หน่วย ที่ 8 การเป็นพลเมืองดิจิทัล

พลเมืองดิจิทัล หรือ Digital Citizens เป็นกระแสที่แพร่หลายไปทั่วโลกนับตั้งแต่อินเตอร์เน็ตและเทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทในการดำเนินกิจกรรมด้านต่างๆ ในชีวิตประจำวัน ประเทศไทยให้ความสำคัญกับเรื่องดังกล่าวอย่างจริงจังหลังจากที่รัฐบาลผลักดันนโยบายเศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy) เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับระบบเศรษฐกิจและเตรียมความพร้อมเข้าสูประชาคมอาเซียนในอนาคตอันใกล้นี้ในยุคปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศมีความเกี่ยวข้องกับการใช้ชีวิตประจำวันอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกคนควร เสริมสร้างศักยภาพการใช้เทคโนโลยีดังกล่าวอย่างชาญฉลาดและก้าวเข้าสู่ความเป็นพลเมืองในยุคดิจิตอลได้อย่างภาคภูมิ

คุณลักษณะที่ดีของพลเมืองดิจิทัล พลเมืองดิจิตอลที่มีคุณลักษณะที่ดี (Good Digital Citizens) 

มีองค์ประกอบหลายประการ สรุปได้โดยย่อ ดังนี้

1. การตระหนักถึงความสามารถในการเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้อื่น
          ผู้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทุกคนควรตระหนักว่าบุคคลมีโอกาสในการเข้าถึงและมีศักยภาพใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่แตกต่างกัน พลเมืองดิจิตอลที่ดีจึงไม่ควรเลือกปฏิบัติและดูหมิ่นบุคคลผู้ขาดทักษะการใช้เทคโนโลยีฯ หากแต่จะต้องช่วยกันแสวงหามาตรการต่างๆเพื่อเสริมสร้างความเสมอภาคในการเข้าถึงเทคโนโลยีฯ อันจะทำให้สังคมและประเทศนั้นๆ ก้าวเข้าสู่ยุคดิจิตอลได้อย่างภาคภูมิ

2. การเป็นผู้ประกอบการและผู้บริโภคที่มีจริยธรรม
          เป็นที่ทราบกันโดยทั่วไปว่าเทคโนโลยีสารสนเทศได้เปลี่ยนแปลงระบบตลาดแบบดั้งเดิม (Traditional Marketplace) ไปสู่ตลาดในระบบอิเลคทรอนิกส์ (Electronic-Marketplace) และได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายดังจะเห็นได้จากความหลายหลายของประเภทสินค้าที่สามารถซื้อหาได้ในระบบออนไลน์ ตลอดจนบริการประเภทต่างๆ ที่ผู้บริโภคสามารถทำธุรกรรมได้อย่างสะดวก พลเมืองยุคดิจิตอลจะต้องมีความซื่อสัตย์และมีศีลธรรมในการทำนิติกรรมและธุรกรรมทุกประเภทบนโลกออนไลน์ เช่น ไม่ซื้อขายและทำธุรกรรมที่ผิดกฎหมาย เช่น การดาวน์โหลดสิ่งที่ขัดต่อกฎหมาย ตลอดจนการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีเพื่อหลอกลวงผู้อื่นให้ซื้อสินค้าและบริการที่ไม่มีคุณภาพ เป็นต้น

