ส่วนประกอบของโครงงาน 5 บทมีอะไรบ้าง

มกราคม 23, 2012  

  • 87 ความเห็น

ส่วนประกอบของโครงงาน

ส่วนประกอบของโครงงาน

  • ส่วนประกอบตอนต้น
  • ส่วนเนื้อหา
  • ส่วนประกอบตอนท้าย

ส่วนประกอบตอนต้น

  • หน้าปก
  • บทคัดย่อ
  • กิตติกรรมประกาศ
  • สารบัญ

ส่วนเนื้อหา

  • บทที่ 1  บทนำ
  • บทที่ 2  เอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
  • บทที่ 3  วิธีดำเนินการ
  • บทที่ 4  ผลการดำเนินการ
  • บทที่ 5  สรุปผลและข้อเสนอแนะ

ส่วนประกอบตอนท้าย

  • ภาคผนวก
  • บรรณานุกรม

Advertisement

Share this:

  • Twitter
  • Facebook

Like this:

ถูกใจ กำลังโหลด...

รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท from Aekapoj Poosathan

ส่วนประกอบของโครงงาน

  • ส่วนประกอบตอนต้น
  • ส่วนเนื้อหา
  • ส่วนประกอบตอนท้าย

ส่วนประกอบตอนต้น

  • หน้าปก
  • บทคัดย่อ
  • กิตติกรรมประกาศ
  • สารบัญ

ส่วนเนื้อหา

  • บทที่ 1  บทนำ
  • บทที่ 2  เอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
  • บทที่ 3  วิธีดำเนินการ
  • บทที่ 4  ผลการดำเนินการ
  • บทที่ 5  สรุปผลและข้อเสนอแนะ

ส่วนประกอบตอนท้าย

สวัสดีครับวันนี้จะมานำเสนอตัวอย่างการทำรายงานโครงงาน 5 บท ให้ลองนำไปศึกษาเพื่อใช้ในการจัดทำโครงงาน 5 บท ของเพื่อนๆ กันนะครับไปดูกันเลย

บทที่ 1-5 ของโครงงาน 5 บท มีดังต่อไปนี้

  • บทที่ 1 บทนำ
  • บทที่ 2 การศึกษาเอกสารอ้างอิง
  • บทที่ 3 วิธีดำเนินงานโครงการ
  • บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน
  • บทที่ 5 อภิปรายและข้อเสนอแนะ

ส่วนประกอบรายงานโครงงาน 5 บท จะประกอบไปด้วยส่วนต่าง ๆ ดังต่อไปนี้

  • หน้าปกโคงงาน ประกอบด้วย ชื่อโครงงาน ผู้จัดทำโครงงาน ที่ปรึกษาโครงงาน เป็นส่วนหนึ่งของวิชา/กิจกรรม/ชมรม ระดับชั้น ภาคเรียน ปีการศึกษา ชื่อโรงเรียน
  • บทคัดย่อ
  • กิตติกรรมประกาศ
  • คำนำ
  • สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญรูป
  • บทที่ 1 บทนำ ประกอบไปด้วย 1.แนวคิดที่มาโครงงาน 2.วัตถุประสงค์ของการศึกษา 3.ขอบเขตโครงงาน 4.วิธีดำเนินงาน 5.ประโยชน์จะได้รับ 6.นิยามศัพท์
  • บทที่ 2 การศึกษาเอกสารอ้างอิง
  • บทที่ 3 วิธีดำเนินงานโครงการ ประกอบไปด้วย 1.ตารางปฏิบัติกิจกรรมโครงงาน 2.เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการศึกษา หรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนา 3.ขั้นตอนการดำเนินโครงงาน
  • บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน ประกอบไปด้วย 1.ผลการดำเนินการ 2.การนำไปใช้
  • บทที่ 5 อภิปรายและข้อเสนอแนะ ประกอบไปด้วย 1.สรุปผลการดำเนินงานโครงงาน 2.ปัญหาและอุปสรรค 3.ข้อเสนอแนะ
  • บรรณานุกรม
  • ภาคผนวก
  • ประวัติผู้จัดทำ
ภาพตัวอย่าง รายงานโครงงาน 5 บท

ดาวน์โหลดตัวอย่างรายงานโครงงาน 5 บท

ก็จบไปแล้วนะครับสำหรับตัวอย่างการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท ไว้บทความหน้าจะนำเสนออะไรดีๆ ให้เพื่อนอีกนะครับ สำหรับบทความนี้ขอลาไปก่อน ขอบคุณที่รับชมครับ

โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ from Yok Sarinee

ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ
2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
3. จัดทำเค้าโครงของโครงงาน
4. การลงมือทำโครงงาน
5. การเขียนรายงาน
6. การนำเสนอและแสดงโครงงาน

1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ
          โดยทั่วไปเรื่องที่จะนำมาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ มักจะได้มาจากปัญหา คำถาม หรือความสนใจในเรื่องต่างๆ จากการสังเกตสิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่างๆ รอบตัว ปัญหาที่จะนำมาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ได้จากแหล่งต่างๆ กัน ดังนี้
              1. การอ่านค้นคว้าจากหนังสือ เอกสาร หนังสือพิมพ์ หรือวารสารต่างๆ
              2. การไปเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ
              3. การฟังบรรยายทางวิชาการ รายการวิทยุและโทรทัศน์ รวมทั้งการสนทนาอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างเพื่อนนักเรียนหรือกับบุคคลอื่นๆ
              4. กิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียน
              5. งานอดิเรกของนักเรียน
              6. การเข้าชมงานนิทรรศการหรืองานประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์

ในการตัดสินใจเลือกหัวข้อที่จะนำมาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ ควรพิจารณาองค์ประกอบสำคัญ ดังนี้
              1. ต้องมีความรู้และทักษะพื้นฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา
              2. สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องได้
              3. มีแหล่งความรู้เพียงพอที่จะค้นคว้าหรือขอคำปรึกษา
              4. มีเวลาเพียงพอ
              5. มีงบประมาณเพียงพอ
              6. มีความปลอดภัย 


2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
          การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล ซึ่งรวมถึงการขอคำปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จะช่วยให้นักเรียนได้แนวคิดที่ใช้ในการกำหนดขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น รวมทั้งได้ความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่จะศึกษาจนสามารถใช้ออกแบบและวางแผนดำเนินการทำโครงงานนั้นได้อย่างเหมาะสม ในการศึกษาจะต้องได้คำตอบว่า

              1. จะทำ อะไร
              2. ทำไมต้องทำ
              3. ต้องการให้เกิดอะไร
              4. ทำอย่างไร
              5. ใช้ทรัพยากรอะไร
              6. ทำกับใคร
              7. เสนอผลอย่างไร 

3. องค์ประกอบของเค้าโครงของโครงงาน 

รายงานรายละเอียดที่ต้องระบุชื่อโครงงานทำอะไร กับใคร เพื่ออะไรประเภทโครงงานวิเคราะห์จากลักษณะของประโยชน์หรือผลงานที่ได้ชื่อผู้จัดทำโครงงานผู้รับผิดชอบโครงงาน อาจเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มก็ได้ครูที่ปรึกษาโครงงานครู-อาจารย์ผู้ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษา และควบคุมการทำโครงงานของนักเรียนครูที่ปรึกษาร่วมครู-อาจารย์ผู้ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาร่วม ให้คำแนะนำในการทำโครงงานของนัีกเรียนระยะเวลาดำเนินงานระยะเวลาการดำเนินงานโครงงาน ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด กำหนดเป็นวัน หรือ เดือนก็ได้แนวคิด ที่มา และความสำคัญสภาพปัจจุบันที่เป็นความต้องการและความคาดหวังที่จะเกิดผลวัตถุประสงค์สิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดโครงงานทั้งในเชิงกระบวนการ และผลผลิตหลักการและทฤษฎี  หลักการและทฤษฎีที่นำมาใช้ในการพัฒนาโครงงานวิธีดำเนินงาน กิจกรรมหรือขั้นตอนการดำเนินงาน เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ งบประมาณ และผู้ัรับผิดชอบขั้นตอนการปฏิบัติ  วัน เวลา และกิจกรรมดำเนินการต่างๆ ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดผลที่คาดว่าจะได้รับ สภาพของผลที่ต้องการให้เกิด ทั้งที่เป็นผลผลิต กระบวนการ และผลกระทบเอกสารอ้างอิงสื่อเอกสาร ข้อมูลที่ได้จากแหล่งต่างๆ ที่นำมาใช้ในการดำเนินงาน


 4. การลงมือทำโครงงาน
              เมื่อเค้าโครงของโครงงานได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว ก็เสมือนว่าการจัดทำโครงงานได้ผ่านพ้นไปแล้วมากกว่าครึ่ง ขั้นตอนต่อไปจะเป็นการลงมือพัฒนาตามขั้นตอนที่วางแผนไว้ ดังนี้

