อนุสัญญาเวียนนาและพิธีสาร มอน ท รี ออ ล

เมื่อวันที่ 23-27 พฤศจิกายน 2563 มีการจัดการประชุมภาคีอนุสัญญาเวียนนาเพื่อการปกป้องชั้นบรรยากาศโอโซนครั้งที่ 12 ตอนที่ 1 (COP 12) และการประชุมรัฐภาคีพิธีสารมอนทรีออลว่าด้วยสารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน สมัยที่ 32 (MOP 32) พร้อมกันในรูปแบบออนไลน์ โดยการประชุมดังกล่าว รัฐภาคีได้บรรลุข้อตกลงหลายประการเพื่อมั่นใจว่ายังสามารถคงการดำเนินงานของสำนักเลขาธิการ กองทุนพหุภาคีภายใต้พิธีสารมอนทรีออล (MLF) และหน่วยงานต่างๆ ของพิธีสารต่อไปได้

จากสรุปรายงานการประชุม โดย Earth Negotiations Bulletin รายงานว่าวาระการประชุมครั้งนี้มีเฉพาะประเด็นเร่งด่วนและมีความจำเป็นเท่านั้น โดยประเด็นดังกล่าว ได้แก่ กองทุนพหุภาคี (MLF) สำหรับปี 2564 – 2566 ข้อยกเว้นในการใช้งานที่สำคัญของเมทิลโบรไมด์ (methyl bromide) สำหรับในปี 2564 และ 2565 รายงานทางการเงินและงบประมาณ และการเป็นสมาชิกของหน่วยงานพิธีสารต่างๆ และคณะกรรมการการประเมิน

อนุสัญญาเวียนนาและพิธีสาร มอน ท รี ออ ล

ในรายงานการประชุม ระบุว่า กองทุนพหุภาคี สำหรับปี 2564-2566 ซึ่งเป็นกองทุนที่ช่วยประเทศกำลังพัฒนาในการปฏิบัติตามพันธกรณีภายใต้พิธีสารมอนทรีออลเป็น “วาระการประชุมที่สำคัญที่สุด” เนื่องจากหลายฝ่ายต่างต้องการมั่นใจว่า “สำนักเลขาธิการของ MLF ยังคงสามารถดำเนินการต่อไปได้ในปี 2564” โดยผู้ประชุมได้ตกลงที่จะนำเงินที่ยังไม่ได้ใช้จ่ายใด ๆ (unspent funds) จากงบประมาณปี 2561-2563 ไปใช้ในปีงบประมาณใหม่ได้ (roll over) และอนุญาตให้ใช้ยอดดังกล่าว (rollover balance) เป็นงบประมาณชั่วคราวสำหรับปีงบประมาณ 2564-2566 รวมทั้งยังตกลงในการมอบอำนาจให้สำนักเลขาธิการจัดการประชุมวิสามัญ MOP (extraordinary MOP) ในปี 2564 เพื่อใช้ในการตัดสินใจเกี่ยวกับงบประมาณโครงการขั้นสุดท้าย (final programme budget) สำหรับปีงบประมาณ 2564-2566 หากสถานการณ์เอื้ออำนวย

นอกจากนี้รัฐภาคียังบรรลุข้อตกลงเกี่ยวกับการยกเว้นในการใช้งานที่สำคัญของสารทำลายชั้นบรรยากาศโอโซนที่ชื่อ เมทิลโบรไมด์ (methyl bromide) สำหรับในปี 2564 และ 2565 อีกด้วย โดยในที่ประชุมได้มีการให้ข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนของรายการในการใช้ที่สำคัญนั้นยังคงมีการลดลง ความเข้มข้นในชั้นบรรยากาศ (atmospheric concentrations) กำลังลดลงเช่นกัน และรายงานของปริมาณคงเหลือได้แสดงให้เห็นว่ามีการผลิตในระดับที่สูงกว่าการบริโภคเป็นเวลาหลายปี ซึ่งนำไปสู่การไม่รู้ปริมาณที่แน่นอนของปริมาณคงเหลือที่ไม่ได้รับการรายงาน

