ลักษณะภูมิประเทศของภูเขาที่แสดงในแผนที่ควรใช้สีอะไร

– ความลาดแบบสม่ำเสมอ พิจารณาได้จากบริเวณที่เส้นชั้นความสูงมีระยะห่างเท่าๆ กัน ถ้าเส้นชั้นความสูงเหล่านั้นอยู่ห่างกันอย่างสม่ำเสมอแสดงว่าพื้นที่นั้นมีความลาดชันน้อย แต่ถ้าเส้นชั้นความสูงเหล่านั้นอยู่ชิดกันอย่างสม่ำเสมอ แสดงว่าพื้นที่บริเวณนั้นมีความลาดชันมาก

 

ลักษณะภูมิประเทศของภูเขาที่แสดงในแผนที่ควรใช้สีอะไร
ภาพความลาดสม่ำเสมอไม่ชัน

 

– ความลาดเว้า เป็นลักษณะของภูมิประเทศที่มีความลาดชันไม่สม่ำเสมอ โดยมีส่วนบนค่อนข้างชันมากกว่าส่วนล่าง ความลาดเว้าสามารถพิจารณาได้จากเส้นชั้นความสูงที่อยู่ในที่สูงมีระยะชิดกันและค่อยๆ ห่างกันในระดับต่ำลงมา

 

ลักษณะภูมิประเทศของภูเขาที่แสดงในแผนที่ควรใช้สีอะไร
ภาพความลาดเว้า

 

– ความลาดนูน เป็นลักษณะของภูมิประเทศที่มีความลาดชันไม่สม่ำเสมอ โดยมีพื้นที่ส่วนบนค่อนข้างชันน้อยกว่าส่วนล่าง ความลาดนูนสามารถพิจารณาได้จากเส้นชั้นความสูงที่มีลักษณะตรงกันข้ามกับความลาดเว้ากล่าวคือ เส้นชั้นความสูงที่อยู่ในระดับต่ำอยู่ชิดกันและค่อยๆ ห่างขึ้นในระดับความสูงมากขึ้นไป

��� �ѵ����ǹ�ͧ���зҧ��Ἱ��� (map distance ���� M.D.)�Ѻ���зҧ���Ի���� (ground distance ���� G.D.)�з���������Һ��Ң�Ҵ��ԧ� �ͧ��鹷�������� �͡ �ҡ����ѧ����� ��Һ���зҧ��Ἱ����բ�Ҵ㹾�鹷���ԧ���� �ҵ����ǹ�������� �� 3 ��Դ ���

(1) �ҵ����ǹ�����ǹ (fraction scale ���� rational scale) �ʴ����µ���Ţ�ѵ����ǹ�����ҧ���зҧ 㹾�鹷���ԧ�Ѻ���� �ҧ�Ἱ��� �� �ҵ����ǹ :10,000,000 ���¤������ 1 ��ǹ ��Ἱ�����ҡѺ���Ի���Ȩ�ԧ 10 ��ҹ��ǹ

(2) �ҵ����ǹẺ��ҿԡ (graphic scale) ,�ҵ����ǹ����ʴ������¡���Ҵ�Ҿ �ٻ�Ҿ ��鹺�÷Ѵ������Ѵ���зҧ

(3) �ҵ����ǹ�Ӿٴ (verbal scale) �� 1 ૹ������ ��� 1 �������� ���¤������ 1ૹ�������Ἱ�����ҡѺ���Ի���� ��ԧ 1 ��������

2. ����çἹ��� (Map Projections)

������� �����¹����������¹�����鹢�ҹ����Ըյ�ҧ� ŧ���蹡�д��ẹ�Һ�� Ἱ��� �����ʴ�����Һ�֧��觵�ҧ� ������� �������ٻ��ҧ˹�ҵ����ҧ���������еԨٴ (Latitude) ���ͷ�����¡��� ��鹢�ҹ ��Ф���ͧ�Ԩٴ (Longitude) ������ͷ�����¡��� ��� �������¹ ��������ص�㹡����¹����çἹ���

3. �ѭ�ѡɳ�

� �

��������Ἱ���л�ҡ��ѭ�ѡɳ��ҧ� ����Ҩ�����ٻ�ç ������ �����յ�ҧ� ���� ��͸Ժ�¤������� ��������������㨤������¢ͧ�ѭ�ѡɳ������ҹ�������� � Ἱ����� ��

