นกแร้ง ไส้เดือนดิน กิ้งกือ ปลวก เป็นสิ่งมีชีวิตที่จัดอยู่ในผู้บริโภคกลุ่มใด

1. ข้อใดให้ความหมายของความหลากหลายทางชีวภาพได้ถูกต้องที่สุด

ก. การมีสิ่งชนิดพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิดมาอยู่รวมกัน ณ สถานที่หนึ่งในระบบนิเวศใดระบบนิเวศหนึ่ง

ข. สิ่งมีชีวิตหลายๆ ชนิดอยู่ร่วมกัน

ค. สิ่งมีชีวิตหลายๆชนิดอยู่ร่วมกันในระบบนิเวศน์หนึ่งๆ

ง. สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวอาศัยร่วมกันมีความหลากหลายทางพันธุกรรมทำให้เกิดสายพันธุ์ต่างๆ

2. สภาพแวดล้อม ที่เป็นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ รวมไปถึงสิ่งไม่มีชีวิตอื่นๆ ที่เป็นปัจจัยทางกายภาพได้แก่อะไรบ้าง

ข. อุณหภูมิ ความชื้น ดิน พลังงาน

ค. อุณหภูมิ ความชื้น ดิน น้ำ

ง. ดิน น้ำ ความชื้น สารเคมี

3. พืชมีวิวัฒนาการจากสาหร่ายพวกใด

ก. สาหร่ายพวก Charophycean

ข. สาหร่ายพวก สีเขียวแกมน้ำเงิน

4. สัตว์สามารถจำแนกออกเป็นประเภทใหญ่ๆ กี่ประเภท อะไรบ้าง

ก. 3 ประเภท ได้แก่ สัตว์มีกระดูกสันหลัง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม

ข. 3 ประเภท ได้แก่ สัตว์มีกระดูกสันหลัง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง สัตว์เลือดอุ่น

ค. 2 ประเภท ได้แก่ สัตว์มีกระดูกสันหลัง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง

ง. 2 ประเภท ได้แก่ สัตว์มีกระดูกสันหลัง สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม

5. Artificial system เป็นการจำแนกสิ่งมีชีวิตโดยอาศัยหลักการใด

ก. พิจารณาความสัมพันธ์ ทางวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตและการมีบรรพบุรุษร่วมกัน

ข. อาศัยหลักธรรมชาติ ลักษณะภายนอก ลักษณะภายใน พฤติกรรมและนิเวศวิทยา

ค. พิจารณาลักษณะภายนอก ลักษณะภายใน เอมบริโอและลักษณะทางชีวเคมี

ง. พิจารณาลักษณะภายนอกทั่วๆ ไปเท่าสังเกตได้ ลักษณะคล้ายกันจัดอยู่พวกเดียวกัน ลักษณะแตกต่างกันจัดแยกกันออกไป

6. ข้อใดคือหลักเกณฑ์ในการจำแนกสิ่งมีชีวิต

ง. ลักษณะการดำรงชีวิตในระบบนิเวศน์

7. อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตแบ่งได้เป็นกี่อาณาจักร

8. เห็ดเป็นสิ่งมีชีวิตที่จัดอยู่ในอาณาจักรใด

ก. อาณาจักรโมเนอรา (kingdom Monera)

ข. อาณาจักรโพรทิสตา (kingdom Protista)

ค. อาณาจักรฟังไจ (kingdom Fungi)

ง. อาณาจักรพืช (kingdom Plantae)

9. สิ่งมีชีวิตชนิดใดมีจำนวนชนิดมากที่สุดรองจากสาหร่าย

ง. สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง

10. หนอนทะเลเป็นสิ่งมีชีวิตที่จัดอยู่ในไฟลัมใดต่อไปนี้

ข. phylum Platyhelminthes

11. ปูน้ำจืดและปูน้ำเค็ม เป็นสิ่งมีชีวิตที่จัดอยู่ในไฟลัมใดดังต่อไปนี้

12. วัว ควาย กระต่าย หนอน เป็นสิ่งมีชีวิตที่จัดอยู่ในผู้บริโภคกลุ่มใด

13. นกแร้ง ไส้เดือนดิน กิ้งกือ ปลวก เป็นสิ่งมีชีวิตที่จัดอยู่ในผู้บริโภคกลุ่มใด

14. ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศน์ที่มีการกินต่อกันเป็นทอดๆ ตามลำดับ เรียกความสัมพันธ์นี้ว่าอะไร

ค. ห่วงโซ่ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต

ง. สายใยความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต

15. สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารเองได้ ดำรงชีวิตโดยการหลั่งเอนไซม์ออกมาย่อยสลายซากพืชซากสัตว์ กลายเป็นอินทรีย์สารโมเลกุลเล็กๆ แสงดูดซึมเราจัดเป็นสิ่งมีชีวิตกลุ่มใดในระบบนิเวศน์

ห้ามส่งรหัสผ่านใน Google ฟอร์ม

1. ปัจจัยทางชีวภาพ (Biological factor) หมายถึง สภาพแวดล้อมที่มีชีวิต ซึ่งก็คือ กลุ่มสิ่งมี ชีวิตนั่นเองสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศมีบทบาทแตกต่างกันจำแนกออกเป็น 3 กลุ่มคือ 