ทั้งนี้ ประเทศภาคีสมาชิกได้ลงมติว่าจะจัดการประชุมภาคีอนุสัญญาเวียนนาว่าด้วยการปกป้องชั้นโอโซนครั้งที่ 12 ตอนที่ 2 (COP 12) พร้อมกันกับการประชุมรัฐภาคีพิธีสารมอนทรีออล สมัยที่ 33 (MOP 33) ที่กรุงไนโรบี ประเทศเคนยา ระหว่างวันที่ 25 – 29 ตุลาคม 2564 โดยประธานของ MOP 32 กล่าวว่า การประชุม MOP ครั้งต่อไปคาดว่าจะสามารถเป็นรูปแบบตัวต่อตัวมากกว่ารูปแบบออนไลน์

สรุปรายงานการประชุมฉบับเต็ม : https://enb.iisd.org/vol19/enb19154e.html


แหล่งที่มา : https://sdg.iisd.org/news/montreal-protocols-multilateral-fund-to-continue-operations-in-2021-2023/

          : �֧�����ҡ�ҫ����͹��͡䫴�, CO2 ����� �س������š�٧���1.5 ͧ�������� ����ҡ���� ��� CFCs ��觷�����س������š�٧��� 0.8 ͧ��������  ����ҡ���ҡ�ҫ������� ���ҫ����Դ�ҡ�����ҵԨФǺ������ҡ���� ��� CFCs ������ѧ�������� �ѧ���������֧����ö�Ǻ�����ա��� ��ǹ��ҫ CO2������Ǣ�ͧ�Ѻ�����ҵ��ҡ���������Ҩ��繴�ҹ������ԧ ���ҡ�ȷ��������� �����Ҩ��繵�ǡ����ѡ��������ҹ���ѧ��ͧ��鹵ç�Ѻ�����ҵ��ҡ����������

        คือสนธิสัญญาสากลที่ถูกกำหนดขึ้นเพื่อควบคุม, ยับยั้ง, และรณรงค์ให้ลดการผลิตและการใช้สารทำลายชั้นบรรยากาศโอโซน เพื่อรักษาชั้นบรรยากาศโอโซนที่เริ่มจะสูญสลายไปเนื่องจากสารเหล่านี้ โดยพิธีสารได้เปิดให้ประเทศต่างๆ ลงนามเป็นประเทศภาคีสมาชิกในวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2530 (1987) และเริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2532 (1989) เป็นต้นมา ตั้งแต่นั้นมา ได้มีการแก้ไขปรับปรุงพิธีสาร 5 ครั้งด้วยกัน ครั้งแรก ณ กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร เมื่อ พ.ศ. 2533 (1990), ครั้งที่สอง ณ กรุงโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ก เมื่อ พ.ศ. 2535 (1992), ครั้งที่สาม ณ กรุงเวียนนา สาธารณรัฐออสเตรีย เมื่อ พ.ศ. 2538 (1995), ครั้งที่สี่ ณ เมืองมอนทรีออล ประเทศแคนาดา เมื่อ พ.ศ. 2540 (1997) และครั้งที่ห้า ณ กรุงปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน เมื่อ พ.ศ. 2542 (1999) เนื่องจากมีการนำไปใช้อย่างกว้างขวาง ทั้งได้รับเสียงสนับสนุนและชื่นชมจากนานาประเทศและหลาย ๆ องค์กร พิธีสารมอนทรีออลจึงได้รับการยกย่องให้เป็นตัวอย่างการร่วมมือกันระหว่างประเทศในการแก้ไขปัญหาในระดับนานาชาติ

