ภัยความมั่นคงรูปแบบใหม่ มีอะไรบ้าง

ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง

  • หน้าหลัก
  • ยุทธศาสตร์ชาติ
  • ด้านความมั่นคง

     ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง มีเป้าหมายการพัฒนาที่สำคัญ คือ ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เน้นการบริหารจัดการสภาวะแวดล้อมของประเทศให้มีความมั่นคง ปลอดภัย เอกราช อธิปไตย และมีความสงบเรียบร้อยในทุกระดับตั้งแต่ระดับชาติ สังคม ชุมชน มุ่งเน้นการพัฒนาคน เครื่องมือ เทคโนโลยี และระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ให้มีความพร้อมสามารถรับมือกับภัยคุกคามและภัยพิบัติได้ทุกรูปแบบและทุกระดับความรุนแรง ควบคู่ไปกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านความมั่นคงที่มีอยู่ในปัจจุบันและที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต ใช้กลไกการแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการทั้งกับส่วนราชการ ภาคเอกชน ประชาสังคม และองค์กรที่ไม่ใช่รัฐ รวมถึงประเทศเพื่อนบ้านและมิตรประเทศทั่วโลกบนพื้นฐานของหลักธรรมาภิบาล

ภัยความมั่นคงรูปแบบใหม่ มีอะไรบ้าง

ตัวชี้วัด

สื่อที่เกี่ยวข้อง

  • หน้าหลัก
  • โครงการวิจัย
  • [ข้อมูลทั่วไป] 2560 : รัฐไทยกับกรอบแนวคิดภัยความม...

รายละเอียดข้อมูลโครงการวิจัย

รหัสโครงการวิจัย

PCRU_2560_N008

ปีงบประมาณ

2560

ประเภทโครงการ

โครงการวิจัยเดี่ยว

ประเภททุน

สร้าง สะสมองค์ความรู้ที่มีศักยภาพ

ชื่อโครงการวิจัย

รัฐไทยกับกรอบแนวคิดภัยความมั่นคงรูปแบบใหม่

ชื่อโครงการวิจัย (EN)

Participation of People on the Conservation Aquatic Natural Resource

นักวิจัย

1. อาจารย์ภาราดา ชัยนิคม (หัวหน้าโครงการ, ร้อยละการทำวิจัย 80 )
2. อาจารย์ณัฐวุฒิ สุทธิประภา (ผู้ร่วมวิจัย, ร้อยละการทำวิจัย 20 )

สาขาวิชา/กลุ่มงาน

สาขาวิชา รัฐศาสตร์

หลักสูตร

รัฐศาสตรบัณฑิต (ร.บ.)

คณะ/หน่วยงาน

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

บทคัดย่อ

แนวคิดเรื่องความมั่นคงรูปแบบใหม่ คือมโนทัศน์เรื่องความมั่นคงที่พัฒนาขึ้นมาช่วงหลังสงครามเย็น มีความหมายถึงภัยคุกคามที่มีประเด็นหลากหลายแตกต่างจากภัยคุกคามรูปแบบเดิมซึ่งเน้นเรื่องการทหารเป็นหลัก เนื้อหาเน้นภัยที่คุกคามความเป็นมนุษย์ และเชื่อกันว่าเป็นภัยคุกคามที่ก่อให้เกิดความไร้เสถียรภาพทั้งต่อรัฐและต่อปัจเจกชน อีกทั้งยังเป็นภัยคุกคามที่ไม่ได้มีขอบเขตจำกัดแค่ในรัฐใดรัฐหนึ่ง หากแต่มีลักษณะข้ามชาติ และเป็นภัยที่มีความหลากหลายมากขึ้นทั้งในแง่ประเภทและความเข้มข้น อย่างไรก็ตาม เนื่องจากมโนทัศน์ดังกล่าวมีการขยายเนื้อหาเรื่องความมั่นคงออกไปในเกือบทุกมิติแต่มีเป้าหมายสุดท้ายอยู่ที่เดิม จึงทำให้การนำมโนทัศน์ไปใช้ไม่ทรงพลังเท่าใดนัก และในแง่นี้มโนทัศน์เรื่องความมั่นคงรูปแบบใหม่จึงดูเหมือนเหล้าเก่าที่อยู่ในขวดใหม่แต่เพียงเท่านั้น

