คำว่าฟังไม่ได้ศัพท์จับไปกระเดียดมีความหมายว่าอย่างไร

DekGenius.com

ดิกชันนารี อังกฤษ-ไทย | ดิกชันนารี ไทย-อังกฤษ | ดิกชันนารี ไทย-ไทย | ดิกชันนารี คอมพิวเตอร์ | ดิกชันนารี วิทยาศาสตร์ | ดิกชันนารี วิศวกรรม | พจนานุกรม ไทย-ไทย ราชบัณฑิตยสถาน | ดิกชันนารี พุทธศาสน์  | ดิกชันนารี ญี่ปุ่น-ไทย | ดิกชันนารี จีน-ไทย-จีน | ดิกชันนารี ทางการแพทย์ | ดิกชันนารี เกาหลี-ไทย | ดิกชันนารี ญี่ปุ่น-อังกฤษ

Search :

สุภาษิต สำนวนและวลีภาษาไทย - ความหมายของคำว่า   ฟังไม่ได้ศัพท์ จับไปกระเดียด คือ หมายถึง ...
   
  ฟังไม่ได้ศัพท์ จับไปกระเดียด ความหมาย คือ ฟังไม่ได้ความแจ่มชัด แล้วเอาไปพูดต่อ
   
 
:: Back to Dictionary

   

(ส่งเข้าทาง inbox facebook)

(Share ผ่าน social network)

<<BACK   NEXT>>
  สุภาษิต สำนวนและวลีภาษาไทย คำอื่น ๆ  
     
  มัดมือชก
มือไม่พาย เอาเท้าราน้ำ
ยกตนข่มท่าน
รักพี่เสียดายน้อง
เรือล่มเมื่อจอด ตาบอดเมื่อแก่
วันพระไม่มีหนเดียว
สีซอให้ควายฟัง
หัวมังกุท้ายมังกร
กงเกวียนกำเกวียน
เกี่ยวแฝกมุงป่า
คบคนให้ดูหน้า ซื้อผ้าให้ดูเนื้อ
เด็ดดอกไม้ร่วมต้น
นายว่าขี้ข้าพลอย
ฝนตกขี้หมูไหล คนจัญไรมาพบกัน
ยกเมฆ
วัวสันหลังหวะ
เห็นช้างขี้ ขี้ตามช้าง
กงเกวียนกำเกวียน
เขียนด้วยมือลบด้วยตีน
ตีตนก่อนไข้, ตีตนตายก่อนไข้
ผ้าขี้ริ้วห่อทอง
รีดเลือดกับปู
หมาหวงห้าง
กงเกวียนกำเกวียน
งมเข็มในมหาสมุทร
เบี้ยน้อยหอยน้อย
ยิ้มด้วยปาก ถากด้วยตา
หมาเห่าใบตองแห้ง
กงเกวียนกำเกวียน
ชักหน้าไม่ถึงหลัง
 
     

sponsored links

ฟังไม่ได้ศัพท์จับไปกระเดียด

ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 “ฟังไม่ได้ศัพท์จับไปกระเดียด” หมายความว่า
(สํา) ก. “ฟังไม่ได้ความแจ่มชัด แล้วเอาไปพูดต่อหรือทําผิด ๆ พลาด ๆ”

ฟังไม่ได้ศัพท์จับไปกระเดียด หมายถึง การฟังข้อความไม่ชัดแจ้งไม่ครบถ้วน ฟังไม่เข้าใจ ฟังไม่รู้เรื่องแต่นำไปตีความ แล้วพูดต่ออย่างผิดๆถูกๆ ทำให้เกิดความเสียหายตามมาภายหลัง เช่น

  • มีนักวิชาการเสนอแนวคิดสนับสนุนให้คนมีบุตรโดยมีการเรียกเก็บภาษีคนโสด แต่พวกฟังไม่ศัพท์จับไปกระเดียดวิจารณ์ด่าว่ารัฐบาลต่างๆนาๆ ทั้งๆที่มันเป็นเพียงแนวคิด ไม่ใช่ตัวบทกฏหมายเสียหน่อย

ความหมายของ คำพังเพย สุภาษิต สำนวนไทย by สุภาษิต.net

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา

ภาษาไทย[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

  • คำอ่านภาษาไทย:ฟัง-ไม่-ได้-สับ จับ-ไป-กฺระ-เดียด
การแบ่งพยางค์ ฟัง-ไม่-ด้าย-สับ-จับ-ไป-กฺระ-เดียด
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิง fang-mâi-dâai-sàp-jàp-bpai-grà-dìiat
ราชบัณฑิตยสภา fang-mai-dai-sap-chap-pai-kra-diat
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) /faŋ˧.maj˥˩.daːj˥˩.sap̚˨˩.t͡ɕap̚˨˩.paj˧.kra˨˩.dia̯t̚˨˩/(ส)

