทางประวตั ศิ าสตร์ ครูศริ ิมา เมฆปัจฉาพิชิต ชอื่ -สกุล .............................................................................. ชัน้ ............... เลขท่ี ............คาชี้แจง ใหน้ กั เรยี นศกึ ษาคน้ คว้าเรื่องเวลาและยุคสมัยทางประวัตศิ าสตรพ์ ร้อมอธิบายหัวขอ้ ตา่ งๆในแบบกจิ กรรมนี้การแบง่ ชว่ งเวลาตามแบบสากล1. สมัยก่อนประวัตศิ าสตร์ ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ....แสดงการแบ่งยุคสมยั ก่อนประวตั ิศาสตรใ์ นระบบสากล1. ยคุ หนิ เก่า ............................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................. .................................................................2. ยคุ หนิ กลาง ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ............................................................................3. ยุคหนิ ใหม่ ............................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. ............................................................................4. ยุคสาริด (ทองแดงผสมดบี ุก) ............................................................................................................................. .................................................................................................................................. ...............................................................................................5. ยุคเหลก็ ............................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................................... ............................................................................2. สมัยประวตั ิศาสตร์ ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................1) ประวัตศิ าสตรส์ มยั โบราณ ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ....................................2) ประวัติศาสตรส์ มัยกลาง .............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................3) ประวตั ิศาสตรส์ มยั ใหม่ ............................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................................ ..............................4) ประวัตศิ าสตรร์ ่วมสมัย ........................................................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................การแบ่งยคุ สมยั ดังกลา่ ว นิยมใชก้ นั อย่างแพร่หลาย ทาให้เข้าใจชว่ งเวลาตา่ งๆ ไดง้ ่าย เพราะไม่ได้มกี ารกล่าวถงึ ศักราชแตใ่ นประวัตศิ าสตรไ์ ทยไม่ค่อยนิยมใช้ มกั จะใช้อาณาจักรหรือราชธานีเป็นตวั กาหนดแทน

การแบง่ ช่วงเวลาตามแบบไทยการแบ่งช่วงเวลาทางประวตั ศิ าสตร์ไทย จะมีความสอดคล้องและความแตกต่างจากแบบสากล กลา่ วคือในส่วนท่ีสอดคล้อง คอื ในสมยั ก่อนประวตั ิสาสตรจ์ ะมกี ารแบ่งยุคหนิ และยคุ โลหะ แต่ในความแตกต่าง เม่ือมาถงึสมยั ประวัติศาสตรจ์ ะจดั แบ่งตามความเหมาะสมกบั สภาพสังคมไทย ดงั รปู แบบต่อไปน้ี1. สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ............................................................................................................................. ................................................................................................................. ........................................................................................................................ซ่งึ สามารถแบ่งการดารงชีวิตของมนษุ ย์สมยั กอ่ นประวตั ศาสตร์ในประเทศไทยออกเป็นดังน้ี 1). ยุคหนิ เปน็ ยคุ สมยั เริ่มแรกท่มี นุษยอ์ ยู่ร่วมกันเป็นกลุ่มขนาดเลก็ ไม่มอี ยู่อาศยั แน่นอน เคล่ือนย้ายไปเร่ือยๆ อาศยัเครอ่ื งมอื หินกะเทาะเพื่อการลา่ สัตว์ และปอ้ งกนั ตวั ซ่งึ ในยุคหนิ นจ้ี ะสามารถแบ่งเปน็ 3 ยุค ดังน้ี ยคุ หินเกา่ ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................ ยคุ หินกลาง ............................................................................................................................. ....................................................................................................................................................................... ............................................................................ ยุคหนิ ใหม่ ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ............ 2.) ยุคโลหะ เปน็ ยุคทมี่ นุษย์รู้จกั ใช้แร่ธาตุมาประดิษฐ์เปน็ อุปกรณ์เครื่องใช้ตา่ งๆ ซ่งึ สามารถแบ่งเปน็ 2 ยคุ ย่อย ไดแ้ ก่ ยุคสาริด .................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................................................... ............. ยุคโลหะ ............................................................................................................. ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................................................................................................2. สมยั ประวัติศาสตร์ไทย ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................................................... ...........กล่าวโดยสรุป การแบ่งชว่ งเวลาทางประวตั ศิ าสตรไ์ ทย สามารถจัดแบง่ อยา่ งกวา้ งๆ ได้เป็น 2 ชว่ ง ดงั น้ี 1) สมัยก่อนประวัติศาสตร์ไทย ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 2) สมัยประวัติศาสตร์ไทย ............................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ....

