เจ้าหน้าที่กรมป่าไม้ ทําอะไรบ้าง

เจ้าหน้าที่กรมป่าไม้ ทําอะไรบ้าง

���������
�������¸Թ ࢵ��بѡ� ��ا෾� 10900
�Ѻ��Ѥ� : ��ѡ�ҹ�Ҫ���          
���˹� : ���˹�ҷ���Ǩ���
�Թ��͹ : 10430 �ҷ
������ : ��ԡ��
�ӹǹ : 13 ���˹�
�дѺ����֡�� : ��С�ȹ�ºѵû���¤�Ѹ���֡�ҵ͹��������ѭ (�.�.3) ���ͻ�С�ȹ�ºѵû���¤�Ѹ���֡�ҵ͹�� (�.3) ���ͤس�ز����ҧ��蹷����º����дѺ���ǡѹ
�س���ѵ�੾������Ѻ���˹� : ��С�ȹ�ºѵû���¤�Ѹ���֡�ҵ͹��������ѭ (�.�.3) ���ͻ�С�ȹ�ºѵû���¤�Ѹ���֡�ҵ͹�� (�.3) ���ͤس�ز����ҧ��蹷����º����дѺ���ǡѹ
�ѡɳЧҹ��軯Ժѵ� : ��Ժѵԧҹ�����Ѻ��ѡ�ҹ���˹�ҷ�� �͡��Ǩ�Ҵ����ǹ ��ͧ�ѹ ��л�Һ������á�зӼԴ��������Ҵ��¡�û����� ��л�Ժѵ�˹�ҷ����蹵��������Ѻ�ͺ����
�Ըա�����͡��� : - ��������������ö- �ѡ��- ���ö��
ࡳ���û����Թ : ��û����Թ��������������ö �ѡ�� ������ö�� ���駷�� 1 - ���ͺ���������зҧ 5 �������� 100 ��ṹ ��û����Թ���������� ��������ö �ѡ�� ������ö�� ���駷�� 2 - �����Թ�ؤ�� ���;Ԩ�óҤ�����������Ѻ���˹�˹�ҷ�� �ҡ����ѵ���ǹ��� ����ѵԡ���֡�� ����ѵԡ�÷ӧҹ �ҡ����ѧࡵ�ĵԡ�������ҡ��ͧ�������ͺ��Шҡ��������ɳ�Ԩ�óҤ����������㹴�ҹ��ҧ� �� ����������Ҩ���繻���ª��㹡�û�Ժѵԧҹ�˹�ҷ�� ��������ö ���ʺ��ó� ��ǧ���Ҩ� �ػ����� ������ ��ȹ��� �س���� ���¸��� ��û�Ѻ�����ҡѺ��������ҹ �������ѧ�� �������Ǵ���� ����������� ���ҧ��ä� ����ҳ��Ǿ�Ժ ��кؤ�ԡ�Ҿ���ҧ��� �繵� �������֧���ö����ѡ ���ö�з����繢ͧ���˹� 100 ��ṹ
�Դ�Ѻ��Ѥ� : �ѹ����ʺ�շ�� 12 �Զع�¹ �.�. 2557 �֧ �ѹ�ѹ����� 23 �Զع�¹ �.�. 2557
��С���Ѻ��Ѥ� :
เจ้าหน้าที่กรมป่าไม้ ทําอะไรบ้าง
���䫵� :
เจ้าหน้าที่กรมป่าไม้ ทําอะไรบ้าง

���˹觧ҹ��蹷���Ѻ��Ѥâͧ˹��§ҹ��� 0 ���͵��˹�

นักวิชาการด้านป่าไม้

ผู้ประกอบกิจทางวนศาสตร์ ซึ่งเป็นศาสตร์ ศิลป์และวิชาชีพในการจัดการป่าไม้ มีส่วนร่วมกับกิจกรรมหลายประเภท ทั้งการทำไม้ซุง การฟื้นฟูระบบนิเวศและการจัดการพื้นที่คุ้มครอง โดยมีวัตถุประสงค์ต่าง ๆ ทั้งการสกัดวัตถุดิบโดยตรง สันทนาการนอกอาคาร การอนุรักษ์ การล่าสัตว์และความงาม การจัดการป่าไม้ที่กำลังอุบัติขึ้นมีทั้งเพื่อความหลากหลายทางชีวภาพ การแยกคาร์บอนและคุณภาพอากาศ 

