วิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร ทำงานอะไร

วิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร ทำงานอะไร
ปริญญาตรี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง views 229,041

วิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโทรคมนาคม

วิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร ทำงานอะไร

วิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโทรคมนาคม

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

รีวิววิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโทรคมนาคม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง


วิศวกรรมโทรคมนาคม เป็นวิชาการด้านวิศวกรรมที่เกิดจากการรวบรวมองค์ความรู้ทางวิศวกรรมไฟฟ้าและ วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์เพื่อเสริมสร้างระบบการสื่อสารโทรคมนาคมที่เป็นองค์ความรู้เฉพาะทาง ซึ่งความรู้ด้านโทรคมนาคม จะเป็นสาขาที่มีความหลากหลายของวิศวกรรมซึ่งจะเชื่อมต่อกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์, งานโยธา, งานโครงสร้าง, การวางฐานราก, งานเสาตั้งสายอากาศและวิศวกรรมไฟฟ้า หรือแม้แต่ทางการแพทย์ ก็มีการใช้วิศวกรรมโทรคมนาคมชั้นสูงมาประยุกต์ใช้ วิศวกรโทรคมนาคมใช้ความหลากหลายของอุปกรณ์และสื่อกลางการขนส่งข้อมูลที่มีอยู่มากมายจากผู้ผลิตในการออกแบบโครงสร้างพื้นฐานเครือข่ายโทรคมนาคม สื่อกลางที่พบบ่อยส่วนใหญ่มักจะเรียกว่า พล้านท์ (plant) หรือข่ายสายตอนนอก ข่ายสายตอนใน ในอุตสาหกรรมโทรคมนาคม
 
วิศวกรโทรคมนาคมถูกคาดหวังเหมือนกับวิศวกรส่วนใหญ่ว่าต้องหาทางออกที่ดีที่สุดที่เป็นไปได้สำหรับค่าใช้จ่ายต่ำที่สุดให้กับบริษัท ความคาดหวังนี้มักจะนำไปสู่​คำตอบที่มีความคิดสร้างสรรค์ในการแก้ไขปัญหาที่มักจะได้รับการออกแบบที่แตกต่างกันโดยไม่กระทบกับงบประมาณที่ถูกกำหนดโดยสังคมสมัยใหม่ ในตอนต้นของอุตสาหกรรมโทรคมนาคมจำนวนมหาศาลของสายเคเบิลทองแดงถูกนำมาใช้แต่ต่อมาได้ถูกแทนที่ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย​เช่นสายเคเบิลใยแก้วนำแสงและเทคนิคมัลติดิจิทัล
 
สาขาวิศวกรรมโทรคมนาคม เรียนเกี่ยวกับการสื่อสาร สัญญาณ การส่ง การรับข้อมูล การวิเคราะห์สัญญาณต่างๆ เพื่อนำความรู้ไปพัฒนาระบบโทรคมนาคมต่างๆ สายแลน คลื่นโทรศัพท์ Wireless ดาวเทียม ทุกอย่างที่เกี่ยวข้องกับสัญญาณเราจะทำได้หมดครับ และสำหรับสาขาโทรคมนาคมที่ลาดกระบังก่อตั้งขึ้นเป็นที่แรกในประเทศไทย ดังนั้นที่นี่จึงมีความเชี่ยวชาญในด้านนี้มาก ในปี 1 เราก็จะเรียนพื้นฐานวิศวกรรมศาสตร์ทั่วไป กลศาสตร์ การเขียนโปรแกรม  ฟิสิกส์ เลข เคมี พอปี 2 ก็จะได้เรียนวิชาภาค เช่น signal เป็นวิชาที่ว่าด้วยการวิเคราะห์สัญญาณ โดยจะจำแนกสัญญาณแต่ละชนิด ว่ามันมีอะไรมารวมบ้างในสัญญาณนี้ และก็วิชา เซกริด จะเรียนเกี่ยวกับแผงวงจร การต่อวงจร สำหรับปี 2 ก็ได้ทำเครื่องรับส่งสัญญาณภาพ ปี3 ก็จะเป็นตัวต่อยอดไปเรื่อยๆ ระหว่างนั้นก็จะมีโปรเจคต่างๆ ให้ทำครับ และพอปี4 ก็ต้องทำโปรเจค