ใบกจิ กรรมท่ี 1 ประวตั ศิ าสตร์สากล ส 31102ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 4 เรือ่ ง เวลาและยุคสมัยทางประวตั ิศาสตร์ ครูศริ ิมา เมฆปจั ฉาพิชติ ชอื่ -สกุล .............................................................................. ชั้น ............... เลขที่ ............คาชแ้ี จง ใหน้ ักเรียนศกึ ษาคน้ คว้าเรื่องเวลาและยคุ สมยั ทางประวัติศาสตรพ์ ร้อมอธบิ ายหัวขอ้ ต่างๆในแบบกจิ กรรมน้ีการแบง่ ชว่ งเวลาตามแบบสากล1. สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เป็นสมัยท่ีมนุษย์ยังไม่มีการประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นใช้บันทึกเร่ืองราวต่างๆ จึงต้องอาศัยการวิเคราะห์ตีความจากหลักฐานท่ีมีการค้นพบ เช่น เคร่ืองมือเครื่องใช้ โครงกระดูก งานศิลปะต่างๆ โดยรวมจะเห็นว่าในช่วงสมยั กอ่ นประวตั ศิ าสตรน์ ี้ เคร่อื งมือเครื่องใชต้ า่ งๆ มกั ทาดว้ ยหนิ และโลหะ จึงเรยี กว่า ยคุ หิน และยคุ โลหะแสดงการแบ่งยุคสมัยก่อนประวตั ศิ าสตรใ์ นระบบสากล1. ยคุ หนิ เก่า 1,700,000-10,000 ปี กอ่ นปจั จบุ นั มกี ารลา่ สตั วเ์ ป็นอาหาร อาศัยอย่ใู นถ้าใชเ้ ครื่องมือหนิ แบบหยาบๆ รจู้ ักเขยี นภาพตามผนังถา้2. ยคุ หนิ กลาง 10,000-5,000 ปี กอ่ นปัจจุบนั มกี ารดารงชวี ติ เหมอื นยุคหนิ เกา่ รจู้ ักทาเคร่ืองมือหนิ ให้มีความประณตี ยิ่งขนึ้ร้จู กั ทาเคร่ืองปัน้ ดนิ เผาใหม้ ีผิวเรยี บ3. ยคุ หินใหม่ 5,000-2,000ปี ก่อนปจั จบุ ัน เรมิ่ รจู้ กั การเพาะปลูก เล้ยี งสัตว์ ตั้งหลักแหลง่ ทถ่ี าวร รจู้ กั ทาเครื่องมอื หนิ ขดัเครอื่ งป้นั ดินเผาและเครอื่ งประดบั4. ยคุ สารดิ (ทองแดงผสมดบี ุก) 3,500-2,500ปี กอ่ นปัจจบุ ัน อาศยั อยเู่ ปน็ ชมุ ชน ดารงชวี ิตด้วยการเพาะปลกู เช่น ปลูกขา้ ว เล้ยี งสตั ว์ เปน็ ตน้ ร้จู ักทาเครอ่ื งมือเครอื่ งใช้ เครื่องประดบั ด้วยสาริด5. ยคุ เหลก็ 2,500-1,500ปี ก่อนปจั จบุ นั มกี ารตดิ ต่อค้าขายกับดินแดนอน่ื เคร่อื งมือเครื่องใช้ทาด้วยเหล็ก2. สมัยประวัติศาสตร์ เริ่มต้นเมื่อมนุษย์เริ่มรู้จักคิดประดิษฐ์ตัวอักษรข้ึน เพื่อใช้บันทึกเรื่องราวต่างๆ ท่ีเกี่ยวกับความเช่ือและพิธีกรรม จึงทาให้รับรู้เรื่องราวทางประวัติสาสตร์ให้มากข้ึน การบันทึกในระยะแรกจะปรากฎอยู่ในกระดูก ไม้ไผ่ แผ่นหิน ใบลาน เป็นตน้ สมยั ประวตั ิศาสตรน์ ยิ มแบ่งเปน็ ช่วงเวลาต่างๆ ดังนี้1) ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ แต่ละประเทศจะเริ่มไม่พร้อมกัน ในสมัยประวัติศาสตร์สากลเร่ิมตั้งแต่อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมลมุ่ แม่นา้ ไนล์ อารยธรรมกรกี -โรมนั และสน้ิ สุดใน ค.