�����Է�ҹԾ��� ���������������͡Ẻ��ʫԧ�ٻ����Ѻ��ô֧�ѹ�����
ANALYSIS AND DESIGN OF CLOSING LOOPS FOR CANINE RETRACTION. ���͹��Ե ��Թ��� ����ҡó�
Varintra Ungbhakorn �����Ҩ�������֡�� �.��.��. 侺���� ൪����������.��. ��Է��� ����ҡó�
Paiboon Techalertpaisarn, Ph.D.Prof Variddhi Ungbhakorn, Ph.D. ����ʶҺѹ ����ŧ�ó�����Է�����. �ѳ�Ե�Է�����
Chulalongkorn University. Bangkok. (Thailand). Graduate School. �дѺ��ԭ�������������´�Ң��Ԫ� �Է�ҹԾ�����Һѳ�Ե. �Է����ʵ�� (�ѹ������Ѵ�ѹ)
Master. Science (Orthodontics) �շ�診����֡�� 2546 ���Ѵ���(��) �ѵ�ػ��ʧ��ͧ����Ԩ�¤�� �������º��º��Ҥ����秵֧�ͧ��ʫԧ�ٻ�������ҡ��äӹdz�����ɮպ��ͧ��ʵԡ�������Шҡ��÷��ͧ �����������ҧ����ʫԧ�ٻ���Ѵ�ҡ�Ǵ���硡������ʹ����Ҵ 0.016x0.022 ���� �ӹǹ 4 �ٻẺ�ٻẺ�� 5 �ٻ ���� vertical helical loop, T-loop, Opus90 loop ��� helicalT-loop ������Ѵ��ǹ����Ѵ��ǹ���������ѵ����ǹ����������ç�����ҡ��äӹdz�ҧ��ɮ��ҡ����ش �����Ѵ��Ҵ�ç��Ǣ�ҹ�Ѻ�Ңͧ�ٻ����дѺ�����ҡ����ͤ���Ƿ��������ͤ���Ƿ 0.50, 1.00, 1.50, 2.00, 2.50 ��� 3.00 ��. ������´��ٹ���������ʵԧ����չ��� LF plus ���º��º��Ҥ����秵֧�ͧ��ʫԧ�ٻ��� 4 �ٻẺ �����ҡ��äӹdz�ҧ��ɮ���Шҡ��÷��ͧ ����ʶԵԷ��ͺ�������¢ͧ��Ъҡ����Ƿ���дѺ����Ӥѭ .05 �š���Ԩ�¾���� ��Ҥ����秵֧�ͧ vertical helical loop, T-loop, Opus90loop ��� helical T-loop �����ҡ��äӹdz�����ɮպ��ͧ��ʵԡ�������ҡѺ33.80, 23.80, 19.60 ��� 23.50 ����/��. ����ӴѺ ��ǹ��Ҥ����秵֧�����ҡ��÷��ͧ��ҡѺ 81.90, 59.63, 55.94 ��� 47.66 ����/��. ����ӴѺ ��÷��ͺ�������¢ͧ��Ъҡ����Ǿ���� ��Ҥ����秵֧�ͧ��ʫԧ�ٻ��� 4 �ٻẺ�����ҡ��÷��ͧ�����ҡѺ��Ҥ����秵֧�����ҡ��äӹdz�ҧ��ɮշ���дѺ����Ӥѭ.05 (p = .000) �ѧ��鹷�ɮպ��ͧ��ʵԡ����⹨֧�������������й�����ӹdz�Ҥ�Ҥ����秵֧�ͧ��ʫԧ�ٻ ���ҧ�á����ŷҧ��ɮ��ѧ�ջ���ª��㹡�÷�����Һ�Է�ԾŢͧ���������¹�Ѵ��ǹ��ҧ� �ͧ�ٻ��ͤ���ѵ����ǹ����������ç��Ф�Ҥ����秵֧ ���Щй�鹷�ɮպ��ͧ��ʵԡ����⹡����Ըա�÷ҧ��Ե��ʵ�����Ҩ����ǹ����㹡���͡Ẻ ������㨤س�ѡɳТͧ��ʫԧ�ٻ�ѹ�Դ�ҡ�Ѵ��ǹ��ҧ� �ͧ�ٻ�� ���Ѵ���(English) The objectives of this research is to compare values of the stiffnesses of theclosing loops calculated by Castigliano's theorem to those by experimental results.Selected samples are the closing loops constructed from 0.016x0.022 inch stainlesssteel wire. They are four types of closing loops, namely, vertical helical loop, T-loop,Opus90 loop and helical T-loop, each with five samples. The configuration of eachtype of loops corresponds to the configuration which gives maximum MIF ratio theoretically.The activated forces are measured by applying the force parallel to the horizontal legsof each loop using Lloyd universal testing machine LF plus. The activated displacementsare 0.50, 1.00, 1.50, 2.00, 2.50 and 3.00 mm. The resulting values of loop stiffnessesobtained from experiment are then compared to the theoretical stiffnesses by usingthe test statistic one-sample t-test at .05 significant level. The Castigliano's theorem predicts the values of loop stiffnesses of the verticalhelical loop, T-loop, Opus90 loop and helical T-loop to be 33.80, 23.80, 19.60 and23.50 gm/mm respectively. The experimental values of the corresponding closing loopsare 81.90, 59.63, 55.94 and 47.66 gm/mm respectively. From the t-test, it is found out thatthe stiffness values of the four closing loops obained from experiment are not equal tothose from theory at .05 significant level (p = .000). Hence, the Castigliano's theorem is,not suitable for calculating the loop stiffness. However, the theoretical results still showthe influence of variable dimensions of the closing loop on the MIF ratios and stiffnesses.Therefore, the Castigliano's theorem is still the mathematical method which may facilitatethe design and understand the characteristics of the closing loop formed from various dimensions. ���ҷ������¹�Է�ҹԾ��� �ӹǹ˹�Ңͧ�Է�ҹԾ��� 108 P. ISBN 974-17-3514-6 ʶҹ���Ѵ���Է�ҹԾ��� ���Ӥѭ STIFFNESS, CLOSING LOOP, CASTIGLIANO, CONFIGURATION, M, F �Է�ҹԾ���������Ǣ�ͧ

