ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา มีกี่ประเภท

         ��кǹ��÷�����㹡����ѭ���� 4 ��鹵͹ �ѧ�����
         1)  ��÷Ӥ������㨻ѭ��
              - �Ӥ������㨶��¤ӵ�ҧ � 㹻ѭ��
              - �¡�������͡�����觷���ͧ����Ҥ������
              - ������������͹䢡�˹���������ú�ҧ ��§�ͷ����Ҥӵͺ���������
         2) ����ҧἹ㹡����ѭ�� ���� 2 �óդ��
              2.1  �ջ��ʺ��ó�㹡����ѭ����ѡɳй�� � �ҡ�͹
                    - �Ԩ�ó���觷���ͧ�����
                    - ���͡�ѭ����ҷ�����ѡɳФ���¤�֧�Ѻ�ѭ�ҷ����� ��������Ƿҧ
                    - ��Ѻ��ا�Ƿҧ㹡����ѭ���������ʹ���ͧ��������Ѻ�ѭ������
                    - �ҧἹ��ѭ��
              2.2  ����ջ��ʺ��ó�㹡����ѭ���ѡɳй���ҡ�͹
                    - �Ԩ�ó���觷���ͧ�����
                    - ���Ըա������������������ѹ�������ҧ��觷���ͧ����ҡѺ�����ŷ��������
                    - �Ԩ�óҴ���� ��������ѹ��������ö�Ҥӵͺ��������� ���������ͧ�Ң������������ �����Ҥ�������ѹ����ٻẺ���
                    - �ҧἹ��ѭ��
               2.3  ���Թ�����ѭ�ҵ��Ἱ����ҧ��� ������ҧἹ�������ǡ���Թ�����ѭ�� ���Ἱ����ҧ��� �����ҧ��ô��Թ���
�������Ƿҧ��蹷��ա��� ������ö���һ�Ѻ����¹��
               2.4  ��Ǩ�ͺ�����ѭ�� ��������Ըա����ѭ������ ���繵�ͧ��Ǩ�ͺ��� �Ըա�÷���������Ѿ����١��ͧ�������         

      (3) ���Թ�����ѭ�ҵ��Ἱ����ҧ��� 
          ��������ա���ҧἹ���ǡ���Թ�����ѭ�� �����ҧ��ô��Թ�����ѭ�� �Ҩ���������Ƿҧ���ա��ҷ��Դ��������ö ��Ѻ����¹��

      (4)  ��õ�Ǩ�ͺ  �繢�鹵͹�ش���·����繵�ͧ�ա�õ�Ǩ�ͺ���Ѿ����� ����Թ��� ��ѭ�ҵ��Ἱ����ҧ���١��ͧ������� ��кǹ�����ѭ�� ����ö��ػ�͡����Ἱ�Ҿ�ѧ���

              

ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา มีกี่ประเภท

         �ٻ��� 1 �ʴ���кǹ�����ѭ��

ในการทำงานใดๆ ก็ตามต้องพบกับปัญหาและจะต้องมีการตัดสินใจ การแก้ปัญหาจึงเป็นกระบวนการของความพยายามในการทำงานเพื่อให้ประสบความสำเร็จ เมื่อมีปัญหาเกิดขึ้นมาสามารถหาแนวแก้ปัญหาได้อย่างเป็นระบบ ซึ่งคุณสมบัติเด่นของนักแก้ปัญหา คือ จะต้องมองเห็นปัญหาตั่งแต่ที่ยังเป็นปัญหาเล็กๆ อยู่ มีมุมมองต่างๆ ที่กว้างไกล กล้าเผชิญกับปัญหาและพยายามหาหนทางใหม่ๆ ในการแก้ปัญหาอย่างไม่ย่อท้อ ฉับไว แก้ปัญหาได้อย่างเด็ดขาดและท่วงที โดยทั่วไปแล้วกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงานมี ๖ ขั้นตอน ดังนี้

ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา มีกี่ประเภท

Rate this:

แบ่งปันสิ่งนี้:

  • Click to share on Twitter (Opens in new window)
  • Click to email a link to a friend (Opens in new window)
  • Click to print (Opens in new window)
  • Click to share on Facebook (Opens in new window)
  • Click to share on box (Opens in new window)

Like this:

ถูกใจ กำลังโหลด...

ในการทำงานใดๆ ก็ตามต้องพบกับปัญหาและจะต้องมีการตัดสินใจ การแก้ปัญหาจึงเป็นกระบวนการของความพยายามในการทำงานเพื่อให้ประสบความสำเร็จ เมื่อมีปัญหาเกิดขึ้นมาสามารถหาแนวแก้ปัญหาได้อย่างเป็นระบบ ซึ่งคุณสมบัติเด่นของนักแก้ปัญหา คือ จะต้องมองเห็นปัญหาตั่งแต่ที่ยังเป็นปัญหาเล็กๆ อยู่ มีมุมมองต่างๆ ที่กว้างไกล กล้าเผชิญกับปัญหาและพยายามหาหนทางใหม่ๆ ในการแก้ปัญหาอย่างไม่ย่อท้อ ฉับไว แก้ปัญหาได้อย่างเด็ดขาดและท่วงที โดยทั่วไปแล้วกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงานมี ๖ ขั้นตอน ดังนี้

การมีคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานเป็นอย่างมีจิตสำนึก ถูกวิธี เป็นขั้นต้อนมีประสิทธิภาพ และเป็นที่ยอมรับของผู้อื่นในสังคม ซึ่งมีองค์ประกอบสำคัญ ดังนี้
๑)  มีความซื่อสัตย์ ในการทำงานเราจะต้องมีความซื่อสัตย์ต่อหน้าที่และงานที่เราได้รับมอบหมาย ปฏิบัติงานด้วยความจริงใจ และไม่คดโกงหรือหลอกลวงผู้อื่น เราจึงจะได้รับความไว้วางใจจากผู้ร่วมงาน
๒) มีความเสียสละ ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น เราจะต้องเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน ไม่เห็นแก่ตัว รู้จักการให้และการแบ่งบัน ช่วยคนอื่นโดยไม่หวังผลตอบแทน

๓) มีความยุติธรรม ในการทำงานเราจะต้องไม่ลำเอียงหรือถือสิ่งใดสิ่งหนึ่งตามที่เราเชื่อต้อมีความเป็นกลาง ยึดถือความถูกต้องเป็นหลัก ไม่มีอคติกับเรื่องต่างๆ ที่ได้ยินหรือรับฟังจึงจะต้องที่น่านับถือของผู้ร่วมงาน
๔) มีความประหยัด ในการทำงานเราต้องรู้จักอดออม ไม่ฟุ่มเฟือย ต้องคำนึงถึงความคุ้มค่าในการใช้ทรัพยากร โดยการนำสิ่งที่เหลือใช้หรือสิ่งที่ไม่มีประโยชน์แล้วมาดัดแปลงซ่อมแซม และแก้ไข เพื่อการทำสิ่งที่ไม่มีคุณค่าให้มีคุณค่ามากขึ้น
๕) มีความขยันและอดทน ในการทำงานเราจะต้องมีความมุ่งมั่นต่องานที่เรารับมอบหมาย เพื่องานนั้นบรรลุเป้าหมาย  ตามที่ได้ตั่งไว้ เมื่อพบปัญหาหรืออุปสรรคในการทำงานให้นำปัญหาหรืออุปสรรคนั้นมาปรับปรุงและแก้ไขให้ดียิ่งขึ้น
๖) มีความรับผิดชอบ ในการทำงานเราจะต้องมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมายผู้ร่วมงาน ลูกค้า สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยใช้วัตถุดิบที่มีคุณภาพมาผลิตสินค้า  ร่วมทั้งไม่ทำลายทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
๗) มีความตรงต่อเวลา เป็นวินัยพื้นฐานในการทำงาน มีความตรงต่อเวลา ไม่มาทำงานสายและต้องส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามกำหนด เพราะถ้าเราไม่ส่งงานตามกำหนดทำให้ผู้ที่ทำงานต่อจากเราได้รับผลกระทบ และทำให้งานนั้นไม่สำเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้ สร้างความเสียหายต่อองค์กร
๘) มีการประกอบอาชีพที่สุจริต ในการทำงานเราจะต้องเลือกประกอบอาชีพที่สุจริตไม่ทำให้ผู้อื่นไม่เดือดร้อน ไม่เป็นภัยต่อสังคม ซึ่งสังคม ซึ่งสังคมที่ยอมรับอาชีพนั้นเป็นอาชีพที่สุจริต และคนทั่วไปเลือกที่จะประกอบอาชีพนั้น จึงเรียกได้ว่าเรามีการเลือกประกอบอาชีพที่สุจริต 

Powered by Mixidj toolbar0

ทักษะกระบวนการแก้ปัญหามีอะไรบ้าง

ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา หมายถึง การลงมือทำงานต่าง ๆ โดยมุ่งเน้นการฝึกฝนวิธีการทำงานอย่างสม่ำเสมอ จะช่วยให้เกิดความคิดในการหาทางออกได้ เมื่อพบปัญหาในสถานการณ์การทำงานจริง โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. สังเกต นักเรียนควรฝึกตนเองให้เป็นคนช่างสังเกต ช่างศึกษาหาความรู้หรือรับรู้ข้อมูลต่าง ๆ และเข้าใจปัญหาที่เกิดขึ้น

ทักษะกระบวนการแก้ปัญหาหมายถึงอะไรมีกี่ขั้นตอนอะไรบ้าง

ระบุและอธิบายรายละเอียดของปัญหา (Identify and Define) ... .
วิเคราะห์ปัญหา (Analyze) ... .
พัฒนาแนวทางในการแก้ไขปัญหา (Develop Alternate Solutions) ... .
ประเมินแนวทางที่ได้มา (Evaluate Alternatives) ... .
ลงมือปฏิบัติตามแนวทาง (Implement the Solution) ... .
ประเมินผลปฏิบัติการ (Mesure the Result).

การมีทักษะกระบวนการแก้ปัญหามีความสําคัญอย่างไร

ทักษะการแก้ปัญหา เป็นหนึ่งในทักษะส่วนบุคคลที่มีความสำคัญ เป็นเครื่องมือที่จะช่วยให้สามารถทำความเข้าใจปัญหา คิดวิเคราะห์ และนำไปสู่แนวทางแก้ไขปัญหาเหล่านั้น ทักษะนี้มีความจำเป็นต่อทุกช่วงวัยของชีวิต ตั้งแต่วัยเด็กจนถึงวัยที่เติบโตเป็นผู้ใหญ่

ทักษะกระบวนการทำงานมีกี่ประเภท

คำอธิบาย: ก ถูกต้อง เพราะกระบวนการทำงานเป็นวิธีการทำงานตามลำดับขั้นตอน 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การวิเคราะห์งาน 2) การวางแผนในการทำงาน 3) การปฏิบัติงานตามลำดับขั้นตอน และ 4) การประเมินผลการทำงาน ดังนั้น การวิเคราะห์งานจึงเป็นขั้นตอนแรกของกระบวนการทำงาน