หลักธรรมอริยวัฑฒิ 5 หมายถึงข้อใด

กลาโหมยูเครนมั่นใจ รัสเซียเตรียมถล่มใหญ่ ฉลองครบรอบ 1 ปีวันยกพลบุกยูเครน โอเล็กซี เรซนิคอฟ รัฐมนตรีกลาโหมยูเครนมั่นใจ กองทัพรัสเซียเตรียมจัดหนักยูเครนแน่นอนในวันที่ 24 กุมภาพันธ์นี้ ซึ่งตรงกับวันครบรอบ 1 ปีที่รัสเซียเริ่มต้นแผนปฏิบัติการทางทหารในยูเครน และพบว่ามีการวางกองกำลังจำนวนมากรอไว้บริเวณชายแดนเรียบร้อยแล้ว

  • สุขภาพจิต/ศาสนา
อริยวัฑฒิ 5 ประการ

24975

แบ่งปันบนเฟสบุ๊ค

ทวีตบนทวิตเตอร์

หลักธรรมอริยวัฑฒิ 5 หมายถึงข้อใด

อริยวัฑฒิ 5 ประการ คือ หลักธรรม 5 ประการ ที่ช่วยสร้างความเจริญให้กับผู้ปฏิบัติ เพื่อป้องกันการเสื่อมในความดีที่เคยได้ปฏิบัติ ประกอบด้วย 5 ประการ ดังนี้
1. ศรัทธา หมายถึง การเจริญด้วยศรัทธา คือ การเชื่ออย่างมีเหตุ และผล ด้วยการใช้ปัญญาพิจารณา วิเคราะห์ในสิ่งเหล่านั้นถึงความจริงที่เป็นไปได้ เห็นได้ และพิสูจน์ได้จริง โดยไม่หลงเชื่อในสิ่งเหล่านั้นอย่างขาดเหตุ และผล

2. ศีล หมายถึง การเจริญด้วยศีล หมายถึง การสำรวมในกาย และวาจา ให้ประพฤติอยู่ในหลักศีลธรรมอันงาม ศีลที่ปุถุชนพึงรักษานี้ ได้แก่
– ศีล 5
– ศีล 8

3. สุตะ หมายถึง การเจริญด้วยการได้ฟัง ในที่นี้หมายความโดยสรุป คือ การเจริญด้วยการศึกษาเล่าเรียนอันเกิดจากคำสอนของผู้รู้ต่างๆ ดังนั้นแล้ว จึงเห็นควรมีความหมายครอบคลุมถึงการศึกษาที่มิใช้การได้ฟัง อาทิ การอ่าน การชม การฝึกปฎิบัติ เป็นต้น

4. จาคะ หมายถึง การเจริญด้วยการให้ คือ การรู้จักให้ทานในทรัพย์สิ่งของ หรือ รู้จักเสียสละในอารมณ์ความต้องการของตน (ไม่ตามใจตน) ประกอบด้วย
การบริจาควัตถุ
การบริจาควัตถุ คือ การบริจาคทรัพย์สิ่งของของตนให้แก่ผู้ตกทุกข์ได้ยาก เช่น
– การบริจาคเงินช่วยเหลือการก่อสร้างอาคารเรียน
– การบริจาคข้าวปลาอาหารหรือการเลี้ยงอาหารกลางวันแก่เด็กในศูนย์เด็กกำพร้า
ฯลฯ

การบริจาคความรู้
การบริจาคความรู้ หมายถึง การบริจาคความรู้ของตนด้วยการสั่งสอนหรือคำปรึกษาแนะนำให้แก่ผู้อื่น เช่น
– สอนหนังสือเด็ก
– อบรมการทำเกษตรอินทรีย์ให้แก่เกษตรกร
ฯลฯ

การบริจาคอวัยวะ
การบริจาคอวัยวะ หมายถึง การบริจาคอวัยวะในร่างกายของตนให้แก่คนอื่นที่กำลังเจ็บป่วยอยู่ เช่น
– การบริจาคดวงตา
– การบริจาคไต
ฯลฯ

การบริจาค/สละทางด้านอารมณ์
การบริจาคทางด้านอารมณ์ หมายถึง การละซึ่งอารมณ์อันเป็นความโกรธ ความอยาก และความหลงของตน ไม่ปล่อยให้อารมณ์เหล่านี้เกิดขึ้นแก่ตน เช่น
– ข่มใจไม่ซื้อเสื้อผ้า เพราะมีเสื้อผ้ามากพออยู่แล้ว
– ระงับอารมณ์โกรธ และไม่ตอบโต้เมื่อถูกผู้อื่นดุด่า
ฯลฯ

