มารในพระพุทธศาสนาหมายถึงอะไร

มารในพระพุทธศาสนาหมายถึงอะไร

มารศาสนา

อ่านว่า มาน-สาด-สะ-หฺนา

คำบาลีที่เอามาใช้อย่างคำไทย

(๑) “มาร

บาลีอ่านว่า มา-ระ รากศัพท์มาจาก มรฺ (ธาตุ = ตาย) + ปัจจัย, ลบ , ยืดเสียง อะ ที่ -(รฺ) เป็น อา (มรฺ > มาร) ตามสูตร “ด้วยอำนาจปัจจัยเนื่องด้วย ณ”

: มรฺ + = มรณ > มร > มาร แปลตามศัพท์ว่า –

(1) “ผู้ยังกุศลธรรมให้ตาย” คือมารเข้าที่ไหน ความดีที่มีอยู่ในที่นั้นก็ถูกทำลายหมดไป ความดีใหม่ๆ ก็ทำไม่ได้

(2) “ผู้เป็นเครื่องหมายแห่งความเศร้าหมองยังความดีให้ตาย” คือไม่ใช่ฆ่าความดีให้ตายอย่างเดียว หากแต่ยังก่อให้เกิดความสกปรกเลอะเทอะอีกด้วย

สรุปว่า “มาร” แปลตามศัพท์ว่า “ผู้ทำให้ตาย” มีความหมายว่า สิ่งที่ฆ่าบุคคลให้ตายจากความดีหรือจากผลที่หมายอันประเสริฐ, ตัวการที่กำจัดหรือขัดขวางไม่ให้บรรลุความดี

พจนานุกรมบาลี-อังกฤษ แปล “มาร” ว่า Death, the Evil one, the Tempter (ความตาย, คนชั่วร้าย, นักล่อลวง)

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554 บอกไว้ว่า –

มาร, มาร– : (คำนาม) เทวดาจําพวกหนึ่ง มีใจบาปหยาบช้าคอยกีดกันไม่ให้ทําบุญ; ยักษ์; ผู้ฆ่า, ผู้ทำลาย, ในพระพุทธศาสนาหมายถึงผู้กีดกันบุญกุศล มี ๕ อย่าง เรียกว่า เบญจพิธมาร คือ ขันธมาร กิเลสมาร อภิสังขารมาร มัจจุมาร เทวบุตรมาร, โดยปริยายหมายถึงผู้ที่เป็นอุปสรรคขัดขวาง. (ป., ส.).”

(๒) “ศาสนา

บาลีเป็น “สาสน” (สา-สะ-นะ) รากศัพท์มาจาก –

1) สาสฺ (ธาตุ = สั่งสอน) + ยุ ปัจจัย, แปลง ยุ เป็น อน (อะ-นะ)

: สาสฺ + ยุ > อน = สาสน แปลตามศัพท์ว่า (1) “คำอันท่านสั่งสอน” (2) “คำเป็นเครื่องสั่งสอนชาวโลกพร้อมทั้งเทวโลก”

2) สสฺ (ธาตุ = เบียดเบียน) + ยุ ปัจจัย, แปลง ยุ เป็น อน, ทีฆะ (ยืดเสียง) อะ ที่ -(สฺ) เป็น อา (สสฺ > สาส)

: สสฺ + ยุ > อน = สสน > สาสน แปลตามศัพท์ว่า “คำสั่งสอนที่เบียดเบียนกิเลส”

คำว่า “สาสน” ในบาลีใช้ในความหมาย 3 อย่าง คือ –

(1) คำสอน หรือที่เรียกทับศัพท์ว่า “ศาสนา” (teaching)

(2) คำสั่ง ในทางปกครองบังคับบัญชา (order to rule, govern)

(3) ข่าว คือที่เราคุ้นกันในคำว่า “สาส์น” หรือ “สาสน์” (message)

ในภาษาไทย พจน.54 บอกไว้ว่า –

ศาสน-, ศาสนา : (คำนาม) ลัทธิความเชื่อถือของมนุษย์อันมีหลัก คือแสดงกําเนิดและความสิ้นสุดของโลกเป็นต้น อันเป็นไปในฝ่ายปรมัตถ์ประการหนึ่ง แสดงหลักธรรมเกี่ยวกับบุญบาปอันเป็นไปในฝ่ายศีลธรรมประการหนึ่ง พร้อมทั้งลัทธิพิธีที่กระทําตามความเห็นหรือตามคําสั่งสอนในความเชื่อถือนั้น ๆ. (ส. ศาสน ว่า คําสอน, ข้อบังคับ; ป. สาสน).”

