พยาบาลอาชีวอนามัยมีหน้าที่อย่างไร

อาชีวอนามัยคืออะไร?

 หน้าแรก

» ความรู้สุขภาพและบทความแพทย์ » อาชีวอนามัยคืออะไร? 

พยาบาลอาชีวอนามัยมีหน้าที่อย่างไร

อาชีวอนามัยคืออะไร?

อาชีวอนามัย (Occupational Health) เป็นการส่งเสริมสุขภาพการทำงานให้คงไว้ซึ่งสุขภาพกาย ใจ และความเป็นอยู่ที่ดีในสังคม รวมทั้งเป็นการป้องกันไม่ให้เกิดการ เบี่ยงเบนด้านสุขภาพที่มีสาเหตุจากการทำงานของคนทำงานในทุกอาชีพ โดยการดูแลสภาพแวดล้อม เครื่องมือ กระบวนการให้เหมาะสมกับสภาพกาย และจิตใจของคนทำงาน โดยการปรับงานแต่ละงานให้เข้ากับคนแต่ละคน

องค์การอนามัยโลก (WHO) และองค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) ได้ให้นิยามโรคจากการประกอบอาชีพและโรคเนื่องจากงานตามสาเหตุปัจจัยไว้ดังนี้

  1. โรคจากการประกอบอาชีพ (Occupational Diseases) หมายถึง โรคหรือการเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นกับคนทำงาน โดยมีสาเหตุจากการสัมผัสสิ่งคุกคามสุขภาพในที่ทำงาน ซึ่งอาการเจ็บป่วยเกิดขึ้นกับผู้ปฏิบัติงานในขณะทำงานหรือหลังจากการทำงานเป็นเวลานาน โรคจากการประกอบอาชีพบางโรคอาจเกิดภายหลังหยุดการทำงานหรือลาออกจากงานนั้นๆแล้ว ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับประเภทของสิ่งคุกตามสุขภาพ รวมทั้งโอกาสหรือ วิธีการที่ได้รับ ตัวอย่างของโรคที่สำคัญ เช่น โรคพิษตะกั่ว โรคซิลิโคสิส(โรคปอดจากฝุ่นหิน) โรคพิษสารตัวทำละลายต่างๆ (Organic solvent toxicity) เป็นต้น
  2. โรคเนื่องจากงาน (Work-related Diseases) หมายถึง โรคหรือความเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นกับคนทำงาน โดยมีสาเหตุจากปัจจัยหลายอย่างประกอบกัน และการทำงานในอาชีพเป็นปัจจัยหนึ่งของการเกิดโรค ตัวอย่างเช่น โรคเบาหวานจะมีอาการโรคเส้นเอ็นอักเสบได้ง่าย ดังนั้นลักษณะการท างานในอาชีพ หากมีการ ออกแรงซ้ำๆ หรือมีท่าทางการท างานที่ไม่ถูกต้อง ก็จะแสดงอาการขึ้น เป็นต้น
  3. โรคจากมลพิษสิ่งแวดล้อม (Environmental Diseases) หมายถึงผลกระทบที่เกิดจากมลพิษปนเปื้อน ในดิน น้ำ อากาศ ทั้งจากธรรมชาติและกิจกรรมของมนุษย์ ที่ทำให้เกิดโรคหรือผลกระทบทั้งแบบเฉียบพลันและเรื้อรัง

การป้องกันโรค

  1. การรู้สาเหตุของการเกิดโรค ได้แก่ รู้ว่าโรคปอดที่ทำให้คนงานและผู้อาศัยใกล้เคียงโรงงานโม่หินที่มีฝุ่นหินทรายฟุ้งกระจายนั้นเป็นโรคปอดอักเสบจากฝุ่นซิลิกา การป้องกันคือคนทำงานต้องใส่เครื่องป้องกันฝุ่น และต้องกำจัดฝุ่นหินนั้นไม่ให้คนไปสัมผัส โดยการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมให้สะอาด เป็นต้น