ศ.476 เมอื่ กรงุ โรมแตก2) ประวตั ิศาสตร์สมยั กลาง เรม่ิ ภายหลังทีก่ รงุ โรมแตกในค.ศ. 476 จนกระทั่งค.ศ. 1453 เมื่อพวกท่ีนับถอื ศาสนาอิสลามตีกรุงคอนสเตนติโนเปิลของโรมันตะวันออกแตกจนกระทงั่ สิน้ สุดสงครามโลกครั้งท่ี 23) ประวัตศิ าสตรส์ มัยใหม่ เริม่ หลงั จากท่ีกรุงคอนสเตนติโนเปิลแตกจนกระทงั่ ส้ินสดุ สงครามโลกคร้ังที่ 24) ประวตั ิศาสตร์ร่วมสมยั เร่ิมภายหลงั ส้ินสดุ สงครามโลกครงั้ ที่ 2 จนถงึ ปัจจบุ ันการแบ่งยุคสมัยดังกล่าว นยิ มใช้กนั อย่างแพร่หลาย ทาให้เข้าใจช่วงเวลาต่างๆ ได้ง่าย เพราะไม่ได้มีการกล่าวถึงศักราชแตใ่ นประวตั ศิ าสตรไ์ ทยไม่คอ่ ยนยิ มใช้ มกั จะใช้อาณาจักรหรือราชธานเี ปน็ ตัวกาหนดแทนการแบง่ ช่วงเวลาตามแบบไทยการแบ่งช่วงเวลาทางประวัติศาสตรไ์ ทย จะมีความสอดคล้องและความแตกตา่ งจากแบบสากล กลา่ วคือในสว่ นที่สอดคล้อง คอื ในสมัยก่อนประวตั ิสาสตรจ์ ะมีการแบ่งยคุ หินและยคุ โลหะ แตใ่ นความแตกต่าง เม่อื มาถงึสมยั ประวัตศิ าสตร์จะจัดแบง่ ตามความเหมาะสมกบั สภาพสงั คมไทย ดังรูปแบบต่อไปน้ี

1. สมัยกอ่ นประวัตศิ าสตร์ เป็นช่วงทย่ี งั ไม่มีการใชต้ ัวอักษรในการบนั ทึกเรือ่ งราวตา่ งๆ จะอาศัยหลกั ฐานท่ีมกี ารขุดค้นพบเพื่อการวิเคราะห์ตีความ เชน่ โครงกระดูก เครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ ซง่ึ สามารถแบ่งการดารงชีวิตของมนุษยส์ มัยก่อนประวัตศาสตร์ในประเทศไทยออกเปน็ ดังน้ี 1). ยุคหิน เป็นยุคสมยั เร่ิมแรกทมี่ นุษยอ์ ยูร่ ว่ มกนั เปน็ กลุ่มขนาดเล็ก ไม่มีอยู่อาศยั แน่นอน เคลอื่ นยา้ ยไปเรื่อยๆ อาศัยเครอ่ื งมอื หินกะเทาะเพื่อการลา่ สตั ว์ และปอ้ งกันตัว ซึ่งในยคุ หินนจี้ ะสามารถแบง่ เป็น 3 ยุค ดังนี้ ยคุ หินเกา่ จะเป็นพวกแร่ร่อน อาศัยตามถ้า ใชเ้ ครื่องมือหนิ กรวดกะเทาะดา้ นเดยี วทไี่ มม่ ีความประณตี เช่น ขวานหนิกาปั้น หลักฐานที่พบในประเทศไทย ไดแ้ ก่ บริเวณบา้ นแม่ทะ และบ้านดอลมลู จ. ลาปาง รวมถงึ ที่บา้ นเก่า ต. จระเขเ้ ผือก อ.เมอื ง จ.กาญจนบุรี ยุคหินกลาง จะเริ่มมีพฒั นาการท่ดี ีขึน้ โดยเครื่องมือหินจะมีความประณตี ยงั อาศยั อยใู่ นถ้า และนาเอาวสั ดธุ รรมชาตมิ าดดั แปลงเปน็ ยอปุ กรณ์ในการดารงชวี ิต ซง่ึ พบได้จากเคร่ืองประดับเครื่องป้ันดินเผา หลกั ฐานท่พี บในประเทศไทย ได้แก่ บรเิ วณถ้าผี จ.แม่ฮอ่ งสอน ยุคหินใหม่ มนุษย์ในยุคนี้จะเร่ิมรู้จักการเพาะปลูก เล้ียงสัตว์ และต้ังหลักแหล่งที่อยูอาศัย มีการสร้างเคร่ืองมือ ที่เรียกว่า ขวานหิานขัด หรือขวานฟ้า รวมทั้งการสร้างภาชนะเคร่ืองปั้นดินเผา และการนากระดูกสัตว์มาประยุกต์ดัดแปลงเป็นเคร่ืองใช้ไม้สอยต่างๆ หลักฐานที่พบในประเทศไทย ได้แก่ บริเวณบ้านโนนกทา ต.