ลักษณะงานที่ทำ

1.ป้องกันรักษาป่าควบคุมดูแล จัดทำแผนกลยุทธ์ในการป้องกันการบุกรุกทำลายป่า และการกระทำผิดในพื้นที่ ป่าไม้ ตามระเบียบกฎหมายป่าไม้

2.วางแผน และประสานงานเกี่ยวกับการปลูกป่าเพื่อการฟื้นฟูสภาพป่า และระบบนิเวศ

3.ส่งเสริมชุมชนให้เข้ามามีส่วนร่วมในการปลูกป่า การจัดการป่าชุมชน และการปลูกสร้างสวนป่าเชิงเศรษฐกิจ

4.อนุรักษ์ คุ้มครอง ดูแลรักษา และจัดการให้มีการใช้ประโยชน์ ที่ดินป่าไม้และการอนุญาตที่เกี่ยวกับ การใช้ประโยชน์จากไม้ อุตสาหกรรม ที่ดินป่าไม้ และผลิตผลป่าไม้

5.ศึกษา ค้นคว้า วิจัย และพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับป่าไม้ ผลิตผลป่าไม้และผลิตภัณฑ์ไม้

6.ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกำหนด หรือตามที่ได้รับมอบหมาย

สภาพการจ้างงาน

ผู้ปฏิบัติงานอาชีพนี้ส่วนใหญ่ทำงานสัปดาห์ละ 40 ชั่วโมง ได้รับค่าตอบแทนการทำงานเป็นเงินเดือนตามวุฒิการศึกษา อาจจะต้องทำงานวันเสาร์ วันอาทิตย์ และวันหยุด หรือทำงาน ล่วงเวลา ในกรณีที่ต้องการให้งานที่ได้รับมอบหมายเสร็จทันต่อการใช้งาน 

นอกจากผลตอบแทนในรูปเงินเดือนแล้วในภาครัฐวิสาหกิจและภาคเอกชนอาจได้รับผลตอบแทนในรูปอื่น เช่น ค่ารักษาพยาบาล เงินสะสม เงินช่วยเหลือ สวัสดิการในรูปต่างๆ เงินโบนัส เป็นต้น

สภาพการทำงาน

อาจจะปฏิบัติงานในห้องทำงานเหมือนสำนักงานทั่วไป หรือปฏิบัติงานในภาคสนาม สำรวจและศึกษาจากของจริงในภาคสนาม เพื่อเก็บข้อมูล ปฏิบัติงานตาม ขั้นตอนตามระเบียบที่กำหนดไว้ 

คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพ

1. สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง 

2.มีความสามารถในการศึกษาหาข้อมูล วิเคราะห์ปัญหา และสรุปเหตุผล 

3.มีความสามารถในการเป็นผู้นำและผู้ตาม 

4.สามารถเดินทางไปปฏิบัติงานในต่างจังหวัดได้ 

5.มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อบุคลากรในองค์กรและชุมชน 

6.มีความคิดสร้างสรรค์ ชอบค้นคว้า 

7.มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย 

8.มีความแม่นยำ ใจเย็นและละเอียดรอบคอบ 

9.มีความเชื่อมั่นในตนเอง กล้าตัดสินใจ และสามารถแก้ไขปัญหาต่างๆ ได้รวดเร็ว 

10.มีความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์เป็นอย่างดี 

11.มีร่างกายแข็งแรง อดทน สามารถปฏิบัติงานในหน้าที่ได้ดี

12.รักป่า รักธรรมชาติ

การเตรียมความพร้อมสู่อาชีพ

สามารถเข้าศึกษาต่อได้ที่คณะวนศาสตร์สังกัด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์โดย