คำกริยา[แก้ไข]

ฟังไม่ได้ศัพท์ จับไปกระเดียด (คำอาการนาม การฟังไม่ได้ศัพท์ จับไปกระเดียด)

  1. (สำนวน) ฟังไม่ได้ความแจ่มชัด แล้วเอาไปพูดต่อ หรือทำผิด ๆ พลาด ๆ

เข้าถึงจาก "https://th.wiktionary.org/w/index.php?title=ฟังไม่ได้ศัพท์_จับไปกระเดียด&oldid=1494414"

หมวดหมู่:

  • ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียง IPA
  • ศัพท์ภาษาไทยที่มี 8 พยางค์
  • คำหลักภาษาไทย
  • คำกริยาภาษาไทย
  • สำนวนภาษาไทย

หมวดหมู่ที่ซ่อนอยู่:

  • บทความที่ยังใช้แม่แบบ คำอ่านภาษาไทย

 ฟังไม่ได้ศัพท์ จับไปกระเดียด หมายถึงอะไร ? สำนวน สุภาษิตไทยที่กล่าวว่า ฟังไม่ได้ศัพท์ จับไปกระเดียด หมายถึง (สำ) ก. ฟังไม่ได้ความแจ่มชัด แล้วเอาไปพูดต่อหรือทำผิด ๆ พลาด ๆ.  อ้างอิงจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๕๔

คำว่าฟังไม่ได้ศัพท์จับไปกระเดียดมีความหมายว่าอย่างไร

สำนวน ฟังไม่ได้ศัพท์ จับไปกระเดียด ใช้ในการเปรียบเปรยถึง การฟังไม่ได้ชัดเจน ไม่เข้าใจ แล้วนำเอาไปพูดต่อ หรือปฏิบัติผิด 

ที่มาของสำนวน “ฟังไม่ได้ศัพท์ จับเอามากระเดียด” มาจาก ก็จะหมายถึงการฟังอะไรมาแบบไม่เข้าใจถ่องแท้ แต่ก็นำไปใช้ตามความเข้าใจที่เข้าใจเองว่าน่าจะถูก “กระเดียด” คือ ค่อนข้าง,หนักไปทาง เมื่อมารวมกันเป็น “ฟังไม่ได้ศัพท์ จับเอามากระเดียด” ก็จะหมายถึง การได้ยินเรื่องราวใด ๆมาแบบไม่เข้าใจถ่องแท้ แล้วนำมาถ่ายทอดแบบผิดๆ หรือนำมาใช้แบบผิดๆ

  • ฟัง หมายถึง (๑) ก. ตั้งใจสดับ, คอยรับเสียงด้วยหู, ได้ยิน
  • ไม่ หมายถึง ว. มิ, คำปฏิเสธความหมายของคำที่อยู่ถัดไป เช่น ไม่กิน ไม่ดี, ถ้าอยู่ท้ายคำ ต้องมีคำ หา อยู่หน้า เช่น หากินไม่.
  • ได้ หมายถึง (๑) ก. รับมาหรือตกมาเป็นของตัว เช่น ได้เงิน ได้ลูกได้แผล
  • ศัพท์  หมายถึง (๓) น. เรื่อง เช่น ฟังไม่ได้ศัพท์ จับไปกระเดียด. (ส. ศพฺท; ป. สทฺท ว่า เสียง, คำ).
  • จับ หมายถึง (๑) ก. อาการที่ใช้มือแตะต้องสิ่งใดสิ่งหนึ่งตลอดจนกำไว้ยึดไว้
  • ไป หมายถึง ก. เคลื่อนจากตัวผู้พูด เช่น เขาไปตลาด เขาเข็นเรือไม่ไปเพราะเรือเกยตื้น, ใช้ตรงข้ามกับ มา, เป็นคำประกอบกริยาแสดงทิศทางออกจากตัวผู้พูด เช่น เขาเดินไปโรงเรียน, ในการเขียนจดหมายทางการ ใช้แสดงทิศทางออกจากตัวผู้ที่เขียนถึง เช่น ผมขอให้คุณเดินทางไปหาผมวันอาทิตย์นี้, หรือเป็นคำประกอบกริยามีความหมายว่า เรื่อยไป, ไม่หยุด, เช่น ทำไปกินไป, เป็นคำประกอบท้ายคำวิเศษณ์เพื่อเน้นความหมายให้หนักแน่นยิ่งขึ้น เช่น ขาวไป ช้าไป ดีเกินไป.
  • กระเดียด หมายถึง ว. ค่อนข้าง, คล้าย, หนักไปทาง, เช่น กระเดียดเปรี้ยว หน้าตากระเดียดไปทางแม่.

