ขั้นตอนใดของการจัดทำอัลกอริทึม

1. ข้อใดคือความหมายของ Algorithm   1. กระบวนการแก้ปัญหาที่สามารถเข้าใจได้   2. การพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์   3. รูปแบบการเขียนโปรแกรม   4. ขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม       2. แบบจำลองนามธรรมของคอมพิวเตอร์ คิดค้นขึ้นโดยใคร   1. ชาร์ลส์ แบบเบจ 2. แอลัน ทัวริง   3. ไลนัส ทอร์วัลด์ส 4. เซมัวร์ เครย์       3. การคิดเชิงคำนวณ คืออะไร   1. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี   2. กระบวนการแก้ปัญหาในหลากหลายลักษณะ   3. กระบวนการคิดเชิงวิเคราะห์   4. การย่อยปัญหาหรือระบบที่ซับซ้อนออกเป็นส่วนเล็กๆ       4. การพัฒนาแนวทางแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นเป็นตอนอยู่ใน 4 หลักของการคิดเชิงคำนวณใด   1. Decomposition (การย่อยปัญหา)     2. Pattern Recognition (การจดจำรูปแบบ)     3. Abstraction (ความคิดด้านนามธรรม)     4. Algorithm Design (การออกแบบอัลกอริทึ่ม)         5. การมุ่งความคิดไปที่ข้อมูลสำคัญ และคัดกรองส่วนที่ไม่เกี่ยวข้องออกไป เพื่อให้จดจ่อเฉพาะสิ่งที่เราต้องการจะทำอยู่ใน 4 หลักของการคิดเชิงคำนวณใด   1. Decomposition (การย่อยปัญหา)   2. Pattern Recognition (การจดจำรูปแบบ)   3. Abstraction (ความคิดด้านนามธรรม)   4. Algorithm Design (การออกแบบอัลกอริทึ่ม)       6. ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ใดเป็นหน่วยประมวลผล   1. RAM 2. ROM   3. CPU 4. DVD       7. อุปกรณ์ใดไม่ใช่หน่วยรับข้อมูล   1. คีบอร์ด 2. เมาส์   3. ไมโครโฟน 4. RAM       8. ตัวแยกประเภทโดยทั่วไปนิยมแบ่งออกเป็นกี่ประเภท   1. 2 ประเภท 2. 3 ประเภท   3. 4 ประเภท 4. 5 ประเภท       9. ข้อใดคือองค์ประกอบหลักสำคัญของระบบการรู้จำแบบ   1. ลักษณะเด่น, การแบ่งประเภท     2. ลักษณะเด่น, ตัวแยกประเภท     3. ตัวแยกประเภท, การแบ่งประเภท     4. การแบ่งกลุ่ม, การแบ่งประเภท     10. การอนุมานหมายถึง   1. แบบจำลองความคิด - การสร้างวัตถุเสมือนจากสิ่งอื่นที่เป็นรูปธรรม หรือนามธรรม   2. การกล่าวถ้อยคำในเชิงแสดงความคิดเห็นและปรึกษา   3. การทำงานของสำเนียงทางจิตการแยกโครงสร้างบางองค์ประกอบ  องค์ประกอบบางอย่างและการลบออกจากรายละเอียดอื่น ๆ   4. แนวคิดที่มีสัญญาณของชุดขององค์ประกอบ     11. ประโยชน์ของการคิดเชิงนามธรรมคืออะไร   1. ช่วยให้เข้าใจปัญหา และมองเห็นปัญหาได้ชัดเจนขึ้น     2. ทำให้เห็นรายละเอียดของสิ่งที่สนใจได้ชัดเจนทั้งหมด     