             4.1 การเตรียมการ
              การเตรียมการ ต้องเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอื่นๆ ที่จะใช้ในการพัฒนาให้พร้อมด้วย และควรเตรียมสมุดบันทึกหรือบันทึกเป็นแฟ้มข้อความไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ สำหรับบันทึกการทำกิจกรรมต่างๆ ระหว่างทำโครงงาน ได้แก่ ได้ปฏิบัติอย่างไร ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและแก้ไขได้หรือไม่อย่างไร รวมทั้งข้อสังเกตต่างๆ ที่พบ

             4.2 การลงมือพัฒนา
                  1. ปฏิบัติตามแผนงานที่วางไว้ในเค้าโครง แต่อาจเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมได้ถ้าพบว่าจะช่วยทำให้ผลงานดีขึ้น
                  2. จัดระบบการทำงานโดยทำส่วนที่เป็นหลักสำคัญๆ ให้แล้วเสร็จก่อน จึงค่่อยทำ ส่วนที่เป็นส่วนประกอบหรือส่วนเสริมเพื่อให้โครงงานมีความสมบูรณ์มากขึ้น และถ้ามีการแบ่งงานกันทำ ให้ตกลงรายละเอียดในการต่อเชื่อมชิ้นงานที่ชัดเจนด้วย
                  3. พัฒนาระบบงานด้วยความละเอียดรอบคอบ และบันทึกข้อมูลไว้อย่างเป็นระบบและครบถ้วน 

             4.3 การทดสอบผลงานและแก้ไข
          การตรวจสอบความถูกต้องของผลงาน เป็นความจำเป็นเพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่พัฒนาขึ้นทำงานได้ถูกต้องตรงกับความต้องการ ที่ระบุไว้ในเป้าหมายและทำด้วยประสิทธิภาพสูงด้วย 

             4.4 การอภิปรายและข้อเสนอแนะ
                  เมื่อพัฒนาผลงานเรียบร้อยแล้ว ให้จัดทำสรุปด้วยข้อความที่สั้นกะทัดรัดอย่างครอบคลุม เพื่อช่วยให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึงสิ่งที่ค้นพบจากการทำโครงงาน และทำการอภิปรายผลด้วย เพื่อพิจารณาข้อมูลและผลที่ได้ พร้อมกับนำ ไปหาความสัมพันธ์กับหลักการ ทฤษฎี หรือผลงานที่ผู้อื่นได้ศึกษาไว้แล้ว ทั้งนี้ยังรวมถึงการนำหลักการ ทฤษฎี หรือผลงานของผู้อื่นมาใช้ประกอบการอภิปรายผลที่ได้ด้วย

             4.5 แนวทางการพัฒนาโครงงานในอนาคตและข้อเสนอแนะ
                  เมื่อทำโครงงานเสร็จสิ้นลงแล้ว นักเรียนอาจพบข้อสังเกต ประเด็นที่สำคัญ หรือปัญหา ซึ่งสามารถเขียนเป็นข้อเสนอแนะและสิ่งที่ควรจะศึกษาและหรือใช้ประโยชน์ต่อไปได้  

5. การเขียนรายงาน
          การเขียนรายงานเป็นวิธีการสื่อความหมายเพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจแนวคิด วิธีดำเนินการศึกษาค้นคว้า ข้อมูลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ เกี่ยวกับโครงงานนั้น ในการเขียนรายงานนักเรียนควรใช้ภาษาที่อ่านง่าย ชัดเจน กระชับ และตรงไปตรงมา ให้ครอบคลุมหัวข้อต่างๆเหล่านี้

             5.1 ส่วนนำ
                  ส่วนนำ เป็นการให้ข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานนั้นซึ่งประกอบด้วย
                  1. ชื่อโครงงาน
                  2. ชื่อผู้ทำโครงงาน
                  3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
                  4. คำขอบคุณ เป็นคำกล่าวขอบคุณบุคคลหรือหน่วยงาน ที่มีส่วนช่วยทำให้โครงงานสำเร็จ
                  5. บทคัดย่อ อธิบายถึงที่มา ความสำคัญ วัตถุประสงค์ วิธีดำเนินการ และผลที่ได้โดยย่อ

             5.2 บทนำ
                  บทนำเป็นส่วนรายละเอียดของเนื้อหาของโครงงานซึ่งประกอบด้วย
                  1. ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
                  2. เป้าหมายของการศึกษาค้นคว้า
                  3. ขอบเขตของโครงงาน