ปัจจุบันงานวิศวกรรมโทรคมนาคม ค่อนข้างมีการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีรวดเร็ว และมีวงจรชีวิตของสินค้า หรืออุปกรณ์โทรคมนาคมสั้นลง และมีความซับซ้อนสูงขึ้นพร้อมๆ ไปกับการมีประสิทธิภาพสูงขึ้นไปด้วย วิศวกรโทรคมนาคมยังมีหน้าที่ในการกำกับดูแลบันทึกของสินทรัพย์ที่เป็นอุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวกอื่น ๆ งานของพวกเขามีผลกระทบโดยตรงต่อการกำหนดรหัสบัญชีที่เหมาะสมสำหรับภาษีและวัตถุประสงค์การบำรุงรักษา งบประมาณและการกำกับดูแลโครงการ

จบมาทำงานอะไร

ภาคเอกชน
- บริษัท operator มือถือ บริษัท AIS, TRUE, DTAC ฯลฯ
- บริษัทผู้ผลิตอุปกรณ์สื่อสาร Huawei, Technologies, ZTE, Samart Telecom, Jasmine International Ltd., FORTH, Ananda Technology, Deutsch Telecom, Celestica - (Thailand), Alcatel-Lucent, NTT Comunications (Thailand), Mobile Innovation, บริษัท เบญจจินดาโฮลดิ้งจำกัด, Nokia Siemens Ltd., Ericcson (Thailand), Bangkok Cable Ltd.
- บริษัทด้านดาวเทียม ThaiCom ฯลฯ
- สถานีโทรทัศน์ สถานีโทรทัศช่อง 3, 5, 7, 9, 11, PBS, CTH, สถานีโทรทัศน์เคเบิ้ลต่างๆ, สถานีดาวเทียมไทยคม และสถานีโทรทัศน์ดิจิทัลใหม่ๆจำนวนมาก
- บริษัทขายอุปกรณ์ Trinergy Instrument Co. Ltd., Novatel, Trimble ฯลฯ
- บริษัทอุปกรณ์บันทึกข้อมูล Seagate Technology, Western Digital, Hitachi Global Storage (HGST) ฯลฯ
- บริษัทบริการอินเทอร์เน็ต BB Technology Ltd., TT&T, True Internet ฯลฯ
- บริษัทเกี่ยวกับรถไฟ BTS, MRT, AriportLink, Highspeed-Trains, Bombardiers
- บริษัทผลิตรถยนต์ Honda, Toyota, Isuzu, BMW, ฯลฯ
(อื่นๆ) STADT-TECH, Bangkok Innovation System Ltd., บริษัท บีเอฟเคที (ประเทศไทย) จำกัด, บริษัท บรอดเบย์ จำกัด, THAI STANLEY, EnCo@PIT, บริษัท เทเลโทรลวีน จำกัด, vantage system thailand, , Worley Parson(Thailand) Ltd., RF Application, ADT และอื่นๆ

ภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ
- การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย, บริษัทวิทยุการบินแห่งประเทศไทย
- การไฟฟ้าฝ่ายผลิต, การไฟฟ้าแห่งประเทศไทย ฯลฯ
- บริษัท TOT, บริษัท CAT Telecom ฯลฯ
- หน่วยงานต่างๆ เช่น กสทช., สวทช., GISTDA ฯลฯ

สมัครเรียนทำอย่างไร

ระบบรับตรง (กันยายน-มกราคม)
- สำเร็จหรือกำลังศึกษา ชั้นม.6 หรือเทียบเท่า
- มีผลคะแนนสอบวิชา GAT, PAT1(คณิตศาสตร์), PAT3(วิศวกรรมศาสตร์)
- สมัครผ่านเว็ปไซต์ www.reg.kmitl.ac.th

แอดมิชชัน
- GPAX 20%
- O-NET 30%
- GAT 15%
- PAT2 (วิทยาศาสตร์) 15%
- PAT3 (วิศวกรรมศาสตร์) 20%

  • วิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร ทำงานอะไร
  • วิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร ทำงานอะไร
  • วิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร ทำงานอะไร
  • วิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร ทำงานอะไร
  • วิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร ทำงานอะไร

ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร

156, 000 บาท

รายละเอียดค่าใช้จ่าย

19, 500 บาท/เทอม

วิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร ทำงานอะไร

วิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโทรคมนาคม

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

จุดเด่นของวิศวกรรมโทรคมนาคมที่สถาบันฯลาดกระบัง 
- เป็นภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย
- มีคณาจารย์ที่เชี่ยวชาญ ได้รับรางวัลระดับชาติและนานาชาติอย่างต่อเนื่อง
- มีจำนวนของศาสตราจารย์ทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคมที่มากที่สุดในประเทศไทย
- มีศิษย์เก่าจำนวนมากในบริษัทสื่อสารชั้นนำของประเทศ
- มีคุณภาพการวิจัยและพัฒนาในมาตรฐานสูงในสาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม
- มีหลักสูตรและห้องปฏิบัติการที่ทันสมัย
- คณาจารย์มีความมุ่งมั่นและเสียสละในการให้ความรู้แก่นักศึกษา
- มีความร่วมมือกับหน่วยงานทั้งในและต่างประเทศจำนวนมาก

วิเคราะห์ข้อมูลและประเมินคะแนน U-Review Score โดยฝ่ายวิชาการ upbean.comหลักเกณฑ์การให้คะแนน

ชื่อคณะ

วิศวกรรมศาสตร์ (FACULTY OF ENGINEERING)

ชื่อสาขา

วิศวกรรมโทรคมนาคม  (Telecommunications Engineering)

ชื่อปริญญา

วศ.บ. (วิศวกรรมโทรคมนาคม)  (วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมโทรคมนาคม))

รายละเอียด

วิศวกรรมโทรคมนาคม เป็นศาสตร์ทางวิศวกรรมไฟฟ้าที่รวบรวมองค์ความรู้หลายด้าน โดยรวมด้านอิเล็กทรอนิกส์ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า สายอากาศ คลื่นแสง
การประมวลผลสัญญาณดิจิทัลและเครือข่ายข้อมูลและคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน ในสถาบันการศึกษาหลายแห่ง ได้จัดตั้งภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม
แยกออกจากภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า (กำลัง) แต่มีอีกหลายแห่งที่นักศึกษาต้องเลือกเรียนในภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าแล้วจึงแยกย่อยเป็นวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร
ดังนั้นวิศวกรรมโทรคมนาคม ก็คือ วิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร ในหลายๆสถาบันการศึกษานั่นเอง


รายละเอียดการเรียนการสอน
- ระบบและสัญญาณ การประมวลผลสัญญาณดิจิทัล
- การสื่อสารอนาล็อก การสื่อสารดิจิทัล
- คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า สายอากาศ คลื่นแสง
- วงจรอิเล็กทรอนิกส์ ดิจิทัล ไมโครโพรเซสเซอร์ วงจร FPGA
- การออกแบบระบบสื่อสารและการออพติไมซ์พารามิเตอร์ต่างๆ
- ระบบเครือข่ายข้อมูล และคอมพิวเตอร์ การรักษาความปลอดภัยในเครือข่าย
- การเขียนโปรแกรมพื้นฐานเช่น C, JAVA, Android, IOS, ฯลฯ
- ระบบการนำร่อง (GPS,Glonass, Beidou) และการสื่อสารดาวเทียม (LEO, MEO, GEO)
- ระบบสื่อสารโทรศัพท์มือถือ (GSM, CDMA, 3G, 4G, LTE, 5G)
- มาตรฐานไร้สายต่างๆ เช่น Wi-Fi, Wi-Max, RF-ID
- การกระจายสัญญาณเสียงและโทรทัศน์ (Digital TV, DVB, วิทยุชุมชน)
- ระบบสื่อสารผ่านสายเช่น การสื่อสาร xDSL ,การสื่อสารผ่านเคเบิ้ลใยแก้วนำแสง

เนื้อหาวิชา

รายละเอียดเนื้อหาวิชา

คุณสมบัติ

รายละเอียดคุณสมบัติ

แผนการเรียน

วิทย์ - คณิต

ค่าเทอม

17,000 บาทต่อเทอม

จำนวนเทอม

8 เทอม

จำนวนปี

4 ปี

ทุนการศึกษา

กยศ. กรอ.