บ้านนาดี อ.ภูเวียง จ.ขอนแก่น และที่ถ้าผาแตม้ อ.โขงเจยี น จ. อุบลราชธานี 2.) ยุคโลหะ เปน็ ยุคทมี่ นษุ ย์รู้จักใชแ้ ร่ธาตมุ าประดษิ ฐ์เป็นอุปกรณเ์ ครื่องใชต้ ่างๆ ซ่ึงสามารถแบ่งเปน็ 2 ยคุ ย่อย ไดแ้ ก่- ยุคสาริด โดยมนุษย์ในยุคน้ีมีพัฒนาการความคิดในการประดิษฐ์เคร่ืองมือต่างๆ โดยเอาสาริด คือ แร่ทองแดงผสมกับดีบุก มาหลอ่ หลอมเปน็ อปุ กรณ์ตา่ งๆ ใชใ้ นการดารงชวี ติ รวมถึงมีการสรา้ งสรรค์ผลงานเครือ่ งปนั้ ดนิ เผาที่มีลวดลายสวยงามเป็นเอกลกั ษณเ์ ดน่ หลกั ฐานท่พี บในประเทศไทย ได้แก่ บา้ นเชยี ง อ.หนองหาน จ.อุดรธานี ยุคโลหะ มนุษย์ในยุคน้ีจะเป็นชุมชนเกษรที่มีการขยายตัวใหญ่ขึ้น มีการติดต่อกับชุมชนอื่นๆ เกิดการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม สาหรับเครอื่ งมือเคร่อื งใชต้ ่างๆ จะนาเอาแร่เหล็กมาหลอมสร้างเป็นอุปกรณ์ เนื่องจากจะมีความทนแข็งแรงมากกว่ารวมถึงรู้จักการสร้างพิธีกรรมโดยอาศัยภาชนะดินเผาต่างๆ ตกแต่งให้เกิดความสวยงาม หลักฐานท่ีพบในประเทศไทย ได้แก่บ้านดอลตาเพรช อ.พนมทวน จ.กาญจบุรี รวมถงึ หมู่บา้ นใหม่ชัยมงคล จ. นครสวรรค์2. สมยั ประวัติศาสตร์ไทย การเขา้ สู่ช่วงเวลาสมัยประวัติศาสตร์ไทย นักวิชาการได้กาหนดจากหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรท่ีเก่าแก่ท่ีสุดท่ีพบในเมืองไทย คือ ศิลาจารึกของพ่อขุนรามคาแหงมหาราช พ.ศ. 1826 สาหรับการแบ่งยุคสมัยของไทย นิยมแบ่งตามราชอาณาจักรหรือราชธานี คือ สมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา สมัยธนบุรี และรัตนโกสินทร์ หรือแบ่งตามลักษณะทางการเมืองการปกครองเป็นสมัยสมบูรณาญาสิทธิราช สมัยประชาธิปไตยเป็นต้น กล่าวโดยสรุป การแบ่งช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์ไทย สามารถจดั แบง่ อย่างกว้างๆ ไดเ้ ปน็ 2 ชว่ ง ดงั น้ี 1) สมัยก่อนประวัติศาสตร์ไทย เป็นสมัยท่ีมนุษย์ยังไม่มีการคิดตังอักษรขึ้นใช้สาหรับบันทึกเร่ืองราวต่างๆ การศึกษาทางประวัตศิ าสตร์ จึงต้องอาศยั การวิเคราะหแ์ ละตีความจากหลักฐาน ชนั้ ตน้ ท่ีได้จากการค้นพบตามท้องท่ีต่างๆในประเทศไทย เช่นเครื่องมือ เครื่องใช้ที่ทาด้วยหิน โลหะสาริด เหล็ก เคร่ืองประดับ ภาชนะดินเผา โครงกระดูก ภาพเขียนสีตามผนังถ้า เป็นต้นโดยแบง่ เปน็ ยุคสมยั ต่างๆ ตามพัฒนาการทางด้านเทคโนโลยเี ครื่องมอื เคร่ืองใช้ 2) สมยั ประวัติศาสตรไ์ ทย เป็นช่วงเวลาทีม่ นษุ ยไ์ ดม้ กี ารประดิษฐ์คิดค้นตัวอักษรขึ้นใช้แล้ว นักวิชาการจึงอาศัยหลักฐานที่เป็นลายลกั ษณ์อกั ษรเช่น จารกึ จดหมายเหตบุ นั ทกึ การเดินทาง พงศาวดาร เป็นต้น และหลักฐานท่ีไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ท้ังที่เป็นโบราณสถาน เช่น เจดีย์ปราสาทหิน วัด เป็นต้น และโบราณวัตถุ เช่น พระพุทธรูป เงินเหรียญ เคร่ืองมือเคร่ืองใช้รวมทั้ งงานศิลปะตา่ งๆ เปน็ ต้น มาเป็นข้อมลู ในการวเิ คราะหต์ ีความ เพื่อใหท้ ราบประวตั ิความเปน็ มาในอดตี ให้ชดั เจนมากยง่ิ ขน้ึ