        2.การรู้การกระจายของโรค โดยใช้วิธีการทางระบาดวิทยา เพื่อให้ทราบกลุ่มบุคคลที่เกิดโรค พื้นที่เกิดโรคและเวลาในการเกิดโรค (person, place, time) จะได้ควบคุมป้องกันไม่ให้โรคแพร่กระจายได้อย่างทันท่วงที ในขณะเดียวกันต้องมีการอบรมสุขศึกษาและความรู้เรื่องโรคต่างๆให้กับพนักงานเพื่อทราบจะได้ป้องกันตัวเองอย่างถูกวิธีด้วย

  1. การรู้ธรรมชาติของการเกิดโรค เนื่องจากโรคแต่ละโรคและกลุ่มโรคจะมีการดำเนินของโรคที่ต่างกันออกไป ซึ่งมีผลต่อการกำหนดวิธีการป้องกันที่เหมาะสม ได้แก่ การป้องกันระยะที่เริ่มได้รับปัจจัยก่อโรค ระยะสะสมที่ยังไม่แสดงอาการ ระยะปรากฏอาการเริ่ม ระยะโรครุนแรง และระยะหายของโรคที่อาจตายหรือปรากฏความพิการ เป็นต้น

“เมื่อรู้ถึงสาเหตุของโรคแล้วก็จะทำให้สามารถวางแผนการรักษาได้อย่างถูกต้องแม่นยำ แต่ที่สำคัญที่สุดคือต้องมีมาตรการการป้องกันที่รอบคอบชัดเจน เพราะการป้องกันที่ดีจะนำมาซึ่งสุขภาพอนามัยที่แข็งแรงไม่เจ็บป่วยง่าย ทำให้คนทำงานมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดี ซึ่งจะทำให้งานที่ออกมานั้นได้ประสิทธิภาพ เป็นผลดีกับทั้งนายจ้างและลูกจ้าง”

พยาบาลอาชีวอนามัยมีหน้าที่อย่างไร

. ความหมาย  ความสำคัญและขอบเขตของงานอาชีวอนามัย

    รากฐานของคำว่าอาชีวอนามัย คำว่าอาชีวอนามัยมาจากคำสองคำผสมผสานกัน

อาชีวะ (Occupation) : หมายถึง บุคคลที่ประกอบสัมมาชีพ หรือคนที่ประกอบอาชีพ
อนามัย (Health) : หมายถึง สุขภาพอนามัย ความเป็นอยู่ที่สุขสมบูรณ์ของผู้ประกอบอาชีพ

เมื่อนำสองคำนี้มารวมกันเป็นคำว่า อาชีวอนามัย (Occupational health) หมายถึงงานที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมดูแล สุขภาพอนามัยของผู้ประกอบอาชีพทั้งหมดเป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและส่งเสริมสุขภาพอนามัยรวมทั้งการดำรงคงไว้ซึ่งสภาพร่างกายและจิตใจที่สมบูรณ์ของผู้ประกอบอาชีพทุกอาชีพ

วัตถุประสงค์ของการจัดบริการอาชีวอนามัย1. เพื่อส่งเสริมสุขภาพผู้ประกอบอาชีพทุกประเภท  ให้มีสุขภาพสมบรูณ์ทั้งทางร่างกาย  จิตใจและสังคม
2. เพื่อป้องกันและควบคุม   โรค  การบาดเจ็บหรืออุบัติเหตุจากการทำงานอันเนื่องจากการประกอบอาชีพ   ป้องกันปัจจัยเสี่ยงต่อโรคและอันตรายที่มีผลต่อสุขภาพของคนทำงาน
3.เพื่อปรับสภาพงานและสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับคนทำงานและปรับคนทำงานให้
สภาพงาน

เป้าหมายของงานอาชีวอนามัย         
        1. ผู้ประกอบอาชีพมีสุขภาพที่ดี

 
       2.ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุและโรคภัยไข้เจ็บของผู้ประกอบอาชีพ
        3. ผู้ประกอบอาชีพได้รับสวัสดิการที่เหมาะสม
        4. ประสิทธิภาพการทำงานที่ดี
          ลักษณะงานด้านอาชีวอนามัย องค์การอนามัยโลก (
WHO) และองค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International   Labour  Organization :ILO) ได้ประชุมร่วมกันให้ลักษณะงานด้าน อาชีวอนามัยไว้ ประกอบด้วยลักษณะงาน 5 ประการสำคัญคือ
      