ข้อใดคือวัตถุประสงค์ของอนุสัญญาเวียนนาและพิธีสารมอนทรีออล

คือสนธิสัญญาสากลที่ถูกกำหนดขึ้นเพื่อควบคุม, ยับยั้ง, และรณรงค์ให้ลดการผลิตและการใช้สารทำลายชั้นบรรยากาศโอโซน เพื่อรักษาชั้นบรรยากาศโอโซนที่เริ่มจะสูญสลายไปเนื่องจากสารเหล่านี้ โดยพิธีสารได้เปิดให้ประเทศต่างๆ ลงนามเป็นประเทศภาคีสมาชิกในวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2530 (1987) และเริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2532 ...

ประเทศไทยร่วมลงนามในอนุสัญญาเวียนนาและพิธีสารมอนทรีออลเมื่อใด

ประเทศไทยได้เข้าร่วมลงนามเป็นสมาชิกของอนุสัญญาเวียนนาและพิธีสารมอนทรีออล เมอ วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2532 อันมีผลให้ไทยต้องควบคุมปริมาณการผลิตและการใช้สารดังกล่าว นับตั้งแต่วันที่ 5. ตุลาคม 2532 เป็นต้นมา สำหรับประเทศไทย เนื่องจากเป็นประเทศที่กำลังพัฒนา ถึงแม้ว่ายังไม่ถึงเวลาถูกบังคับให้ลด

อนุสัญญาเวียนนามีวัตถุประสงค์เพื่ออะไร

อนุสัญญาเวียนนา (The Vienna Convention) - การป้องกันชั้นโอโซนในบรรยากาศมิให้ถูกทาลาย และร่วมกันแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม ที่เกิดจารูโหว่ของชั้นโอโซน โดยสนับสนุนให้เกิดการวิจัย และความร่วมมือในการ แลกเปลี่ยนข่าวสารระหว่างประเทศต่างๆ นอกจากนี้อนุสัญญายังประกอบด้วยข้อตกลง ระหว่างประเทศที่จะลดและเลิกการใช้สารเคมีที่ก่อให้เกิด ...

อนุสัญญาเวียนนาเกี่ยวข้องกับอะไร

อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา (อังกฤษ: Vienna Convention on the Law of Treaties) เป็นสนธิสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมืองในเรื่องสนธิสัญญาที่ทำขึ้นระหว่างรัฐกับรัฐ โดยเป็นการนำกฎหมายจารีตประเพณีระหว่างประเทศมาประมวลไว้ให้เป็นลายลักษณ์อักษร