แบบฝกึ หัดที่ 1 ประวตั ศิ าสตร์สากล ส 31102ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 4 เรอ่ื ง ศกั ราชและการคานวณ ครศู ริ ิมา เมฆปัจฉาพิชติ ชื่อ-สกุล .............................................................................. ชัน้ ............... เลขท่ี ............คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนอา่ นเหตุการณ์ในตารางแล้วคานวณศกั ราชให้ถูกต้องขอ้ เหตุการณ์ พ.ศ. ม.ศ. จ.ศ. ร.ศ. ค.ศ. ฮ.ศ.1 นักเรียนเตรียมอุดม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รวมท้ังนิสิต นักศึกษาและนกั เรียนเตรียมปริญญา มหาวทิ ยาลยั วชิ าธรรมศาสตร์ และการเมือง ร่วม เดินขบวนเพ่ือสนับสนุนรัฐบาลในการเรียกร้อง 1862 ดินแดนอินโดจีนที่สูญเสียไปในสมัยรัชกาลที่ 5 คืนจากฝรั่งเศส นับเปน็ การเดนิ ขบวนครงั้ แรกในประวตั ิศาสตร์ไทย 8 ตุลาคม พ.ศ. 24832 สาธารณรัฐหมู่เกาะฟิจิได้รับเอกราช จาก สหราชอาณาจักร เมื่อ 1332 วนั ท่ี 10 ตุลาคม พ.ศ.25133 พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวทรงสาธิตให้ผู้แทนรัฐบาลสิงคโปร์ชม 191 การทดลองฝนหลวง 19 ตุลาคม พ.ศ.25154 ประเทศลาวไดร้ ับเอกราชคืนจากประเทศฝรง่ั เศส 22 ตุลาคม พ.ศ. 1953 24965 มีการประชุมทั่วไปของสหประชาชาติเป็นครั้งแรก 23 1308 ตลุ าคม พ.ศ.24896 เบนจามิน แฟรงคลิน ค้นพบประจุไฟฟ้าในอากาศ 15 2295 มิถุนายน พ.ศ.22957 เจ้าหญงิ ไดอานา เสยี ชีวติ ทกี่ รุงปารีส 31 สิงหาคม พ.ศ.2540 19978 ยานอวกาศ มารส์ พาทไฟนเ์ ดอร์ ของสหรฐั อเมริกา ลงจอดบนดาว 1919 องั คารเปน็ ผลสาเร็จ 4 กรกฎาคม พ.ศ.25409 เกิดเหตกุ ารณ์ 8888 ในประเทศพม่า 8 สงิ หาคม พ.ศ.2531 20710 เกิดเหตุการณ์ พฤษภาทมิฬ (Black May) 17 พฤษภาคม พ.ศ. 211 253511 ยานขนส่งอวกาศ สเปช ชัตเติล ทดลองบินในชั้นบรรยากาศเป็น 1899 ครัง้ แรก 12 สิงหาคม พ.ศ.252012 ลเู ทอร์ เทอร่ี แพทย์ชาวอเมรกิ าแถลงข่าวว่าการสูบบุหร่ีเป็นสาเหตุ 1385 ของโรคมะเร็งปอดและโรครา้ ยอน่ื ๆ 11 มกราคม พ.ศ.250713 คณะราษฎรประกาศใช้รัฐธรรมนูญปกครองแผ่นดินสยามช่ัวคราว 2475 พุทธศักราช 2475 27 มิถุนายน พ.ศ.247514 อดอลฟ์ ฮิตเลอร์ ข้นึ เปน็ ผู้นาของเยอรมนี 2 สิงหาคม พ.ศ.2477 135515 หมอบรดั เลย์ หมอสอนศาสนาชาวอเมรกิ นั เร่มิ การผ่าตัดครั้งแรกใน 1199 ประเทศไทย 13 มกราคม พ.ศ.2380