1. การส่งเสริม ( Promotion) หมายถึง การส่งเสริมและธำรงรักษาไว้ เพื่อให้แรงงานทุกอาชีพมีสุขภาพ ร่างกาย ที่แข็งแรง มี จิตใจ ที่สมบูรณ์ที่สุด และมีความเป็นอยู่ในสังคมที่ดีตามสถานะที่พึงมีได้
     
2. การป้องกัน ( Prevention) หมายถึง งานด้านป้องกันผู้ที่ทำงาน ไม่ให้ มีสุขภาพอนามัย เสื่อมโทรมหรือผิดปกติอันมีสาเหตุอันเนื่องมาจากสภาพ สภาวะการทำงานที่ผิดปกติ
     
3. การป้องกันคุ้มครอง ( Protection) หมายถึง การปกป้องคนทำงานในสถานประกอบการ หรือลูกจ้างไม่ให้ทำงานที่เสี่ยงต่อสภาพการทำงานที่ อัน   
        
4. การจัดการงาน ( Placing) หมายถึง การจัดสภาพต่างๆของการทำงาน และปรับสภาพ ให้ทำงานใน สิ่งแวดล้อม ของการทำงานที่เหมาะสม

      5. การปรับงานให้กับคนและปรับคนให้กับงาน ( Adaptation) หมายถึง การปรับสภาพของงานและของคนให้สามารถทำงานได้อย่างเหมาะสม คำนึงถึงสภาพทางสรีระวิทยามากที่สุด

พยาบาลอาชีวอนามัยมีหน้าที่อย่างไร *

บทบาทพยาบาลอาชีวอนามัย ►การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค ◦การประเมินพฤติกรรมสุขภาพและปัจจัยเสี่ยง ◦โครงการสร้างความตระหนักและความรู้เกี่ยวกับสิ่งคุกคามด้าน สุขภาพ ◦การส่งเสริมรูปแบบการด าเนินชีวิตที่เอื้อต่อสุขภาพ เช่น การออก ก าลังกายและการงดสูบบุหรี่

พยาบาลมีความสําคัญอย่างไร

บทบาทหน้าที่ในการปฏิบัติงานของพยาบาล เริ่มตั้งแต่การประเมินปัญหาภาวะสุขภาพที่ต้องการการดูแลและให้การช่วยเหลือเพื่อให้ผู้ป่วยปรับตัวได้ นำแผนการรักษาของแพทย์สู่การปฏิบัติ ป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน และให้การฟื้นฟูและสร้างเสริมสุขภาพโดยคำนึงถึงความเป็นองค์รวมและความเป็นปัจเจกบุคคลที่มีความต้องการที่แตกต่างกันในผู้ป่วย ...

อาชีวอนามัยมีความหมายว่าอย่างไร

อาชีวอนามัย (Occupational Health) เป็นการส่งเสริมสุขภาพการทำงานให้คงไว้ซึ่งสุขภาพกาย ใจ และความเป็นอยู่ที่ดีในสังคม รวมทั้งเป็นการป้องกันไม่ให้เกิดการ เบี่ยงเบนด้านสุขภาพที่มีสาเหตุจากการทำงานของคนทำงานในทุกอาชีพ โดยการดูแลสภาพแวดล้อม เครื่องมือ กระบวนการให้เหมาะสมกับสภาพกาย และจิตใจของคนทำงาน โดยการปรับงานแต่ละงานให้ ...

บทบาทพยาบาลชุมชน มีอะไรบ้าง

พยาบาลชุมชนมีบทบาทหน้าที่หลักในการ จัดบริการสุขภาพและให้การดูแลสุขภาพของ ประชาชน จัดกลุ่มประชากรเปูาหมายทั้งตาม อายุ ตามภาวะสุขภาพและปัญหาสุขภาพ ได้แก่ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสุขภาพดี กลุ่มเจ็บปุวย และตาม ความต้องการเฉพาะโดยเน้นบทบาทในการดูแล สุขภาพเชิงรุกมากกว่าเชิงรับ เน้นการให้บริการ ด้านการปูองกันโรคและส่งเสริมสุขภาพให้ ...