มาร + ศาสนา = มารศาสนา เป็นคำประสมแบบไทย แปลว่า “คนที่ทำความชั่วร้ายกับศาสนา” หมายถึงคนที่ทำทุจริตผิดศีลธรรมกับวัดหรือกับพระสงฆ์ ก่อให้เกิดความเสียหายต่อวัดหรือพระสงฆ์ หรือทำความเสื่อมศรัทธาในลักษณะต่างๆ ซึ่งอาจเป็นคนภายนอกเข้าไปทำ หรืออาจเป็นคนภายในวัดหรือภายในหมู่สงฆ์เป็นผู้ทำขึ้นเองก็ได้

ใน พจน.54 มีคำที่มีความหมายคล้ายๆ กันคำหนึ่ง คือ “มารสังคม” หมายถึง ผู้ที่เป็นภัยต่อสังคม

มารศาสนา” ก็ควรหมายถึง ผู้ที่เป็นภัยต่อศาสนานั่นเอง

: คนที่ทำชั่วกับพระศาสนาได้

: ไม่มีชั่วชนิดไหนที่เขาจะไม่ทำ

————–

(ตามคำขอของ จงสุภาพอ่อนโยน แม้แต่กับคนที่หยาบคาย)

19-2-59

ดูโพสต์ในเฟซบุ๊กของครูทองย้อย

จำนวนผู้เข้าชม : 225

มาร (บาลี:มาร; มาจากรากศัพท์ มรฺ แปลว่า "ตาย" มารจึงแปลว่า "ผู้ทำให้ตาย") หมายถึง เทวดาจำพวกหนึ่ง มีใจบาปหยาบช้าคอยกีดกันไม่ให้ทำบุญ ในวรรณกรรมไทย "มาร" หมายถึง ยักษ์ ด้วย

ในพระพุทธศาสนาใช้หมายถึง สิ่งใด ๆ ที่ฆ่าบุคคลให้ตายจากคุณความดีหรือจากผลที่หมายอันประเสริฐ, สิ่งที่ล้างผลาญคุณความดี, ตัวการที่กำจัดหรือขัดขวางบุคคลมิให้บรรลุ ผลสำเร็จอันดีงาม

เนื้อหา

  • 1ประเภท
  • 2อ้างอิง
  • 3ดูเพิ่ม
  • 4แหล่งข้อมูลอื่น

ในคัมภีร์วิสุทธิมรรค ได้แบ่งมารออกเป็น 5 ประเภท ได้แก่

  1. กิเลสมาร คือ กิเลสซึ่งทำให้เรามีความประพฤติ และนิสัยไม่ดีต่าง ๆ ในแง่ของมารหมายถึง กิเลสที่คอยขัดขวางไม่ให้เราทำความดี
  2. ขันธมาร คือ ขันธ์ ซึ่งบกพร่องแล้วเป็นมารผลาญตัวเอง ในแง่ของมารหมายถึง ขันธ์ที่คอยกีดขวางการทำความดี เช่น ต้องการฟังธรรมะ แต่หูหนวก ไม่สามารถฟังธรรมได้ เป็นต้น
  3. อภิสังขารมาร คือ ความคิดนึกอันประกอบกับอารมณ์ เป็นมารเพราะเป็นตัวปรุงแต่งกรรม ทำให้เกิดชาติชรา เป็นต้น ขัดขวางไม่ให้หลุดพ้นจากทุกข์ในสังสารวัฏ
  4. เทวบุตรมาร เทวดาที่เป็นมาร คือ ท้าววสวัตตี จอมเทพแห่งสวรรค์ชั้นปรนิมมิตวสวัตดี เป็นต้น
  5. มัจจุมาร คือ ความตายที่ตัดโอกาสการทำความดีของเรา

  1. ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว, กรุงเทพพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 904
  2. , พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต), , พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม

  • ท้าววสวัตตี
  • (ไทย)
  • (ไทย)
  • (อังกฤษ)
  • (อังกฤษ)

