ประเทศไทยขาดแคลนปัจจัยการผลิตอะไร

            3.  การวางแผนระดับโครงการ   เป็นการวางแผนเป็นรายโครงการ  มีรายละเอียดมากกว่าแผนระดับชาติและแผนระดับภาคเศรษฐกิจ  โดยกำหนดแผนการดำเนินงาน  วิธีการดำเนินงาน  และกำหนดหน่วยปฏิบัติไว้เป็นระเบียบแบบแผน

แรงงานเป็นปัจจัยการผลิตและเป็นทุนมนุษย์ที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาในทุกระดับ ทั้งระดับส่วนย่อย (Micro) ของระบบเศรษฐกิจ คือแรงงานในภาคการผลิตทั้งอุตสาหกรรม เกษตรกรรมและบริการ และระดับมหภาค (Macro) ของประเทศ กล่าวคือถ้าแรงงานในภาคการผลิตต่างๆ ของประเทศมีความรู้ความสามารถ มีทักษะและศักยภาพสูงจะส่งผลให้ประสิทธิภาพการผลิตและประสิทธิผลต่อการผลิตให้สูงขึ้น ซึ่งจะส่งผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจในภาพรวมของประเทศ จะเห็นได้ว่าแรงงานเป็นปัจจัยการผลิตที่สำคัญและมีคุณค่าต่อการพัฒนาประเทศ อย่างไรก็ตาม ในช่วงที่ผ่านมาปัญหาการขาดแคลนแรงงานทั้งด้านปริมาณและคุณภาพได้ถูกกล่าวถึงอย่างมากและมีความรุนแรงมากขึ้นเป็นลำดับ ซึ่งเป็นปัญหาทางโครงสร้างที่จะส่งผลกระทบต่อความสามารถในการเจริญเติบโตอย่างยั่งยืนของประเทศในระยะยาว เนื่องจากการจัดการด้านแรงงานมีความซับซ้อน และมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันในหลายมิติ ทั้งเชิงเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง และกลุ่มและสถาบันทางสังคมหลากหลายทั้งภาครัฐ ผู้ประกอบการ และแรงงาน ดังนั้นทุกภาคส่วนของสังคมจำเป็นที่ต้องมีความเข้าใจในสาเหตุอย่างถ่องแท้ทั้งเชิงลึกและเชิงกว้างของสภาพปัญหา เพื่อสามารถหาแนวทางแก้ไขได้อย่างถูกต้อง เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขันของแรงงานไทยในอนาคตและคุณภาพชีวิตที่ดีของแรงงานของประเทศโดยรวม

ในบทนี้แบ่งเป็น 3 ส่วนหลัก ประกอบด้วย ส่วนแรกกล่าวถึงความหมายของการขาดแคลนแรงงานและภาพรวมสภาพปัญหาการขาดแคลนแรงงานของไทย ซึ่งจะนำเสนอภาพรวมตลาดแรงงานไทยที่สะท้อนปัญหาการขาดแคลนแรงงานของไทยและสภาพปัญหาการขาดแคลนแรงงานของไทยในปัจจุบันที่ได้จากผลการสำรวจสถานการณ์การจ้างงานปี 2554 จัดทำโดยธนาคารแห่งประเทศไทย ส่วนที่ 2 สาเหตุของการขาดแคลนแรงงานของไทย ส่วนที่ 3 แนวทางแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงาน

ส่วนที่ 1 ความหมายของการขาดแคลนแรงงานและภาพรวมสภาพปัญหาการขาดแคลนแรงงานของไทย

1.1 การขาดแคลนแรงงานแปลว่าอะไร

การขาดแคลนแรงงาน*(1) หมายถึง ภาวะที่อุปสงค์แรงงานมีมากกว่าอุปทานแรงงานภายใต้ค่าจ้างและเงื่อนไขการจ้างงาน ณ ช่วงเวลาหนึ่งๆ หรือ การขยายตัวของอุปสงค์ในตลาดแรงงานสูงกว่าการขยายตัวของอุปทาน นอกจากการขาดแคลนในเชิงปริมาณแล้วยังมีการขาดแคลนในเชิงคุณภาพ กล่าวคือ ผู้ประกอบการไม่สามารถหาแรงงานที่มีคุณสมบัติตามที่ต้องการได้ (Qualified wo rker) เนื่องจากทักษะของแรงงานไม่ตรงต่อความต้องการ ภายใต้เงื่อนไขการจ้างงานหนึ่งๆ 1.2 ภาพรวมตลาดแรงงานไทยที่สะท้อนการขาดแคลนแรงงานของไทย

เศรษฐกิจไทยมีการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง แม้ได้รับผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจโลก โดยในช่วงปี 2549 - 2553 เศรษฐกิจไทยขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ 3.6 และปริมาณการส่งออกสินค้าและบริการขยายตัวค่อนข้างดีในภาพรวมในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 7.3 การที่เศรษฐกิจขยายตัวได้ต่อเนื่องจากอุปสงค์ทั้งในและต่างประเทศส่งผลให้ภาคการผลิตต้องการกำลังแรงงานมารองรับมากขึ้นเป็นลำดับ

ณ ไตรมาสที่ 3 ปี 2554 ไทยมีประชากรที่มีอายุมากกว่า 15 ปี หรืออยู่ในวัยทำงาน 54.1 ล้านคน เป็นกำลังแรงงาน*(2) 39.6 ล้านคน ซึ่งแบ่งเป็นผู้มีงานทำ*(3) 39.3 ล้านคน อยู่ในภาคเกษตรกรรมจำนวน 16.1 ล้านคนหรือร้อยละ 40.7 ของผู้มีงานทำทั้งหมด ภาคบริการจำนวน 9.8 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 24.8 ภาคอุตสาหกรรมจำนวน 5.2 ล้านคน หรือร้อยละ 13.2 ผู้ว่างงานรอฤดูกาล 4.4 หมื่นคน และผู้ว่างงาน 2.6 แสนคน เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากไตรมาสที่ 2 จาก 2.31 แสนคน

ตลาดแรงงานไทยมีลักษณะสำคัญที่สะท้อนปัญหาการขาดแคลนแรงงานอยู่ 5 ประการหลัก คือ

1. ตลาดแรงงานไทยประสบปัญหาแรงงานตึงตัวเพิ่มขึ้นต่อเนื่องอย่างเห็นได้ชัด สะท้อนจากอัตราการว่างงานในไทยที่มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2550 โดย ณ ไตรมาสที่ 2 ปี 2554 มีอัตราการว่างงานเพียงร้อยละ 0.6 โดยอัตราการว่างงานของแรงงานไร้ฝีมือ*(4) (Unskilled lab our) ต่ำสุดอยู่ที่ร้อยละ 0.42 รองลงมาคือ แรงงานกึ่งมีทักษะ (Semi-skilled labour) และแรงงานที่มีทักษะ (Skilled labo ur) อยู่ที่ร้อยละ 1.0 ในช่วงระหว่างปี 2543 - 2553 การมีส่วนร่วมของแรงงานลดลงโดยกำลังแรงงานของไทยขยายตัวในระดับต่ำเพียงร้อยละ 1.5 ต่อปี ขณะเดียวกันอัตราการทำงานต่ำกว่า ระดับ*(5) และอัตราการว่างงานรอฤดูกาลของไทยลดลงต่อเนื่องและอยู่ในระดับต่ำ นอกจากนี้ หากพิจารณาถึงด้านชั่วโมงการทำงาน พบว่าชั่วโมงการทำงานของผู้มีงานทำนอกภาคเกษตรที่ทำงานมากกว่า 50 ชั่วโมงต่อสัปดาห์เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ไตรมาสที่ 4 ของปี 2552 จะเห็นได้ว่าดัชนีทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับการจ้างงานล้วนแสดงถึงปัญหาการขาดแคลนแรงงานของตลาดแรงงานไทย