1. การสอบตรง หรือโควตา คณะฯ จะส่งระเบียบ ข้อบังคับและคุณสมบัติของผู้ที่ มีสิทธิสมัครเข้ารับการสอบคัดเลือก ไปยังโรงเรียนต่างๆ และให้ผู้สมัครส่งใบสมัครพร้อมด้วย เอกสารหลักฐานต่างๆ เพื่อตรวจสอบข้อมูลความถูกต้อง ก่อนที่จะประกาศรายชื่อผู้ที่มีสิทธิ เข้าสอบข้อเขียน เพื่อสอบสัมภาษณ์ และจะประกาศรายชื่อ ผู้ที่ผ่านการคัดเลือกเข้าศึกษาต่อ ในคณะฯ ซึ่งจะต้องเข้ารายงานตัวเข้าเป็นนิสิตวนศาสตร์ต่อไป การดำเนินการสอบตรง คณะฯ จะทำการส่งใบสมัครประมาณเดือนพฤศจิกายน ทำการสอบคัดเลือก ช่วง มกราคม และ ประกาศผล เข้ารายงานตัวช่วง เดือนกุมภาพันธ์

2. การสอบผ่านสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) หรือแอดมิชชั่น นักเรียนจะต้องสอบข้อเขียน ตามระเบียบของ สกอ. (GAT, PAT) และนำคะแนนมายื่นเพื่อคัดเลือกคณะที่จะเข้าศึกษาต่อ ซึ่งนักเรียนจะต้องติดตามข่าวการสอบและ ระเบียบการต่างๆ ด้วยตนเองผู้ที่จบการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สายวิทยาศาสตร์

โอกาสในการมีงานทำ

ผู้สำเร็จการศึกษามีโอกาสเข้าทำงานที่กรมป่าไม้ นอกจากนี้สามารถทำงานได้ที่องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ บริษัทไม้อัดไทย และอุตสาหกรรมเกี่ยวกับไม้ รวมทั้งหน่วยงานอื่นๆ ตลอดจนเป็นอาจารย์ของมหาวิทยาลัยต่างๆ และประกอบอาชีพอิสระ

โอกาสความก้าวหน้าในอาชีพ

ขึ้นอยู่กับความสามารถและประสบการณ์ในการทำงาน

ตัวอย่างมหาวิทยาลัยและคณะที่เกี่ยวข้อง

1.มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะวนศาสตร์

2.มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

3.มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สาขาวิชาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

4.มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

5.มหาวิทยาลัยแม่โจ้ สาขาวิชาเกษตรป่าไม้

6.มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ สาขาวิชาเกษตรศาสตร์

ที่มา: กองส่งเสริมการมีงานทำ

เจ้าหน้าที่ป่าไม้ สอบอะไรบ้าง

ความรู้เกี่ยวกับกรมป่าไม้.
แนวข้อสอบเกี่ยวกับกรมป่าไม้.
แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ.2547..
การบริหารจัดการภายในสำนักงาน.
ความรู้เกี่ยวกับงานสารบรรณและธุรการทั่วไป.
แนวข้อสอบการเก็บรวบรวมข้อมูล.
สรุปสาระสำคัญระเบียบงานสารบรรณ (สูตรและเทคนิคการจำ).
แนวข้อสอบกฎหมายระเบียบงานสารบรรณ.

กรมป่าไม้มีสวัสดิการอะไรบ้าง

สวัสดิการกรมป่าไม้.
สวัสดิการด้านสุขภาพ การตรวจสุขภาพ การบริจาคเลือด การตรวจรักษาฟัน ... .
สวัสดิการด้านสังคม การช่วยเหลือเจ้าหน้าที่ ที่ประสบอันตราย กองทุนสวัสดิการกรมป่าไม้ วิธีป้องกันไวรัสโควิด-19..
สวัสดิการด้านเศรษฐกิจ ร้านค้าสวัสดิการกรมป่าไม้ แนวทางการดำเนินการจัดตั้งร้านค้าสวัสดิการ สินค้าจัดจำหน่าย จากสวัสดิการกรมป่าไม้.

เจ้าหน้าที่ตรวจป่า คืออะไร

คือผู้ทำหน้าที่รักษากฎหมายและคุ้มครองทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่คุ้มครองของประเทศ ซึ่งปฏิบัติงานตามเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขตห้ามล่าสัตว์ป่า อุทยานแห่งชาติ วนอุทยาน พื้นที่ป่าไม้และป่าสงวนแห่งชาติ รวมทั้งพื้นที่คุ้มครองทั้งทางบกและทางทะเลของประเทศไทย