ได้รับการรับรองจาก

สกอ. สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา

อาชีพ

- รับราชการ
- พนักงานรัฐวิสาหกิจ
- เป็นวิศวกรภาครัฐและบริษัทเอกชน
- ประกอบธุรกิจส่วนตัว

เส้นทางอาชีพและความก้าวหน้า

ภาคเอกชน
 - บริษัท operator มือถือ บริษัท AIS, TRUE, DTAC ฯลฯ
- บริษัทผู้ผลิตอุปกรณ์สื่อสาร Huawei, Technologies, ZTE, Samart Telecom, Jasmine International Ltd., FORTH, Ananda Technology, Deutsch Telecom, Celestica - (Thailand), Alcatel-Lucent, NTT Comunications (Thailand), Mobile Innovation, บริษัท เบญจจินดาโฮลดิ้งจำกัด, Nokia Siemens Ltd., Ericcson (Thailand), Bangkok Cable Ltd.
- บริษัทด้านดาวเทียม ThaiCom ฯลฯ
- สถานีโทรทัศน์ สถานีโทรทัศช่อง 3,5,7,9,11, PBS, CTH, สถานีโทรทัศน์เคเบิ้ลต่างๆ, สถานีดาวเทียมไทยคม และสถานีโทรทัศน์ดิจิทัลใหม่ๆจำนวนมาก
- บริษัทขายอุปกรณ์ Trinergy Instrument Co. Ltd., Novatel, Trimble ฯลฯ
- บริษัทอุปกรณ์บันทึกข้อมูล Seagate Technology, Western Digital, Hitachi Global Storage (HGST) ฯลฯ
- บริษัทบริการอินเทอร์เน็ต  BB Technology Ltd., TT&T, True Internet ฯลฯ
- บริษัทเกี่ยวกับรถไฟ  BTS, MRT, AriportLink, Highspeed-Trains, Bombardiers
- บริษัทผลิตรถยนต์  Honda, Toyota, Isuzu, BMW, ฯลฯ
(อื่นๆ) STADT-TECH, Bangkok Innovation System Ltd., บริษัท บีเอฟเคที (ประเทศไทย) จำกัด, บริษัท บรอดเบย์ จำกัด, THAI STANLEY, EnCo@PIT, บริษัท เทเลโทรลวีน จำกัด, vantage system thailand, , Worley Parson(Thailand) Ltd., RF Application, ADT และอื่นๆ 

 
 ภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ 
- การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย, บริษัทวิทยุการบินแห่งประเทศไทย
- การไฟฟ้าฝ่ายผลิต, การไฟฟ้าแห่งประเทศไทย ฯลฯ
- บริษัท TOT, บริษัท CAT Telecom ฯลฯ
- หน่วยงานต่างๆ เช่น กสทช., สวทช., GISTDA ฯลฯ

รายได้เฉลี่ยต่อเดือน

28,000++

บุคลิกภาพที่เหมาะสมกับสาขานี้

- ควรชอบด้านการคำนวณ
- สนใจสิ่งใหม่ๆ
- สนใจด้านเทคโนโลยีการสื่อสาร

โอกาสงานในประเทศ

10.0

เว็บไซต์คณะสาขา

http://161.246.18.199/telecom

วิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร ทำงานอะไร

วิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร ทำงานอะไร

วิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร ทำงานอะไร

วิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร ทำงานอะไร

วิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร ทำงานอะไร

วิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร ทำงานอะไร

 

0

0

0

0

0

 

วิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโทรคมนาคม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ดีไหม?

วิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร ทำงานอะไร

วิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร ทำงานอะไร

วิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร ทำงานอะไร

วิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร ทำงานอะไร

วิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร ทำงานอะไร

วิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร ทำงานอะไร

วิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร ทำงานอะไร

GOOGLE MAP

ข้อมูลติดต่อ

หมายเลขติดต่อ

02-329-8350-1

เว็บไซต์

http://www.kmitl.ac.th/

Facebook

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

วิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร ทำงานอะไร

229K VIEWS

152 SHARES

ให้คะแนนความน่าสนใจ