� �

���������������͡�ҡ����ѧ���������к���Ἱ��������ʴ���觵�ҧ� �ѧ���
��ᴧ ��������᷹ ��������鹷ҧ���Ҥ�
������ �������᷹ �ʴ�����dz��鹷���������о�鹷���Һ
�չ���Թ ������᷹ ���觹�� �ҧ��� ������ҷ������¹�ӡѺ���觹��
�չ�ӵ�� �����᷹ ����٧�����͡��
�մ� ���������᷹ ʶҹ��������������ҧ
������ ������ʴ���������´������¡�˹����㹢ͺ���ҧἹ���

� �

4. ���

� �

������������ǵç�����㹡�ê�������������� ���ͻ���ª��㹡����ҹἹ��� �·��� 仨���¹������ͧ�����ʴ�����˹���繷����ѡ

� �

5. ��������´����ǡѺ�Ӻŷ���駢ͧἹ���

� �

��͢����ŷ���ҡ����ͺ���ҧ �������ʴ� �ѭ�ѡɳ�����ʴ���������´����ǡѺ�Ӻ�

� �

6. �к�Ẻ���ҧ

� �

���㹡�ü�ԵἹ���ҧ���ҧ��ͧ��Ե����ͺ������鹷�����dz���ҧ�˭� �ӹǹἹ����� �Ե�֧���������ҧ �� Ἱ������ �����дǡ㹡����֧���繵�ͧ�� ��ú����ҧ��觻�Сͺ���ª��ͪش �����Ţ�ش �������ҧ ���

1. �մ� ���ʴ���������´����Դ�ҡ�ç�ҹ�ͧ������ �� �Ѵ �ç���¹ �����ҹ
2. ��ᴧ �����ѭ�ѡɳ����繶��
3. �չ���Թ �����ѭ�ѡɳ����繹�� �� ����� �Ӥ�ͧ �֧ ���� ���
4. �չ�ӵ�� �����ѭ�ѡɳ�������ǡѺ�����٧��з�Ǵ�ç�ͧ��鹷���٧� ����
5. ������ �����ѭ�ѡɳ�������ǡѺ����Һ ������ ����dz���ӡ����л�١ �ת�ǹ
6. ������ͧ �����ѭ�ѡɳ�������ǡѺ����Һ�٧
7. ������ �ҧ�͡���Ҩ������蹹͡�ҡ��������������ʴ���������´����ɺҧ���ҧ ��������´����ҹ����պ�������������´�Ἱ���

ในห้องเรียนปัจจุบันนี้ ทั้งระดับปฐมและมัธยมศึกษาน่าจะพอมีให้เห็นแผนที่ทางภูมิศาสตร์ ที่แสดงให้เห็นถึงเส้นทางถนน ทางรถไฟ เขตแดนภูเขาและแม่น้ำที่มีสีสันแตกต่างกันไป หลายคนคงเคยเห็นคงมีคนเข้าใจบ้างและไม่เข้าใจบ้าง แต่จะมีใครรู้บ้างไหมว่ารูปของแผนที่ทางภูมิศาสตร์ที่เห็นกันมันเป็นภาพถ่ายทางดาวเทียมที่แสดงให้เห็นภูมิศาสตร์ของแต่ละประเทศ ในปัจจุบันมีการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้งานในการถ่ายรูปทางดาวเทียมมากขึ้น ทำให้ระบบแผนที่ดูสมจริงยิ่งขึ้นนั่นคือระบบ Geographic Information System หรือ GIS ซึ่งเป็นระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ จะให้ภาพที่สวยงามสีสันที่สดใสและสมจริงมากกว่าแผนที่ระบบเดิม  ซึ่ง สีในแผนที่ ที่แสดงออกมาทางภาพถ่ายจะมีความหมายที่สามารถแบ่งออกเป็น 3 แบบได้ดังนี้

ลักษณะภูมิประเทศของภูเขาที่แสดงในแผนที่ควรใช้สีอะไร

สีที่ใช้จำแนกผังเมืองต่าง เช่น

  • สีเหลือง คือ ที่ดินที่มีที่อยู่อาศัยหนาแน่นเล็กน้อย
  • สีแดง คือ ที่ดินที่อยู่ในโซนพานิชยกรรมและที่พักอาศัยหนาแน่นในปริมาณที่มาก
  • สีเขียว คือ บริเวณที่ดินที่เป็นชนบทและทำเกษตรกรรม
  • สีน้ำเงิน คือ ที่ดินสำหรับสาธารณูปโภค