3. การออกแบบชิ้นงานตรงกับสภาพจริงทุกประการ     4. ช่วยลดขั้นตอนการทำงานที่มีความซ้ำซ้อน         12. การคิดเชิงคำนวณมีประโยชน์อย่างไร   1. ช่วยให้มีทักษะการคิดเหมือนคอมพิวเตอร์     2. แก้ปัญหาได้อย่างเป็นระบบและมีขั้นตอน     3. ตอบปัญหาโจทย์ทางคณิตศาสตร์ได้อย่างรวดเร็ว     4. จดจำข้อมูลได้เป็นจำนวนมาก         13. หลักการคิดเชิงคำนวณสามารถนำไปประยุกต์ในสถานการณ์ใดได้บ้าง   1. การค้นหาสินค้าในห้างสรรพสินค้า   2. การวางแผนเปิดร้านอาหารในงานเทศกาลโรงเรียน   3. การคำนวณสถิติการทำประตูของนักกีฬาฟุตบอล   4. ถูกทุกข้อ       14. สถานการณ์ในข้อใดใช้หลักการคิดเชิงคำนวณ   1. แพทย์วิเคราะห์หาสาเหตุการป่วยเป็นโรคไข้เลือดออกของผู้ป่วยในชุมชนโดยการสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้อง เพื่อหาความเกี่ยวข้อง ระหว่างสภาพแวดล้อมและการแพร่ระบาดของโรค   2. นักเรียนจดรายละเอียดทุกขั้นตอนของบทเรียนคณิตศาสตร์ที่เรียนในห้องเรียน และท่องจำเพื่อใช้ในการสอบปลายภาค   3. นักท่องเที่ยวเดินทางไปยังสถานที่ท่องเที่ยวต่าง ๆ ที่อยากไปโดยไม่ต้องวางแผนล่วงหน้า   4. ชาวนาหันมาปลูกยางพารา แทนการปลูกข้าวในพื้นที่นาทั้งหมด เนื่องจากรัฐบาลประกาศให้ ราคายางพาราดีกว่าราคาข้าว ในปีที่ผ่านมา     15. ส่วนประกอบย่อยใดไม่ถูกต้อง   1. ทวีปเป็นส่วนประกอบย่อยของโลก   2. โลกเป็นส่วนประกอบย่อยของระบบสุริยะ   3. รุ้งกินน้ำเป็นส่วนประกอบย่อยของก้อนเมฆ   4. ประตูเป็นส่วนประกอบย่อยของบ้าน       16. การเขียนโปรแกรมใช้หลักการใดของแนวคิดเชิงคำนวณ   1. การหารูปแบบ 2. การแยกส่วนประกอบและการย่อยปัญหา   3. การคิดเชิงนามธรรม 4. ถูกทุกข้อ       17. เกมอยู่ในหมวดจำลองใด   1. แบบจำลองความคิด 2. หุ่นจำลอง หรือโมเดลฟิกเยอร์   3. แอ็กชันฟิกเยอร์ 4. แบบจำลองสามมิติ       18. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับ “ความมุ่งหมายของการอภิปราย”   1. เพื่อเสนอปัญหาหรือเรื่องบางอย่าง     2. ให้คนกลุ่มหนึ่งมาร่วมแสดงความคิดเห็น     3. ผู้ร่วมอภิปรายเสนอข้อเท็จจริง     4. การสร้างกิจกรรมทางจิต         19. การอภิปรายมีกี่ประเภท   1. 2 ประเภท 2. 3 ประเภท   3. 5 ประเภท 4. 