The security concept of Non-Traditional Threat was developed in the post-cold war era. It has been used to defy threats which are not the Traditional Threats, emphasizing on the militaries’ affair. This new concept of threat prioritizes on threats which threaten humanity. The main idea of the concept of Non-Traditional Threat is ‘the more threaten on humanity, the more insecurity for the state(s) and the individual (s)”. Moreover, Non-Traditional Threat is an inter-territories threat and has a more intensive variety of forms. Nevertheless, while this new concept has been being expanded in more many dimensions. Its objective has still-stayed hesitantly where it was. This causes the ineffectively application of this new concept s. So, the security concept of Non-Traditional Threat is not a promised ‘new wine in old bottles’ but just a tentative concept. An ‘old wine in new bottles.

คำสำคัญ

รัฐไทย,ภัยความมั่นคงรูปแบบใหม่,Thai State,Non-Traditional Security Threats

สถานะโครงการ

ดำเนินการเสร็จสิ้น

บทคัดย่อ

PDF ดาวน์โหลด เปิด : 144 ครั้ง

เล่มรายงาน

PDF ดาวน์โหลด เปิด : 550 ครั้ง / ดาวน์โหลด : 4 ครั้ง
(จำกัดจำนวน 8 หน้า เข้าสู่ระบบสำหรับเอกสารฉบับเต็ม)

เปิดดู

918 ครั้ง

หมายเหตุ

เอกสารเพิ่มเติม

แสดง 1 ถึง 1 จาก 1 ผลลัพธ์

ไทยกับความมั่นคงรูปแบบใหม่ : การค้ามนุษย์ การย้ายถิ่นแบบไม่ปกติ อาชญากรรมข้ามชาติ และความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์


ภัยความมั่นคงรูปแบบใหม่ มีอะไรบ้าง

โครงการวิจัยเรื่อง ไทยกับความมั่นคงรูปแบบใหม่ : การค้ามนุษย์ การย้ายถิ่นแบบไม่ปกติ อาชญากรรมข้ามชาติ และความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์
(Thailand and Non-Traditional Security: Human Trafficking, Irregular  Migration, Transnational Crime, and Cyber Crime)
คณะผู้วิจัย รองศาสตราจารย์ ดร.กิตติ ประเสริฐสุข, อาจารย์อนุสรณ์ ชัยอักษรเวช, จินตวัฒน์ ศิริรัตน์
สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

         โครงการวิจัยเรื่อง “ไทยกับความมั่นคงรูปแบบใหม่: การค้ามนุษย์ การย้ายถิ่นแบบไม่ปกติ อาชญากรรมข้ามชาติ และความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์” มุ่งศึกษาการดำเนินการของไทยต่อความมั่นคงรูปแบบใหม่ด้วยการวิเคราะห์ความท้าทายทั้งในปัจจุบันและอนาคต ได้แก่ การค้ามนุษย์ การย้ายถิ่นแบบไม่ปกติ และความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ ซึ่งถือเป็นอาชญากรรมข้ามชาติ การศึกษาและวิเคราะห์เริ่มจากสภาพปัญหา กลไกรับมือปัญหาระดับชาติของไทย ความร่วมมือของอาเซียน ความร่วมมือทวิภาคีของไทยกับต่างประเทศ แนวปฏิบัติจากต่างประเทศ ไปจนถึงข้อสรุปและข้อเสนอแนะ โดยพบว่า ภัยคุกคามความมั่นคงรูปแบบใหม่ที่ไทยเผชิญอยู่ต้องอาศัยนโยบายและมาตรการรับมืออย่างมีประสิทธิภาพและรอบด้าน อีกทั้งต้องอาศัยความร่วมมือกับหุ้นส่วนต่างประเทศในการแก้ไขปัญหาร่วมกัน โดยเฉพาะในฐานะชาติสมาชิกอาเซียนซึ่งมีพลวัตและความท้าทาย

ไทยกับความมั่นคงรูปแบบใหม่ (367 ครั้ง) ดาวน์โหลด


Share :

ภัยความมั่นคงรูปแบบใหม่ มีอะไรบ้าง
ภัยความมั่นคงรูปแบบใหม่ มีอะไรบ้าง


กลับไปหน้าหลัก