สีที่บ่งบอกประเภทของพื้นดิน

ซึ่งพื้นดินจะถูกแบ่งออกเป็น 5ตามระดับความสูงชัน

  • สีขาว หมายถึงบริเวณที่มีหิมะปกคลุมตลอดทั้งปี
  • สีน้ำตาล หมายถึงบริเวณที่เป็นภูเขาที่สูงมาก
  • สีเหลืองแก่ หมายถึง บริเวณที่แสดงถึงภูเขาที่สูง
  • สีเหลือง หมายถึง บริเวณที่แสดงให้เห็นถึงเนินเขาไปจนถึงที่สูง
  • สีเขียว หมายถึง ที่ราบต่ำในเขตเมืองหรือเกษตรกรรม มีต้นไม้ที่เยอะมากมาย

สีที่บ่งบอกถึงพื้นน้ำ

เป็นสีที่ดูง่ายมากที่สุด เพราะในแผนที่จะมีสีฟ้ามากที่สุดและมีการไล่ระดับของโทนสีจากอ่อนไปหาเข้มคือการบ่งบอกถึงความลึก-ตื้นของแม่น้ำและทะเลนั้น

  • สีน้ำเงินเข้ม บ่งบอกถึงระดับความลึกของทะเลหรือมหาสมุทรที่บริเวณนั้นมีความลึกมาก
  • สีน้ำเงินธรรมดา แสดงถึงผืนน้ำที่เป็นทะเลลึกหรือมหาสมุทร
  • สีฟ้าเข้ม คือบริเวณที่แสดงความลึกของอ่าวและชายทะเล
  • สีฟ้า หมายถึง ผืนน้ำที่เป็นแม่น้ำ ชายทะเล ที่ลึกไม่มาก

ส่วนสีที่ใช้แทนสัญลักษณ์ในแผนที่

ประกอบไปด้วย

  • สีดำ สิ่งปลูกสร้างที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น บ้าน วัด ทางรถไฟ
  • สีแดง คือถนนสายหลักหรือพื้นที่สำคัญและหวงห้าม
  • สีน้ำเงิน หมายถึงแม่น้ำ ลำคลอง บึง ทะเล
  • สีเขียว แสดงถึงบริเวณที่เป็นป่ามีต้นไม้นานาชนิด
  • สีน้ำตาล หมายถึงเส้นขอบเขาที่มีความสูง

ทั้งหมดนี้เป็น สีในแผนที่ ที่บอกรายละเอียดในแผนที่ให้คนทั่วไปได้ศึกษาถึงลักษณะทางภูมิศาสตร์ของพื้นที่นั้น ๆ เป็นอย่างไร เพื่อที่จะได้รับทราบข้อมูลหากได้มีโอกาสเดินทางไปในภูมิประเทศเหล่านั้น หรือการเดินทางไปเที่ยวทางภาคเหนือของประเทศไทยก็จะสามารถรู้ได้เลยว่าพื้นที่ที่ไปอยู่ในระดับความสูงแบบไหน ป่าไม้เยอะหรือไม่และอยู่ในจุดที่สูงจากระดับน้ำทะเลเท่าไร

เมื่อนำสีที่กล่าวมาข้างต้นทำเป็นสัญลักษณ์และแทนที่ด้วยสีต่าง ๆ ในระบบแผนที่ใน GPS ก็จะทำให้รู้ว่าสีที่อยู่ในแผนที่มีความหมายอย่างไร ซึ่งหากทำการศึกษาก็จะไม่ยากเลยที่จะอ่านค่าสีใน GPS ได้เพื่อความสะดวกในการเดินทางกับระบบ GPS มาก