3. การเป็นผู้ส่งสารและรับสารที่มีมรรยาท
          รูปแบบการสื่อสารได้มีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากในช่วงศตวรรษที่ 21 ดังจะเห็นได้จากรูปแบบการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตที่สะดวก รวดเร็วและมีความเชื่อมโยงทั่วโลก เช่น อีเมลล์และโซเชียลมีเดียหลากหลายประเภท ปัจจุบันมีผู้ใช้ข้อได้เปรียบของช่องทางการสื่อสารดังกล่าวอย่างไม่เหมาะสม เช่น การส่งสารที่ มีเจตนาหมิ่นประมาทผู้อื่นและการส่งสารที่มีเจตนาให้สังคมเกิดความแตกแยก ทั้งที่กระทำไปโดยเจตนาหรือรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ดังนั้น พลเมืองดิจิตอลที่ดีจะต้องมีมรรยาทและความรับผิดชอบต่อการกระทำของตนในโลกออนไลน์ หรือ ที่เรารู้จักกันดีในนามของ (Digital Etiquette) ที่จะเป็นเครื่องมือในการย้ำเตือนสติตลอดจนการกระทำที่เหมาะสมในการสื่อสารทุกประเภทในยุคดิจิตอล

4. การเคารพต่อกฎหมายและกฎระเบียบ
          ปัจจุบันการทำธุรกรรมและนิติกรรมทางอิเลคทรอนิกส์อยู่ภายใต้บังคับของกฎหมายและกฎระเบียบว่าด้วยการทำธุรกรรมทางอิเลคทรอนิกส์ซึ่งมีวัตถุประสงค์หลักในการป้องกันและปราบปรามการละเมิด ในรูปแบบต่างๆ ที่มีลักษณะเป็นอาชญกรรมทางอีเลคทรอนิกส์ เช่น การลักขโมยและการจารกรรมข้อมูลประเภทต่างๆ เช่น ข้อมูลทางธุรกิจและข้อมูลส่วนบุคคล ตลอดจนมาตรการคุ้มครองเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญาในรูปแบบต่างๆ ดังนั้น พลเมืองยุคติจิตอลที่ดีจะต้องตระหนักและรับทราบถึงกฎหมายและกฎระเบียบดังกล่าว ตลอดจนมีความยับยั้งช่างใจต่อการกระทำของตนที่อาจเป็นการละเมิดสิทธิของบุคคลอื่น

5. การใช้เทคโนโลยีให้มีความเหมาะสมและไม่ส่งผลเสียต่อสุขภาพ
          การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ขาดความเหมาะสมอาจส่งผลเสียต่อสุขภาพโดยรวม เช่น ความเครียดต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิตตลอดจนการก่อให้เกิดการสูญเสียสัมพันธ์ภาพในสังคมได้ พลเมืองยุคดิจิตอลจะต้องควบคุมการใช้อุปกรณ์อิเลคทรอนิกส์ให้มีความเหมาะสมเพื่อป้องกันมิให้เกิดอาการเสพติดต่อ สิ่งดังกล่าวจนเกิดผลเสียต่อสุขภาพโดยรวมได้ นอกจากนี้ การลดปริมาณการสื่อสารแบบออนไลน์มาเป็นรูปแบบการสื่อสารแบบดั้งเดิมในบางโอกาสจะก่อให้เกิดผลดีต่อสัมพันธภาพของบุคคลใกล้ชิดอีกด้วย

6. เรียนรู้วิธีการเสริมสร้างความปลอดภัยในการใช้เทคโนโลยี
          พลเมืองดิจิตอลนอกจากจะต้องเป็นผู้ที่มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีอย่างมีประสิทธิภาพแล้วจะต้องใฝ่รู้และให้ความสำคัญกับมาตรการเพื่อความปลอดภัยและการคุ้ม
ครองข้อมูลส่วนบุคคลด้วย (Digital Security) เนื่องจากในยุคดิจิตอลนั้นผู้มีเจตนากระทำผิดและหลอกลวงสามารถใช้เทคโนโลยีที่มีความทันสมัยเพื่อหลอกลวงผู้อื่นได้ง่ายกว่ากระบวนการสื่อสารแบบดั้งเดิม วิธีการเสริมสร้างความปลอดภัยในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่สามารถกระทำได้โดยง่ายมีหลากหลายวิธี เช่น การติดตั้งระบบป้องกันการจารกรรมและการทำลายข้อมูลให้กับอุปกรณ์การสื่อสารทุกประเภท ตลอดจนรู้เท่าทันต่อรูปแบบและกลอุบายของอาชญากรอิเลคทรอนิกส์ที่มักมีการพัฒนารูปแบบของการกระทำผิดอยู่เสมอ