มารในพระพุทธศาสนาหมายถึงอะไร

มาร, ศาสนาพ, ทธ, ภาษาอ, เฝ, าด, แก, ไข, มาร, บาล, มาร, มาจากรากศ, พท, มร, แปลว, ตาย, มารจ, งแปลว, ทำให, ตาย, หมายถ, เทวดาจำพวกหน, ใจบาปหยาบช, าคอยก, ดก, นไม, ให, ทำบ, ในวรรณกรรมไทย, มาร, หมายถ, กษ, วย, เทวบ, ตรมารผจญพระพ, ทธเจ, ในพระพ, ทธศาสนาใช, หมายถ, งใด, า. mar sasnaphuthth phasaxun efadu aekikh mar bali mar macakraksphth mr aeplwa tay marcungaeplwa phuthaihtay hmaythung ethwdacaphwkhnung miicbaphyabchakhxykidknimihthabuy inwrrnkrrmithy mar hmaythung yks dwy 1 ethwbutrmarphcyphraphuththeca inphraphuththsasnaichhmaythung singid thikhabukhkhlihtaycakkhunkhwamdihruxcakphlthihmayxnpraesrith singthilangphlaykhunkhwamdi twkarthikacdhruxkhdkhwangbukhkhlmiihbrrlu phlsaercxndingam 2 enuxha 1 praephth 2 xangxing 3 duephim 4 aehlngkhxmulxunpraephth aekikhinkhmphirwisuththimrrkh idaebngmarxxkepn 5 praephth 2 idaek kielsmar khux kielssungthaiheramikhwampraphvti aelanisyimditang inaengkhxngmarhmaythung kielsthikhxykhdkhwangimiherathakhwamdi khnthmar khux khnth sungbkphrxngaelwepnmarphlaytwexng inaengkhxngmarhmaythung khnththikhxykidkhwangkarthakhwamdi echn txngkarfngthrrma aethuhnwk imsamarthfngthrrmid epntn xphisngkharmar khux khwamkhidnukxnprakxbkbxarmn epnmarephraaepntwprungaetngkrrm thaihekidchatichra epntn khdkhwangimihhludphncakthukkhinsngsarwt ethwbutrmar ethwdathiepnmar khux thawwswtti cxmethphaehngswrrkhchnprnimmitwswtdi epntn mccumar khux khwamtaythitdoxkaskarthakhwamdikhxngeraxangxing aekikh rachbnthitysthan phcnanukrm chbbrachbnthitysthan ph s 2554 echlimphraekiyrtiphrabathsmedcphraecaxyuhw krungethphph rachbnthitysthan 2556 hna 904 2 0 2 1 phraphrhmkhunaphrn prayuthth pyut ot mar phcnanukrmphuththsastr chbbpramwlthrrmduephim aekikhthawwswttiaehlngkhxmulxun aekikh wikiphcnanukrm mikhwamhmaykhxngkhawa mar sasnaphuthth bthkhwamekiywkberuxngmar ithy mar phukhaihtay ithy The Buddha s Encounters with Mara the Tempter Their Representation in Literature and Art xngkvs Buddhism History of the Devil by Paul Carus 1900 at sacred texts com xngkvs ekhathungcak https th wikipedia org w index php title mar sasnaphuthth amp oldid 8577860, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม

มารมีความหมายว่าอย่างไร

เทวดาจำพวกหนึ่ง มีใจบาปหยาบช้าคอยกีดกันไม่ให้ทำบุญ ยักษ์ (พุทธ) ผู้ฆ่า, ผู้ทำลาย, ในพระพุทธศาสนาหมายถึงผู้กีดกันบุญกุศล มี 5 อย่าง เรียกว่า เบญจพิธมาร คือ ขันธมาร กิเลสมาร อภิสังขารมาร มัจจุมาร เทวบุตรมาร โดยปริยายหมายถึงผู้ที่เป็นอุปสรรคขัดขวาง

คำว่า “กิเลสมาร” หมายถึงอะไร พร้อมยกตัวอย่างประกอบ

คำว่า กิเลสมาร (อ่านว่า กิ -เหฺลด-มาน) มาจากคำว่า กิเลส กับ มาร รวมกัน. กิเลส คือ คำรวมสำหรับเรียกความรู้สึกหรืออำนาจฝ่ายต่ำของจิตใจซึ่งเป็นแรงผลักดันให้คนสร้างอกุศลกรรมทั้งทางกาย วาจา และใจ เป็นสิ่งที่แปดเปื้อนจิตและทำให้จิตเศร้าหมอง. ส่วน มาร แปลว่า ผู้ฆ่า

ข้อใดให้ความหมายของ “มาร” ในทางภาษาธรรม

มาร, มาร- ผู้ฆ่า, ผู้ทำลาย, ในพระพุทธศาสนาหมายถึงผู้กีดกันบุญกุศล มี ๕ อย่าง เรียกว่า เบญจพิธมาร คือ ขันธมาร กิเลสมาร อภิสังขารมาร มัจจุมาร เทวบุตรมาร, โดยปริยายหมายถึงผู้ที่เป็นอุปสรรคขัดขวาง.