6 ประเภท       20. ข้อใดไม่ใช่คุณสมบัติของผู้อภิปราย   1. เป็นผู้มีความสนใจหรือรู้เรื่องที่จะอภิปราย     2. เป็นผู้ที่พูดนอกเรื่องในเวลาขึ้นอภิปราย     3. ต้องพูดด้วยเหตุผล เวลาพูดอะไรออกไปก็ไม่ต้องพูดซ้ำซาก   4. รักษาเวลาของการพูดโดยเคร่งครัด         21. การคิดเชิงคำนวณมีประโยชน์อย่างไร   1. ช่วยให้มีทักษะการคิดเหมือนคอมพิวเตอร์   2. ตอบปัญหาโจทย์ทางคณิตศาสตร์ได้อย่างรวดเร็ว   3. แก้ปัญหาได้อย่างเป็นระบบและมีขั้นตอน   4. จดจำข้อมูลได้เป็นจำนวนมาก       22. หลักการคิดเชิงคำนวณสามารถนำไปประยุกต์ในสถานการณ์ใดได้บ้าง   1. การค้นหาสินค้าในห้างสรรพสินค้า   2. การคำนวณสถิติการทำประตูของนักกีฬาฟุตบอล   3. การวางแผนเปิดร้านอาหารในงานเทศกาลโรงเรียน   4. ถูกทุกข้อ       23. สถานการณ์ในข้อใดใช้หลักการคิดเชิงคำนวณ   1. แพทย์วิเคราะห์หาสาเหตุการป่วยเป็นโรคไข้เลือดออกของผู้ป่วยในชุมชน โดยการสัมภาษณ์ ผู้เกี่ยวข้องเพื่อหาความเกี่ยวข้องระหว่างสภาพแวดล้อมและการแพร่ระบาดของโรค   2. ชาวนาหันมาปลูกยางพารา แทนการปลูกข้าวในพื้นที่นาทั้งหมด เนื่องจากรัฐบาลประกาศให้ ราคายางพาราดีกว่าราคาข้าวในปีที่ผ่านมา   3. นักเรียนจดรายละเอียดทุกขั้นตอนของบทเรียนคณิตศาสตร์ที่เรียนในห้องเรียน และท่องจำเพื่อใช้ในการสอบปลายภาค   4. นักท่องเที่ยวเดินทางไปยังสถานที่ท่องเที่ยวต่าง ๆ ที่อยากไปโดยไม่ต้องวางแผนล่วงหน้า       24. ประโยชน์ของการคิดเชิงนามธรรมคืออะไร   1. การออกแบบชิ้นงานตรงกับสภาพจริงทุกประการ   2. ช่วยลดขั้นตอนการทำงานที่มีความซ้ำซ้อน   3. ทำให้เห็นรายละเอียดของสิ่งที่สนใจได้ชัดเจนทั้งหมด   4. ช่วยให้เข้าใจปัญหา และมองเห็นปัญหาได้ชัดเจนขึ้น       25. โครงสร้างข้อมูลหมายถึงอะไร   1. ข้อมูลแบบพอยน์เตอร์   2. กระบวนการทำงานของคอมพิวเตอร์   3. การสร้าฐานข้อมูลเพื่อการใช้งานเฉพาะด้านใดด้านหนึ่ง   4. การทำงานของข้อมูลชนิดพื้นฐานและข้อมูลที่ซับซ้อนประกอบเข้าด้วยกัน       26. โครงสร้างข้อมูลแบ่งออกเป็นชนิดใหญ่ๆ ได้กี่ชนิด   1. 2 ชนิด   2. 3 ชนิด   3. 4 ชนิด   4. 5 ชนิด       27. “กระบวนการคัดแยกคุณลักษณะที่สำคัญออกจากรายละเอียดเพื่อให้ได้องค์ประกอบที่จำเป็นเพียงพอ” ­ข้อความต่อไปนี้กล่าวถึงแนวคิดใด   1. การหารูปแบบ   2. การคิดเชิงรูปธรรม   3. การออกแบบขั้นตอนวิธี   4. การคิดเชิงนามธรรม       28. “การเปรียบเทียบสิ่งที่สนใจกับสิ่งที่เคยทราบมาก่อน” ­ข้อความต่อไปนี้กล่าวถึงแนวคิดใด   1. การหารูปแบบ   2. การคิดเชิงรูปธรรม   3. การแยกย่อยปัญหา   4. การคิดเชิงนามธรรม      

29. จากภาพแสดงระยะห่างระหว่างเมือง A B C D และถนนที่เชื่อมระหว่างเมืองต่าง ๆ ถ้าหากต้องการเดินทางจากเมือง A ไปเมือง D ควรจะเลือกเส้นทางใดเพื่อเสียแรงในการเดินทางน้อยที่สุด

        

ขั้นตอนใดของการจัดทำอัลกอริทึม