หน่วยที่ 8 การเป็ นพลเมือง
ยุคดิจิทัล (Digital
Citizenship)

1. Digital Citizenship หมายถึง

พลเมืองผู้ใช้งานสื่อดิจิทัลและสื่อสังคมออนไลน์
ที่เข้าใจบรรทัดฐานของการปฏิบัติตัวให้เหมาะสม
และมีความรับผิดชอบในการใช้เทคโนโลยี โดย

เฉพาะอย่างยิ่งการสื่อสารในยุคดิจิทัลเป็นการ
สื่อสารที่ไร้พรมแดน

2. การเป็น (6) ทักษะในการบริหารจัดการข้อมูล
พลเมืองในยุค (7) ทักษะในการรักษาความปลอดภัยของตนเอง
ดิจิทัล ต้องมี ในโลกออนไลน์ (Cybersecurity Management)
ทักษะที่ส ำคัญ
กี่ประการอะไร (8) ทักษะในการใช้เทคโนโลยีอย่างมี
จริยธรรม (DIGITAL EMPATHY)
บ้าง (ต่อ)

2. การเป็น (6) ทักษะในการบริหารจัดการข้อมูล
พลเมืองในยุค
ดิจิทัล ต้องมี (1) ทักษะในการรักษาอัตลักษณ์ที่ดีของตนเอง
ทักษะที่ส ำคัญ (Digital Citizen Identity)
กี่ประการอะไร
(2) ทักษะในการรักษาข้อมูลส่วนตัว
บ้าง (PRIVACY MANAGEMENT)
(3) ทักษะในการคิดวิเคราะห์มีวิจารณญาณที่
ดี(Critical Thinking)

(4) ทักษะในการจัดสรรเวลาหน้ าจอ
(SCREEN TIME MANAGEMENT)

(5) ทักษะในการรับมือกับการคุกคามทางโลก
ออนไลน์(Cyberbullying Management)

3. ISTE ย่อมาจาก......

INTERNATIONAL SOCIETY FOR TECHNOLOGY
IN EDUCATION

4. องค์ประกอบของความเป็น
พลเมืองดิจิทัล สามารถแยกกี่มิติ

อะไรบ้าง อธิบาย

4 มิติ ได้แก่

(1) มิติการรักษาอัตลักษณ์และข้อมูลส่วนบุคคล
(2) มิติของกิจกรรมบนสื่อสังคมดิจิทัล
(3) มิติทักษะและความสามารถในสภาพแวดล้อมดิจิทัล
(4) มิติจริยธรรมทางดิจิทัล

5. คุณลักษณะพึงประสงค์ของ
พลเมืองดิจิทัล ได้แก่อะไรบ้าง

(1) เข้าใจในการเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้อื่น
(2) เป็นผู้ประกอบกิจการ – ผู้บริโภคที่มีความซื่อสัตย์

(3) เป็นผู้ส่งสาร – รับสารที่มีมารยาท
(4) เคารพต่อกฎหมายและกฎระเบียบ
(5) ใช้เทคโนโลยีให้เหมาะสมต่อสุขภาพ

6. Digital literacy หมายถึง

ทักษะในการนำเครื่องมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยี
ดิจิทัลที่มีอยู่ใน ปัจจุบัน อาทิ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์
แทปเลต โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และสื่อออนไลน์ มา
ใช้ ให้เกิดประโยชน์ สูงสุด ในการสื่อสาร การปฏิบัติ