             5.3 หลักการและทฤษฎี
                  หลักการและทฤษฎี เป็นส่วนสรุปข้อมูลที่ได้จากการศึกษาหาข้อมูลหรือหลักการ ทฤษฎี หรือวิธีการที่จะนำมาใช้ในการพัฒนาโครงงาน ซึ่งรวมถึงการระบุผลงานของผู้อื่นที่นักเรียนนำมาเปรียบเทียบหรือพัฒนาเพิ่มเติมด้วย 

             5.4 วิธีดำเนินการ
                  วิธีดำเนินการ อธิบายขั้นตอนการดำเนินงานโดยละเอียด พร้อมทั้งระบุปัญหาหรืออุปสรรคที่พบพร้อมทั้งวิธีการที่ใช้แก้ไข พร้อมทั้งระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการทำงาน  

             5.5 ผลการศึกษา
                  ผลการศึกษา นำเสนอข้อมูลหรือระบบที่พัฒนาได้ โดยอาจแสดงเป็นตาราง หรือ กราฟ หรือข้อความ ทั้งนี้ให้คำนึงถึงความเข้าใจของผู้อ่านเป็นหลัก  

             5.6 สรุปผลและข้อเสนอแนะ
                  สรุปผลและข้อเสนอแนะ อธิบายผลสรุปที่ได้จากการทำ งาน ถ้ามีการตั้งสมมติฐานควรระบุด้วยว่าข้อมูลที่ได้สนับสนุนหรือคัดค้านสมมติฐานที่ตั้งไว้หรือยังสรุปไม่ได้ นอกจากนั้นยังควรกล่าวถึงการนำ ผลการทดลองหรือพัฒนาไปใช้ประโยชน์ อุปสรรคของการทำโครงงาน หรือข้อสังเกตที่สำคัญ หรือข้อผิดพลาดบางประการที่เกิดขึ้นจากการทำ โครงงานนี้ รวมทั้งข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขหากจะมีผู้ศึกษาค้นคว้าในเรื่องทำนองนี้ต่อไปในอนาคตด้วย  

             5.7 ประโยชน์
                  ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน ระบุประโยชน์ที่นักเรียนได้รับจากการพัฒนาโครงงานนั้น และประโยชน์ที่ผู้ใช้จะได้รับจากการนำผลงานของโครงงานไปใช้ด้วย  

             5.8 บรรณานุกรม
                  บรรณานุกรม รวบรวมรายชื่อหนังสือ วารสาร เอกสาร หรือเว็บไซด์ต่างๆ ที่ผู้ทำ โครงงานใช้ค้นคว้า หรืออ่านเพื่อศึกษาข้อมูลและรายละเอียดต่างๆ ที่นำมาใช้ประโยชน์ในการทำ โครงงานนี้การเขียนเอกสารบรรณานุกรมต้องให้ถูกต้องตามหลักการเขียนด้วย  

             5.9 การจัดทำคู่มือการใช้งาน
                  หาโครงงานที่นักเรียนจัดทำ เป็นการพัฒนาระบบใหม่ขึ้นมา ให้นักเรียนจัดทำคู่มืออธิบายวิธีการใช้ผลงานนั้นโดยละเอียด ซึ่งประกอบด้วย
                  1. ชื่อผลงาน
                  2. ความต้องการของระบบคอมพิวเตอร์ ระบุรายละเอียดของคอมพิวเตอร์ที่ต้องมีเพื่อจะใช้ผลงานนั้นได้
                  3. ความต้องการของซอฟต์แวร์ ระบุรายชื่อซอฟต์แวร์ที่ต้องมีอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อจะให้ผลงานนั้นทำงานได้อย่างสมบูรณ์
                  4. คุณลักษณะของผลงาน อธิบายว่าผลงานนั้นทำ หน้าที่อะไรบ้าง รับอะไรเป็นข้อมูลขาเข้าและส่วนอะไรออกมาเป็นข้อมูลขาออก
          5. วิธีการใช้งานของแต่ละฟังก์ชัน อธิบายว่าจะต้องกดคำสั่งใด หรือกดปุ่มใด เพื่อให้ผลงานทำงานในฟังก์ชันหนึ่งๆ   