ฉบบั เฉลย แบบฝึกหดั ท่ี 1 ประวตั ศิ าสตรส์ ากล ส 31102ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 4 เรอื่ ง ศกั ราชและการคานวณ ครูศริ ิมา เมฆปัจฉาพชิ ติ ชอ่ื -สกุล .............................................................................. ชั้น ............... เลขท่ี ............คาชแ้ี จง ให้นักเรยี นอ่านเหตกุ ารณใ์ นตารางแล้วคานวณศกั ราชใหถ้ กู ต้องข้อ เหตกุ ารณ์ พ.ศ. ม.ศ. จ.ศ. ร.ศ. ค.ศ. ฮ.ศ.1 8 ตลุ าคม นักเรียนเตรียมอุดม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รวมทั้ง นิสิต นักศึกษาและนักเรียนเตรียมปริญญา มหาวิทยาลัยวิชา ธรรมศาสตร์และการเมือง ร่วมเดินขบวนเพื่อสนับสนุนรัฐบาลใน 2483 1862 1302 159 1940 1361 การเรียกร้องดินแดนอินโดจีนที่สูญเสียไปในสมัยรัชกาลท่ี 5 คืน จากฝรั่งเศส นบั เป็นการเดนิ ขบวนครง้ั แรกในประวัตศิ าสตรไ์ ทย2 10 ตุลาคม สาธารณรัฐหมู่เกาะฟิจิได้รับเอกราช จาก สหราช 2513 1892 1332 189 1970 1391 อาณาจักร เมือ่ วนั ที่3 19 ตุลาคม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสาธิตให้ผู้แทน 2515 1894 1334 191 1972 1393 รัฐบาลสงิ คโปร์ชมการทดลองฝนหลวง4 22 ตุลาคม ประเทศลาวได้รับเอกราชคืนจากประเทศฝรง่ั เศส 2496 1875 1315 172 1953 13745 23 ตลุ าคม มีการประชุมทวั่ ไปของสหประชาชาตเิ ปน็ ครั้งแรก 2489 1868 1308 165 1946 13676 15 มถิ นุ ายน เบนจามิน แฟรงคลิน ค้นพบประจไุ ฟฟา้ ในอากาศ 2295 1674 1114 -29 1752 11737 31 สงิ หาคม เจ้าหญิงไดอานา เสียชีวิตที่กรุงปารีส 2540 1919 1359 216 1997 14188 4 กรกฎาคม ยานอวกาศ มาร์ส พาทไฟน์เดอร์ ของ 2540 1919 1359 216 1997 1418 สหรฐั อเมริกา ลงจอดบนดาวองั คารเป็นผลสาเร็จ9 8 สงิ หาคม เกิดเหตุการณ์ 8888 ในประเทศพมา่ 2531 1910 1350 207 1988 140910 17 พฤษภาคม เกิดเหตุการณ์ พฤษภาทมิฬ (Black May) 2535 1914 1354 211 1992 141311 12 สิงหาคม ยานขนส่งอวกาศ สเปช ชัตเติล ทดลองบินในชั้น 2520 1899 1339 196 1977 1398 บรรยากาศเปน็ ครง้ั แรก12 11 มกราคม ลูเทอร์ เทอรี่ แพทย์ชาวอเมริกาแถลงข่าวว่าการ 2507 1886 1326 183 1964 1385 สูบบุหร่ีเป็นสาเหตุของโรคมะเร็งปอดและโรคร้ายอื่นๆ13 27 มิถุนายน คณะราษฎรประกาศใช้รัฐธรรมนูญปกครอง 2475 1854 1294 151 1932 1353 แผน่ ดินสยามชั่วคราวพุทธศักราช 247514 2 สิงหาคม อดอลฟ์ ฮติ เลอร์ ข้ึนเป็นผูน้ าของเยอรมนี 2477 1856 1296 153 1934 135515 13 มกราคม หมอบรดั เลย์ หมอสอนศาสนาชาวอเมริกันเริ่มการ 2380 1759 1199 56 1837 1258 ผา่ ตดั คร้งั แรกในประเทศไทย