งาน และการทำงานร่วมกัน หรือใช้เพื่อพัฒนา
กระบวนการทำงาน หรือระบบงานในองค์กรให้มี

ความทันสมัยและมีประสิ ทธิภาพ

7. ทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
ครอบคลุมความสามารถ กี่มิติ ได้แก่อะไรบ้าง

4 มิติ ได้แก่
การใช้ (USE)
เข้าใจ (UNDERSTAND)
การสร้าง (CREATE)
เข้าถึง (ACCESS) เทคโนโลยีดิจิทัล ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

8. จงบอกประโยชน์ของการพัฒนา Digital
Literacy ส าหรับข้าราชการ มีอะไรบ้าง

(1) ทำงานได้รวดเร็วลดข้อ (3) สามารถแก้ไขปัญหาที่ (5) สามารถบริหารจัดการ
ผิดพลาดและมีความมั่นใจ เกิดขึ้นในการทำงานได้มี งานและเวลาได้ดีมากขึ้น
ในการทำงานมากขึ้น ประสิ ทธิภาพมากขึ้น และช่วยสร้างสมดุลในชีวิต
และการ ทำงาน
(2) มีความภาคภูมิใจในผล (4) สามารถระบุทางเลือก
งานที่สามารถสร้างสรรค์ และตัดสิ นใจได้อย่างมี (6) มีเครื่องมือช่วยในการ
ได้เอง ประสิ ทธิภาพมากขึ้น เรียนรู้และเติบโตอย่าง
เหมาะสม

9. คุณลักษณะของการเป็นพลเมืองดิจิทัล ได้แก่อะไรบ้าง
อธิบาย

(1) Digital citizen (2) Screen time management: (3) Cyberbullying management:
identity: ความสามารถใน ความสามารถในการจัดการเวลาใน ความสามารถในการตรวจจับ
การสร้างและจัดการในการ โลกออนไลน์ การ จัดการเวลาเพื่อ สถานการณ์การกลั่น แกล้งบน
ระบุตัวตนด้วย ความซื่อสัตย์ อินเทอร์เน็ ตและจัดการกับ
ทั้งในโลกออนไลน์ และออฟ ภารกิจที่หลากหลายและการ สถานการณ์ อย่างชาญฉลาด
จัดการเวลาและกำกับตัวเองในการ
ไลน์ ทำกิจกรรมในสื่อ สังคมออนไลน์

(4) Cybersecurity (5) Privacy management: ความ (6) Critical thinking: ความ
management: ความ สามารถในการจัดการข้อมูลส่ วนบุ สามารถในการจ าแนกข้อมูลที่เป็น
สามารถในการปกป้อง คลที่เผยแพร่ในโลก ออนไลน์ อย่าง จริงและข้อมูลที่เป็นเท็จ เนื้ อหาที่ดี
ข้อมูลโดยการสร้างความ มีวิจารณญาณเพื่อปกป้องความเป็น และเนื้ อหาที่เป็นอันตราย และการ
ปลอดภัยของรหัสผ่านและ ส่ วนตัวของทั้งของตนเองและของผู้ ติดต่อออนไลน์ ที่น่ าเชื่อถือและน่ า
การจัดการการคุกคามทาง
ไซเบอร์ที่มีความหลากหลาย อื่น สงสั ย

(7) Digital footprints:

ความสามารถในการ
ทำความเข้าใจธรรมชาติของ (8) Digital empathy: ความ
ร่องรอยทาง ดิจิทัล ผลกระ สามารถในการแสดงออกถึงความ
ทบของร่องรอยทางดิจิทัลที่
มีต่อชีวิตจริง และจัดการ ใส่ ใจในความรู้สึ กและความ
ร่องรอยทางดิจิทัลด้วย ต้องการในโลกออนไลน์ ทั้งของ

ความ รับผิดชอบ ตนเองและของผู้อื่น

10. ให้ศึกษาค้นคว้าที่มาของ ค ำว่า
“New Normal” ในการด ำเนิน
ชีวิตของพลเมืองยุคดิจิทัล และน ำ