6. การนำเสนอและแสดงโครงงาน
          การนำเสนอและการแสดงผลงานเป็นขั้นตอนที่สำคัญอีกขั้นตอนหนึ่งของการทำโครงงาน เพื่อแสดงออกถึงผลิตผลความคิด ความพยายามในการทำงานที่ผู้ทำโครงงานได้ทุ่มเท และเป็นวิธีทำให้ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจถึงผลงานนั้น การเสนอผลงานอาจทำได้ในหลายรูปแบบต่างๆ กัน เช่น การแสดงผลงานโดยไม่มีการอธิบายประกอบการรายงานด้วยคำพูดในที่ประชุม การจัดนิทรรศการโดยโปสเตอร์และอธิบายด้วยคำพูด เป็นต้น โดยผลงานที่นำมาเสนอหรือจัดแสดงควรประกอบด้วยสิ่งต่อไปนี้
              1. ชื่อโครงงาน
              2. ชื่อผู้จัดทำโครงงาน
              3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
              4. คำอธิบายถึงที่มาและความสำคัญของโครงงาน
              5. วิธีการดำเนินการที่สำคัญ
              6. การสาธิตผลงาน
              7. ผลการสังเกตและข้อสรุปสำคัญที่ได้จากการทำโครงงาน

 

องค์ประกอบเล่มของโครงงาน 5 บท ประกอบด้วยทั้งหมดกี่ส่วนอะไรบ้าง

บทที่ 1-5 ของโครงงาน 5 บท มีดังต่อไปนี้.
บทที่ 1 บทนำ.
บทที่ 2 การศึกษาเอกสารอ้างอิง.
บทที่ 3 วิธีดำเนินงานโครงการ.
บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน.
บทที่ 5 อภิปรายและข้อเสนอแนะ.

ส่วนของเนื้อหารายงานโครงงาน 5 บทมีอะไรบ้าง

6. เนื้อเรื่อง บทที่1 บทนำ บทที่2 เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง บทที่3 วิธีดำเนินโครงกำร/วิธีดำเนินกำรวิจัย บทที่4 ผลกำรทดลอง/วิจัย และกำรวิเครำะห์ข้อมูล บทที่5 สรุป อภิปรำยและข้อเสนอแนะ

โครงงานมีกี่บท แต่ละบทมีอะไรบ้าง

การเขียนโครงงาน 5 บท (บทที่ 1 บทนำ (1.2 วัตถุประสงค์ของการจัดสร้างโครงงา….
บทที่ 1 บทนำ 1.2 วัตถุประสงค์ของการจัดสร้างโครงงาน ... .
บทที่ 2 ทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการจัดสร้างโครงงาน ... .
บทที่ 3 วิธีดำเนินการ ... .
บทที่ 4 ผลการดำเนินการโครงงาน ... .
บทที่ 5 การสรุปผลการจัดสร้างโครงงานปัญหาและข้อเสนอแนะ.

การเขียนรายงานโครงงานมีส่วนประกอบอะไรบ้าง

องค์ประกอบของการเขียนรายงานโครงงาน แบ่งกว้าง ๆ เป็น ๓ ส่วน ดังนี้ ๑. ส่วนปกและส่วนต้น ประกอบด้วย ๑) ชื่อโครงงาน ๒) ชื่อผู้ทาโครงงาน ชั้น โรงเรียน และวันเดือนปีที่จัดทา ๓) ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ๔) คานา ๕) สารบัญ ๖) สารบัญตาราง หรือภาพประกอบ (ถ้ามี) ๗) บทคัดย่อสั้น ๆ ที่บอกเค้าโครงอย่างย่อ ๆ ซึ่งประกอบด้วย เรื่อง ...

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv แปลภาษาอาหรับ-ไทย lmyour แปลภาษา ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค Google Translate การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 หยน อาจารย์ ตจต เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 บบบย ศัพท์ทหารบก แปลภาษาจีน การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 1 ขุนแผนหลวงปู่ทิม มีกี่รุ่น ชขภใ ตม.เชียงใหม่ เซ็นทรัลเฟสติวัล พจนานุกรมศัพท์ทหาร รหัสจังหวัด อําเภอ ตําบล รหัสประจำจังหวัด 77 จังหวัด สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม หนังสือราชการ ตัวอย่าง ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คอร์ด อเวนเจอร์ส ทั้งหมด แปลภาษา มาเลเซีย ไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค ่้แปลภาษา Egp G no Reconguista Google map ขุนแผนหลวงปู่ทิมรุ่นแรก ข้อสอบภาษาไทยพร้อมเฉลย ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง ค้นหา ประวัติ นามสกุล จองคิว ตม เชียงใหม่ ชื่อเต็ม ร.9 คําอ่าน ดีแม็กมือสองราคาไม่เกิน350000 ตัวอย่างรายงานการประชุมสั้นๆ