ตัวอย่างการใช้งาน สำนวน ฟังไม่ได้ศัพท์ จับไปกระเดียด ในประโยค

1.มีนักวิชาการเสนอแนวคิดสนับสนุนให้คนมีบุตรโดยมีการเรียกเก็บภาษีคนโสด แต่พวกฟังไม่ศัพท์จับไปกระเดียดวิจารณ์ด่าว่ารัฐบาลต่างๆนาๆ ทั้งๆที่มันเป็นเพียงแนวคิด ไม่ใช่ตัวบทกฎหมายเสียหน่อย

2.ข้อเสียของคนไทยชั้นใหม่นี้มีอยู่ที่สำคัญ   คือ   สิ่งใดที่เป็นของเก่าจะทิ้งเสียให้หมด   แต่ของใหม่ก็ไม่มีมาแทน   ได้ยินฝรั่งเขาพูดอะไรได้ยินแว่วๆ   “ ฟังไม่ได้ศัพท์จับเอามากระเดียด ”   เขาพูดก็พูดไปบ้างอย่างนั้นเอง

3.เจอเหตุการณ์แบบว่าผมพูดอีกอย่าง แต่คนฟังฟังไม่ได้ศัพท์จับไปกระเดียด แถมคิดว่าสิ่งที่ตัวเองฟังมาถูกอีก อธิบายก็ไม่ฟัง ถ้าเจอแบบนี้จะรับมือยังไงดีครับ.

4."เทพไท เสนพงศ์"สับ "เด็กนครฯพลังประชารัฐ" ฟังไม่ได้ศัพท์ จับไปกระเดียด สอนมวยความตีความให้เข้าใจ ก่อนออกมาตีโพยตีพาย อย่าหวังสร้างมูลค่าให้ตัวเอง ..

5.“ฟังไม่ได้ศัพท์จับไปกระเดียด”. อย่าหาว่าแม่สอน !! เดือดเเล้วเดือดอีก !! สำหรับนักแสดงอย่าง ใหม่ สุคนธวา ที่ออกมาโพสต์สั่งสอนมือเกรียนคีย์บอร์ด .

6.แบบนี้เขาเรียกว่า ฟังไม่ได้ศัพท์จับไปกระเดียด อ่อ…แล้วอีกเรื่อง ที่บ้านไม่ได้สอนให้ใช้คำพูดดีๆกับคนอื่นเหรอคะ?

7.ฟังไม่ได้ศัพท์ จับเอามากระเดียด. สํานวนสุภาษิตนี้ หมายถึงการได้ยินเรื่องราวใดๆมาแบบไม่เข้าใจถ่องแท้ แล้วนำมาถ่ายทอดแบบผิดๆ หรือนำมาใช้แบบผิดๆ.

8.โฆษกรัฐบาลย้อนเด็กเพื่อไทยตั้งใจฟัง “ประยุทธ์” พูดปมร่างรัฐธรรมนูญ ซัดฟังไม่ได้ศัพท์จับไปกระเดียด รับภาพรวมประเทศสงบแต่ไม่เรียบร้อย เหตุมีจ้องป่วน.

9.วิจารณ์สนั่นโซเชียล! เพลงใหม่ของแจ๊ส ชวนชื่น 'ยับแม่' เมีย 'แจ๊ส' ชี้ฟังไม่ได้ศัพท์จับไปกระเดียด.

10.บางท่านอาจฟังไม่ได้ศัพท์จับไปกระเดียด ตีความแบบจำขี้ปากคนอื่นแต่ไม่ได้ฟังเนื้อหาทั้งหมด..ถ่ายทอดก็มี ข่าวก็มีสรุป ยังจะเอาไปบิดเบือนหาเรื่องซะนี่คนเรา!

คำว่าฟังไม่ได้ศัพท์จับไปกระเดียดหมายความว่าอย่างไร

ก. ฟังไม่ได้ความแจ่มชัด แล้วเอาไปพูดต่อหรือทำผิด ๆ พลาด ๆ.

คำว่าฟังหูไว้หูมีความหมายว่าอย่างไร

ก. รับฟังไว้แต่ไม่เชื่อทั้งหมด.

คำว่าจรรโลงใจมีความหมายว่าอย่างไร

จรรโลง” ก. พยุงไว้ไม่ให้เซ หรือไม่ให้ล้มลง, ผดุง, ค้าชู, เช่น จรรโลงประเทศ, บ ารุงรักษาและ เชิดชูไว้ไม่ให้เสื่อม เช่น จรรโลง ศาสนา. พินิจความหมาย พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔

รู้หลบเป็นปีกรู้หลีกเป็นหางมีความหมายว่าอย่างไร

(สํา) ก. รู้จักเอาตัวรอดหรือปรับตัวให้เข้ากับเหตุการณ์.