1.1 ผู้ผลิต (Producer) หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหารได้เองตามธรรมชาติ (Autotrophic organism) โดยการสังเคราะห์ด้วยแสง มีบทบาทสำคัญในการผลิตอาหารในระบบนิเวศ ได้แก่ แพลงค์ตอนพีช (Phytoplankton) สาหร่ายสีเขียว (Green algae) และพืชทุกชนิด เป็นต้นพืชบางชนิดสามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้และมีอวัยวะดักจับแมลงเป็นอาหาร จึงมีทั้ง ลักษณะของผู้ผลิตและผู้บริโภค เรียกว่า มิกโซโทรพ(Mixotroph) เช่น หม้อข้าวหม้อแกงลิงกาบหอยแครง หยาดน้ำค้าง เป็นต้น แบคทีเรียบางชนิดสร้างอาหารได้โดยการสังเคราะห์แสงทางเคมี (Chemosynthesis) 

1.2 ผู้บริโภค (Cunsumer) หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหารเองไม่ได้ (Heterotrophicorganism)แบ่งเป็น 4 กลุ่มดังนี้ 

- ผู้บริโภคพืช (Herbivore) หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่กินพืชเป็นอาหาร จัดเป็นผู้บริโภคลำดับที่ 1 หรือผู้บริโภคปฐมภูมิ (Primary consumer) เพราะได้รับการถ่ายทอดพลังงานจากพืชโดยตรง เช่น วัว ควาย กระต่าย หนอน ตั๊กแตน ฯลฯ 

- ผู้บริโภคสัตว์ (Carnivore) หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่กินสัตว์เป็นอาหาร เช่น เสือ สิงโต งู ฯลฯ 

- ผู้บริโภคทั้งพืชและสัตว์ (Omnivore)หมายถึงสิ่งมีชีวิตที่กินทั้งพืชแลtสัตว์เป็นอาหาร เช่น มนุษย์ ไก่ เป็ด ฯลฯ

- ผู้บริโภคซากพืชซากสัตว์ (Scavenger) หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่กินซากพืชซากสัตว์ที่เน่าเปื่อยผุพังเป็นอาหาร เช่น นกแร้ง ไส้เดือนดิน กิ้งกือ ปลวก เป็นต้น

1.3 ผู้ย่อยสลายอินทรียสาร (Decomposer) หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหารเองไม่ได้ ดำรง ชีวิตโดยการหลั่งเอนไซม์ออกมาย่อยสลายซากพืชซากสัตว์กลายเป็นอินทรียสาร โมเลกุลเล็ก ๆ แล้วดูดซึมเข้าสู่เซลล์เพื่อใช้ประโยชน์ต่อไป เช่น เห็ดรา แบคทีเรียเป็นต้น 

- หากไม่มีผู้ย่อยสลายอินทรียสาร ซากพืชซากสัตว์จะไม่เน่าเปื่อยและกองทับถมกันจนล้นโลก ย่อยสลายอินทรียสารเป็นตัวกลางเชื่อมโยงการหมุนเวียนสารในระบบนิเวศและได้รับการถ่ายทอดพลังงานเป็นลำดับสุดท้าย 

2. ห่วงโซ่อาหาร (Food chain) เป็นความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศที่มีการกินกัน เป็นอาหารเป็นทอด ๆตามลำดับ ทำให้มีการถ่ายทอดพลังงานเกิดขึ้น

3. สายใยอาหาร (Food web) เป็นความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเที่มีการกินกันเป็น อาหารอย่างซับซ้อนหลายทิศทาง ทั้งนี้เพราะสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดกินอาหารได้หลายชนิดและเป็นอาหารของสัตว์ อื่น ๆ หลายชนิดเช่นกัน ดังนั้นสายใยอาหารจึงประกอบด้วยห่วงโซ่อาหารจำนวนมากที่มีความเชื่อมโยงกัน 

ไส้เดือนเป็นผู้บริโภคแบบใด

4. ผู้บริโภคที่กินซากพืชซากสัตว์ (Detritivore or Scarvenger) ได้แก่สัตว์ที่กินซากพืชหรือซากสัตว์ที่ตายแล้วเป็นอาหาร เช่น ไส้เดือนดิน กิ้งกือ ปลวก

สิ่งมีชีวิตชนิดใดบ้างที่เป็นผู้บริโภคพืช

2) ผู้บริโภค (consumer) => สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารได้เอง ต้องกินสิ่งมีชีวิตอื่นเป็นอาหาร เช่น มนุษย์ สัตว์ต่าง ๆ ซึ่งถ้าพิจารณาอาหารที่ผู้บริโภคกิน จะสามารถแบ่งกลุ่มผู้บริโภคออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ 2.1 สิ่งมีชีวิตกินพืช (herbivore) เช่น วัว ช้าง 2.2 สิ่งมีชีวิตกินสัตว์ (carnivore) เช่น เสือดาว สิงโต

คนเป็นผู้บริโภคพวกใด

2.2 ผู้บริโภค ( Consumer ) สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารเองได้แต่ได้รับ อาหารจากผู้ผลิตหรือผู้บริโภคด้วยกันเอง ได้แก่ สัตว์ต่างๆ เราแบ่งผู้บริโภค เป็น 4 พวก คือ - พวกที่กินพืชเป็นอาหารอย่างเดียว เช่น ช้าง ม้า วัว ควาย แกะ แพะ กระต่าย เป็นต้น Page 4 - พวกที่กินทั้งพืชและสัตว์เป็นอาหาร เช่น คน ไก่ เป็น หนู สุนัข แมว ...

แร้งเป็นอะไรในระบบนิเวศ

ตัวอย่างสิ่งมีชีวิตและหน้าที่ในระบบนิเวศ แร้ง หน้าที่ เป็นสัตว์ที่กินซากสัตว์เป็นอาหาร มีส่วนช่วยในการกินซากสัตว์ที่ตายแล้ว เพื่อทำให้ชิ้นส่วนของซากสัตว์ที่ชิ้นใหญ่ไปเป็นชิ้นเล็กๆเพื่อย่อยสลายได้เร็ว