เสนอข้อมูลด้วยโปรแกรม
มัลติมีเดีย (ตามที่นักศึกษาถนัด)

คำว่า “New Normal” ในการดำเนินชีวิตของพลเมืองยุคดิจิทัล
เป็นคำศัพท์ทางธุรกิจและเศรษฐศาสตร์ ที่ถูกนำมาใช้ครั้งแรกในปี 2551
ในช่วงวิกฤตการณ์ ทางการเงินของสหรัฐฯ ที่เรารู้จักกันในชื่อ วิกฤต
แฮมเบอร์เกอร์ ซึ่งทำให้เกิด ภาวะเศรษฐกิจ ถดถอยทั่วโลกในปี 2551-2555
โดยปกติแล้ว วิกฤตเศรษฐกิจจะมีรูปแบบค่อนข้างชัดเจนคือเมื่อเติบโตไปได้
ระยะหนึ่งจะมี ปัจจัยทำให้เกิดฟองสบู่ พอวิกฤตผ่านพ้นไปเศรษฐกิจก็จะเริ่ม
ฟื้ นตัว และกลับมาเติบโตได้อีกครั้ง ในเวลาไม่นาน
แต่สิ่งที่เกิดขึ้นหลังจากวิกฤตแฮมเบอร์เกอร์ ก็คือ เศรษฐกิจโลกไม่สามารถ
กลับไปเติบโตได้ ดีแบบเดิมอีก เนื่องจากปัจจัยต่าง ๆ เช่น การพยายาม
กระตุ้นเศรษฐกิจมากเกินไปทั้งที่บาง ประเทศมีหนี้สาธารณะสูงมาก
Bill Gross นักลงทุนในตราสารหนี้ ผู้ร่วมก่อตั้งบริษัท Pacific Investment
Management (PIMCO) ก็เลยให้นิยามถึงสภาวะเศรษฐกิจโลกที่ถดถอยลง
และไม่สามารถกลับไปเติบโตได้ใน ระดับเดิมอีกแล้ว ว่า New Normal

ซึ่งตัวอย่าง New Normal เห็นได้ชั
ดเจนที่สุดก็คือ เศรษฐกิจของจีน
เศรษฐกิจจีนขยายตัว มากกว่า 1
0% มาโดยตลอด แต่หลังจากมี

วิกฤตแฮมเบอร์เกอร์ การเติบโตก็
ลดลงต่อเนื่ องจนถึงปี 2557 และ

เศรษฐกิจจีนก็ไม่เคยเติบโตเกิน 7% อีกเลย
ประธานาธิบดี สีจิ้นผิงก็เลยออกม
าชี้แจงกับชาวจีนว่า ที่เศรษฐกิจ
จีนเติบโตเหลือแค่ 7% ไม่ได้เป็นเพราะภาวะเศรษฐกิจถดถอย แต่
เป็น New Normal ทางเศรษฐกิจของจีนในอนาคต หลังจากนั้ น ค า
นี้ ก็ถูกน ามาใช้ในบริบทที่กว้างขึ้น ทั้งในแง่ของวัฒนธรรม วิถีชีวิต

และ พฤติกรรมของคนในสังคม

New Normal ที่จะเกิดขึ้น หล
ังจากนี้ จะส่งผลอะไรบ้าง?
1. พฤติ
กรรม

คนจะยังคงมี social distancing ก
ันต่อไป ทั้งในแง่ของร่างกายและ

จิตใจด้วย ความเชื่อใจกันที่เคยแสดงออกมาผ่าน Human Touch จะ
น้ อยลง คนจะไม่สัมผัสกันโดยไม่จำ
เป็น
วัฒนธรรมในการทักทายของผู้คน โดยเฉพาะหลายๆ ชาติในตะวัน
ตกที่เคยจับมือ สัมผัสตัวกัน จะเปลี่ยนแปลงไป