5. ปัญญา หมายถึง การเจริญด้วยปัญญา คือ การมีความรู้แจ้ง และเข้าใจในทุกสรรพสิ่งที่อยู่รอบตัว ประกอบขึ้นด้วย 3 ลักษณะ คือ
– สุตมยปัญญา เป็นปัญญาที่ได้จากตำราเรียน หรือ การสอนจากครูอาจารย์
– จินตมยปัญญา เป็นปัญญาที่ได้จากการใช้ความคิด วิเคราะห์ เพื่อหาเหตุ และผล
– ภาวนามยปัญญา เป็นปัญญาที่ได้จากการฝึกทำ ฝึกปฏิบัติในขั้นจริง เพื่อให้รู้ และเห็นด้วยตนเอง

หลักธรรมอริยวัฑฒิ 5 หมายถึงข้อใด

แบ่งปัน

Facebook

Twitter

บทความก่อนหน้านี้มรรค 8 ประการ/อริยมรรค และแนวทางปฏิบัติ

บทความถัดไปอริยสัจ 4 และแนวทางปฏิบัติ

thaihealthlife


[249] �����ѱ�� ���� �����Ѳ� 5 (������ԭ���ҧ������԰, ��ѡ������ԭ�ͧ���ª� � noble growth; development of a civilized or a righteous man)
�������1. ��ѷ�� (�������� ��������㹾���ѵ����� �����ѡ��觤�����ԧ���ҧ�է���ѹ���˵ؼ� � confidence)
�������2. ��� (������оĵԴ� ���Թ�� ����§�վ�ب�Ե � good conduct; morality)
�������3. �ص� (����������¹ʴѺ�ѧ�֡���Ҥ������ � learning)
�������4. �Ҥ� (���������������� ��������� �չ��㨪�������� 㨡��ҧ ����������Ѻ�ѧ���������� ���Ѻ᤺������� � liberality)
�������5. �ѭ�� (�����ͺ��� ���Դ ���Ԩ�ó� �����˵ؼ� ���ѡ�š��Ъ��Ե��������繨�ԧ � wisdom)

���ҹء���ط���ʵ�� ��Ѻ�����Ÿ��� �������駷�� �� �.�. ����
http://84000.org/tipitaka/dic/d_item.php?i=249

อุบาสกธรรม 5 มีอะไรบ้าง

พระพุทธพจน์ที่กล่าวถึงบทบาทของอุบาสกอุบาสิกา ไว้ในอุบาสกจัณฑาลสูตรว่า อุบาสกประกอบ ด้วยธรรม 5 ประการ เป็นอุบาสกแก้ว เป็นอุบาสกปทุม และเป็นอุบาสกบุณฑริกธรรม คือ (1) เป็น ผู้มีศรัทธา (2) เป็นผู้มีศีล (3) เป็นผู้ไม่ถือมงคลตื่นข่าว เชื่อกรรม ไม่เชื่อมงคล (4) ไม่แสวงหาผู้รับ ทักษิณานอกศาสนานี้ และ (5) ท าอุปการะในศาสนานี้ ...

ข้อใดหมายถึงหลักธรรมที่ทำให้ผู้ปฏิบัติประสบกับความเจริญงอกงาม

วุฒิธรรม 4คือ คุณธรรมหรือหลักการที่ก่อให้เกิดความเจริญ งอกงามหรือหลักธรรมที่สนับสนุนให้มีปัญญา 4 ประการ สัปปุริสสังเสวะคือ การคบหาสัตบุรุษหรือคนดี สัทธัมมัสสวนะคือ การฟังสัทธรรม หรือ เอาใจใส่ศึกษา ความรู้จริง

การปฏิบัติตนตามหลักอริยวัฑฒิ 5 จะส่งผลดีอย่างไร

การปฏิบัติตนตามหลักอริยวัฑฒิ 5 จะส่งผลดีอย่างไร สังคมเป็นปกติสุข นำไปสู่ความหลุดพ้น การพัฒนาชีวิตให้รุ่งเรือง

ผู้มีสุตะ คือ อย่างไร

โดยสรุปแล้วสุตะ คือการหมั่นเข้าไปแสวงหาความรู้สะสมข้อมูลธรรมะใหม่ๆ อยู่เสมอ เมื่อฟังแล้วก็นำมาตรึกตรองตาม ถ้ามีปัญหา หรือข้อสงสัยใดๆ ก็ไม่ยอมปล่อยผ่าน หมั่นเข้าไปสอบถามกับผู้รู้ให้เข้าใจ เพราะการหมั่นฟังธรรม ย่อมจะได้รับอานิสงส์ 5 ประการ คือ