2. ตลาดแรงงานไทยมีสัดส่วนแรงงานไร้ฝีมือถึงกว่าร้อยละ 80 และเป็นผู้มีงานทำที่มีอายุ 30 ปีขึ้นไปถึงร้อยละ 70 *(6) สะท้อนโครงสร้างการผลิตของไทยที่ยังอาศัยแรงงานเข้มข้น ส่งผลให้มีความต้องการแรงงานทักษะต่ำในราคาค่าจ้างถูกในระดับสูงซึ่งแสดงนัยว่าระดับเทคโนโลยีการผลิตของไทยยังอยู่ในระดับต่ำ สอดคล้องกับความต้องการนำเข้าแรงงานต่างด้าวจากประเทศเพื่อนบ้านเป็นจำนวนมาก โดย ณ เดือนธันวาคม 2010 มีแรงงานต่างด้าวที่จดทะเบียนถูกกฎหมายประมาณ 1.3 ล้านคน*(7) และคาดว่ามีแรงงานต่างด้าวที่ไม่จดทะเบียนอีกเป็นจำนวนมาก ตลาดแรงงานไทยยังใช้แรงงานที่มีอายุ 30 ปี ขึ้นไปในสัดส่วนสูงถึงร้อยละ 70 และเป็นกลุ่มที่มีอัตราการว่างงานต่ำกว่ากลุ่มผู้มีงานทำที่มีอายุระหว่าง 15-29 ปี ซึ่งจะส่งผลให้การหาแรงงานมาทดแทนแรงงานในกลุ่มอายุนี้ซึ่งถือว่ามีประสบการณ์มากทำได้ยากในระยะต่อไป (ตาราง 1)

          สิ่งที่ธปท.จับตาคือ การขาดแคลนปัจจัยการผลิต โดยกังวลว่าจะส่งผลต่อการส่งออกหรือการก่อสร้างในระยะข้างหน้า  ซึ่งผู้ประกอบการประเมินว่าการขาดแคลนตู้คอนเทรนเนอร์อาจยืดเยี้อถึงปลายปี2564 ทำให้ต้นทุนขนส่งสูงขึ้นในกลุ่มสินค้าสิ่งทอ เครื่องนุ่งห่มหรืออาหารแปรรูป  ขณะที่บางกลุ่มทางผู้ซื้อชะลอคำสั่งซื้อ เช่น ชิ้นส่วนยานยนต์หรือเครื่องมือแพทย์ที่ใช้ยางพารา  และการขาดแคลน Semiconductor เกิดจากกำลังการผลิตลดลงเนื่องจากภัยแล้ง และใช้เวลาในการผลิตชดเชย ซึ่งผู้ประกอบการมองว่าอาจจะยืดเยื้อไปถึงต้นปี2565 รวมถึงผลิตภัณฑ์จากเหล็ก เนื่องจากจีนปิดโรงงานที่ไม่ได้มาตรฐานจากสิ่งแวดล้อม โดยจำกัดการส่งออกเหล็กทำให้ราคาเหล็กตลาดโลกปรับสูงขึ้นสถานการณ์อาจยืดเยื้อถึงไตรมาสที่3 ซึ่งต้นทุนเพิ่มขึ้นของเหล็กจะส่งผลต่อธุรกิจก่อสร้างโดยเฉพาะรายเล็ก  แต่ผู้ค้าวัสดุก่อสร้างยังได้รับประโยชน์

ความขาดแคลนสินค้าและบริการเกิดจากอะไร

การขาดแคลน ( Scarcity ) การที่เกิดการขาดแคลนขึ้นเนื่องจากความต้องการของมนุษย์ในสังคมมีมากกว่าความสามารถของสังคมที่ตอบสนองได้ทั้งหมด ซึ่งผลักดันให้มนุษย์ต้องทำการตัดสินใจเลือกสิ่งที่จะสนองความต้องการและความพอใจได้ดีที่สุด

จุดอ่อนสำคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจของไทย คือข้อใด

จุดอ่อนแรกคือ เศรษฐกิจไทยยังคงยึดติดอยู่กับอุตสาหกรรมเก่า ที่กำลังค่อยๆ หมดความสำคัญลงไป ในขณะที่สินค้าและบริการทางเทคโนโลยีที่กำลังเป็นที่ต้องการของตลาดโลก ไทยกลับไม่ค่อยมีความสามารถที่จะผลิตได้

ปัจจัยที่ใช้ในการผลิตมีอะไรบ้าง

รู้ “ ปัจจัยการผลิต “ จากสินค้าในชีวิตประจำวัน.
ที่ดิน (ที่ตั้งของโรงงานผลิตสินค้านั้น).
ทุน (วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ผลิตสินค้าชนิดนั้น).
แรงงาน (ใครคือคนผลิตสินค้านั้น).
ผู้ประกอบการ (เจ้าของสินค้าชนิดนั้น).

ปัจจัยการผลิตที่สําคัญที่สุด คืออะไร

คน คือ ปัจจัยการผลิตที่สำคัญที่สุด