2. ธุรกิจ และ การตลาด
การตลาดแบบ experiential marketing หรือการตลาดที่เน้ นเรื่องภาพ
กลัลกุ่ษมกณั์นอหาจรือไอด้ยรู่ัใบนคทีว่ทาี่มคนนิ ยเยมอน้ะอๆยลพงอ

เคนื่นอไงมจ่คา่กอคยอนอพกยสาังยคามมเมลีา่ยกงเทที่่จาเะมรื่อวม

กค่อนนจะอหาัจนทมาาใใหห้้คมีวคาวมาสมสาคนัญใจใในนคเวรื่าอมง
มภั่นาพคลงัทกั้ษงทณ์าลงสดุขลภงาไพปดแ้ลวยะการเงินมาก

ขึ้น การ ขายสินค้าหรือบริการต่าง ๆ
แบบระยะยาวจะได้รับความนิ ยมมาก
ขึ้น
ภาคธุรกิจจะขับเคลื่อนเข้าสู่ Digital Transformation ที่จับต้องได้อย่าง
เป็นรูปธรรม และรวดเร็วยิ่งขึ้น
การส่งสินค้าจะทำได้ยากขึ้นกว่าเดิม การรักษาความปลอดภัยในการเดิน
ทาง การ ข้ามเขตแดนจะเข้มงวดขึ้น มีการปฏิเสธไม่รับสินค้าจากบาง
ประเทศโดยไม่ถูกมองว่าเป็นการกีด กันทาง การค้า แต่มองว่าเป็นความ
ปลอดภัยในสิ นค้า
การบริโภคภายในประเทศ หรือ Domestic Consumption จะเพิ่มขึ้น คน
จะหันมา สนั บสนุน product ในประเทศมากขึ้น

3. การใช้ชีวิต
ดิจิทัลจะกลายเป็นความสำคัญหลักในการดำรงชีวิต ไม่ใช่แค่คน Gen C แต่
คือคน ทุกรุ่น ทุกวัย จะสามารถใช้ง

านดิจิทัลได้อย่างคุ้นเคย
เทคโนโลยีจะกลายเป็นเรื่องปกติในชีวิตประจำวัน ทั้งการ work from home

การสั่ง อาหารเดลิเวอรี หรือการเรี
ยนออนไลน์

คนมีการแบ่งฝักฝ่ าย มีการเลือกปฏิบัติมากขึ้น ด้วยเหตุผลทางด้านความ
ปลอดภัย หรือการคำนึ งถึงสุขอนา
มัย
mindset บางอย่างอาจเปลี่ยนไป คนไม่กล้าเดินทางออกนอกประเทศ ไม่กล้า
ส่ งลูกไปเรียนเมืองนอกเหมือนเมื่อก่อน


Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv แปลภาษาอาหรับ-ไทย lmyour แปลภาษา ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค Google Translate การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 หยน อาจารย์ ตจต เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 บบบย ศัพท์ทหารบก แปลภาษาจีน การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 1 ขุนแผนหลวงปู่ทิม มีกี่รุ่น ชขภใ ตม.เชียงใหม่ เซ็นทรัลเฟสติวัล พจนานุกรมศัพท์ทหาร รหัสจังหวัด อําเภอ ตําบล รหัสประจำจังหวัด 77 จังหวัด สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม หนังสือราชการ ตัวอย่าง ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คอร์ด อเวนเจอร์ส ทั้งหมด แปลภาษา มาเลเซีย ไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค ่้แปลภาษา Egp G no Reconguista Google map ขุนแผนหลวงปู่ทิมรุ่นแรก ข้อสอบภาษาไทยพร้อมเฉลย ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง ค้นหา ประวัติ นามสกุล จองคิว ตม เชียงใหม่ ชื่อเต็ม ร.9 คําอ่าน ดีแม็กมือสองราคาไม่เกิน350000 ตัวอย่างรายงานการประชุมสั้นๆ