  • สีเขียว แสดงออกถึงความร่มรื่นของป่าไม้ เมื่ออยู่ใกล้จะทำให้รู้สึกสดชื่น เมื่อจับมาใส่ในแผนที่ระบบ GPS แล้ว สีเขียวจะแสดงถึงความโล่ง ปลอดโปร่งของการจราจร ณ บริเวณนั้น ไม่ติดขัดสามารถวิ่งทำความเร็วได้สะดวกและสามารถใช้เวลาไม่นานในการไปถึงที่หมายได้
  • สีเหลือง แสดงถึงความขัดแย้งเล็กน้อย บ่งบอกถึงการจราจรบริเวณนั้น มีปัญหาแต่ไม่มากยังสามารถเคลื่อนตัวได้ มีติดขัดบ้างเล็กน้อย แต่ยังสามารถไปได้แบบช้า ๆ
  • สีแดง คือความขัดแย้งอย่างรุนแรง ทำให้นึกถึงสภาพการจราจรของกรุงเทพมหานครในตอนชั่วโมงเร่งด่วนที่ทุกคนต่างอยากจะไป โดยไม่คำนึงถึงสภาพการจราจรช่วงนั้นว่าไปได้หรือไม่ ทำให้เกิดการจราจรที่ติดขัดหลายๆ สิบนาทีจนถึงหลายชั่วโมง

ท้ายที่สุดนอกจาก สีในแผนที่ แล้ว ยังคงมีสัญลักษณ์ต่าง ๆ ในแผนที่ ที่ทางระบบ GPS ได้ใส่เข้ามาเพื่อเพิ่มความสะดวกสบายในการค้นหาสถานที่สำคัญๆ ที่ต้องการจะเดินทางไป เช่น รูปเครื่องหมายสภากาชาด ซึ่งหมายถึงโรงพยาบาลที่อยู่ใกล้ที่สุด รูปเตียงนอนก็บอกถึงที่พักหรือโรงแรมในระแวกนั้น สัญลักษณ์ทางรถไฟ หมายเลขทางหลวงและเบอร์โทรศัพท์ที่สำคัญๆ ที่ทำให้เจ้าของรถสะดวกต่อการใช้งาน แถมGPS ที่มีการประยุกต์ใช้กับระบบ GIS ด้วยแล้วจะสามารถทำให้การใช้ระบบแผนที่ออกมาเป็นระบบที่เจ๋งที่สุด เนื่องจาก GPS ใช้บอกพิกัดที่มีความแม่นยำ ส่วน GIS ใช้สร้างแผนที่ให้ออกมาเป็นชั้น ๆเสมือนสามมิติที่ดูสมจริงมากยิ่งขึ้น

สีที่ใช้ในแผนที่ มีสีอะไรบ้าง

3. สัญลักษณ์ นอกจากนี้ยังนิยมใช้สีระบายในแผนที่เพื่อแสดงสิ่งต่างๆ ดังนี้ สีแดง ใช้แทน ถนนและเส้นทางคมนาคม สีเขียว ใช้แทน แสดงบริเวณพื้นที่ป่าไม้และพื้นที่ราบ สีน้ำเงิน ใช้แทน แหล่งน้ำ ทางน้ำ และภาษาที่ใช้เขียนกำกับแหล่งน้ำ

สีที่แสดงลักษณะภูมิประเทศบนแผนที่มีกี่สี

สีน้ำเงิน หมายถึง บริเวณที่เป็นน้ำ เช่น ทะเล มหาสมุทร สีน้ำตาล หมายถึง ความสูง เช่น เส้นชั้นความสูง เลขกำกับชั้นความสูง สีเขียว หมายถึง พื้นที่ป่าไม้หรือพื้นที่การเกษตร สีเหลือง หมายถึง ที่ราบสูง

สีภูเขาสีอะไร

สีน้ำตาล แสดงภูเขาสูง งง ทิวเขา สีเหลือง แสดงพื้นที่สูง เช่น ที่ดอน เนินเขา เชิงเขา สีเขียว แสดงพื้นที่ราบ เช่น ที่ราบลุ่มแม่น้ำ ที่ราบชายฝั่งทะเล สีน้ำเงินหรือสีฟ้า แสดงแม่น้ำ / แหล่งน้ำ

สีเขียวในแผนที่หมายถึงข้อใด

โดย ชาญวิทย์ เมื่อ 31 May 2021 15,554. พื้นที่สีเขียว หมายถึง พื้นที่ธรรมชาติ หรือพื้นที่ที่มนุษย์สร้างขึ้นหรือกําหนดขึ้นในเมืองหรือชุมชนปกคลุมด้วยพืชพรรณเป็นองค์ประกอบหลัก มีประโยชน์เพื่อสิ่งแวดล้อม ระบบนิเวศการดํารงชีวิต และคุณภาพชีวิตของประชาชน