  1. A B D   2. A C B D   3. A B C D   4. A C D       30. หากทำการแก้ปัญหาโดยใช้แนวคิดเชิงคำนวณจะเกิดผลดีอย่างไร   1. ใช้เวลาในการแก้ปัญหาน้อย   2. แก้ปัญหาได้ไม่ตรงประเด็น   3. ใช้แรงมากเกิดความจำเป็น   4. อาจจะมีบางประเด็นที่มองข้ามไป       31. ข้อใดไม่ใช่ข้อมูลแบบมาตรฐาน   1. เลขจำนวนเต็มบวก   2. ค่าตรรกะ   3. เลขจำนวนทศนิยมบวก   4. ข้อมูลนามธรรม       32. อัลกอริทึมคืออะไร   1. คือลักษณะข้อมูลแบบพอยน์เตอร์   2. คือกระบวนการทำงานของคอมพิวเตอร์   3. คือขั้นตอนการทำงานและการแก้ปัญหาอย่างมีขั้นตอน   4. คือการสร้างฐานข้อมูลเพื่อการใช้งานเฉพาะด้านใดด้านหนึ่ง       33. อัลกอริทึมแบบแตกย่อยคืออะไร   1. การทำงานอย่างมีทางเลือก   2. การนำปัญหาต่างๆ มาแตกย่อย   3. การแบ่งของโปรแกรมคอมพิวเตอร์   4. ไม่มีข้อใดถูก       34. เหตุผลที่ต้องใช้ผังงานในโครงสร้างข้อมูลเพื่ออะไร   1. ผังงานบ่งบอกถึงการทำงานในโครงสร้างชัดเจน   2. ผังงานช่วยให้ผู้เขียนโปรแกรมเขียนง่ายขึ้น   3. ผังงานสามารถหาผลลัพธ์ออกมาได้ว่าคืออะไร   4. ถูกทุกข้อ       35.ขั้นตอนใดของการจัดทำอัลกอริทึม ที่ต้องทราบถึงสิ่งที่โจทย์ต้องการ   1. Analysis   2. Design   3. Coding/Programming   4. Testing and Debugging       36. ข้อใดกล่าวถึงขั้นตอน Coding/Programming ได้ถูกต้อง   1. เป็นการนำผลที่ได้จากการออกแบบ มาเขียนคำสั่งของโปรแกรมเพื่อนำไปประมวลข้อมูลและได้ผลลัพธ์ของโปรแกรมต่อไป   2. เป็นการออกแบบคำสั่งโปรแกรมเพื่อการเขียนผังงานโปรแกรมที่ถูกต้อง   3. เป็นการออกแบบโปรแกรมอย่างเป็นขั้นตอนและมีเหตุมีผล โดยการเขียนเป็นประโยคภาษาอังกฤษอย่างง่าย อธิบายการประมวลผลในแต่ละขั้นตอน   4. เป็นการตรวจสอบว่าผังงานโปรแกรมที่เขียนมานั้นข้อผิดพลาดของโปรแกรมหรือไม่เพื่อทำการแก้ไขต่อไป       37. ข้อใดไม่ใช่ส่วนประกอบของเอกสารอธิบายโปรแกรม   1. คำบรรยายลักษณะโปรแกรม   2. คำอธิบายพร้อมผังงานหรือรหัสเทียม   3. ขั้นตอนการเขียนคำสั่งโปรแกรม   4. ผลการทดสอบโปรแกรม       38. โครงสร้างโปรแกรมแบบใดที่มีลักษณะการทำงานแบบซ้ำซ้อน   1. โครงสร้างแบบคำสั่งตามลำดับ   2. โครงสร้างโปรแกรมแบบมีการตัดสินใจ   3. โครงสร้างโปรแกรมแบบวงจรปิด   4. โครงสร้างโปรแกรมแบบวงจรเปิด       39. ขั้นตอนใดของการจัดทำอัลกอริทึมที่ต้องมีการเขียนผังงานโปรแกรม   1. Analysis   2. Design   3. Coding/Programming   4. Testing and Debugging       40. ข้อใดเป็นข้อมูลมาตรฐานแบบ  Character   1. AA    2. ก   3. “”   4. ถูกทุกข้อ