ตราสัญลักษณ์ ประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏทั่วประเทศ เรียกว่าอะไร

โพสท์โดย mzataro

ตราสัญลักษณ์ ประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏทั่วประเทศ เรียกว่าอะไร
 

พระราชลัญจกรอันเป็นเครื่องหมายประกอบพระราชอิศริยยศ และพระราชอิศริยศักดิ์ใน

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ได้พระราชทานลงมาเป็นตราสัญลักษณ์

ของมหาวิทยาลัยราชภัฏทั่วประเทศ

มหาวิทยาลัยราชภัฏ เป็นกลุ่มมหาวิทยาลัยที่พัฒนามาจากโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ที่ตั้งอยู่ในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคของประเทศ ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น วิทยาลัยครู หลังจากนั้น ได้รับพระราชทานนาม "ราชภัฏ" จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ให้เป็นชื่อประจำสถาบัน พร้อมทั้ง พระราชทานตราประจำมหาวิทยาลัย ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยราชภัฏมีอยู่ 40 แห่ง

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศร รามาธิบดี จักรีนฤบดินทรสยามมินทราธิราช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานนาม " ราชภัฏ " และตราประจำมหาวิทยาลัย นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณและเกียรติยศสูงสุดแก่ชาวมหาวิทยาลัยราชภัฏทั่วพระราชอาณาจักร โดยนาม " ราชภัฏ หมายความว่า เป็นคนของพระราชา"

พวกเราชาว ราชภัฏ  จึงต้องถวายงานประดุจข้าราชบริพารที่รับใช้ใกล้ชิดเบื้องพระ ยุคลบาทที่ต้องถวายงานอย่างสุดความสามารถ สุดชีวิต และสุดจิตสุดใจ นอกจากนั้นการเป็นคนของ ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทก็ต้องเป็นข้าของแผ่นดินอีกหนึ่งประการด้วย นั่นก็ด้วยเพราะว่าใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทผู้เป็นมิ่งขวัญของพวกเราชาวราชภัฏนั้น ทรงเป็นแบบอย่างการทรงงาน เพื่อบ้านเมืองและแผ่นดินอย่างที่มิเคยทรงหยุดพักแม้เพียงนิด แม้ยามที่ทรงประชวรก็ไม่เคยหยุดทรงงานเพื่อพสกนิกรของพระองค์ !

คงด้วยเหตุผลเหล่าใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทจึงได้พระราชทานพระราชลัญจกร อันเป็นเครื่องประกอบพระราชอิศริยยศ พระราชอิศริยศักดิ์ ลงมาเป็นตราสัญลักษณ์ประจำ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ประหนึ่งเครื่องเตือนความทรงจำ ว่าพวกเราชาวราชภัฏคือ “คนของพระราชา และข้าของแผ่นดิน”

ในท้ายที่สุดที่อยากจะสื่อไปถึงพี่น้องชาวราชภัฏและมหาวิทยาลัยอื่นๆทั่วประเทศอยากให้ทุกท่านสำนึกในใจอยู่เสมอว่าเรามีหน้าที่อุทิศตนทำงานทุกอย่างเพื่อเป็นบทพิสูจน์ความจงรักภักดีและเทิดทูนใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท และล้นเกล้าล้นกระหม่อมทุกๆ พระองค์อย่างหาที่สุดมิได้ และตราบกระทั่งชีวิตจะหาไม่ รวมทั้งหากจะกระทำการสิ่งใดก็ต้องคำนึงถึงผลประโยชน์ของแผ่นดิน ชาติ และบ้านเมืองเป็นที่ตั้ง สำคัญที่ต้องเทิดทูนไว้เหนือเกล้าเกศีก็คือต้องปฏิบัติทุกภารกิจที่ได้รับมอบหมายมาประหนึ่งทำถวายใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทในทุกกรณี เพราะเราคือ “คนของพระราชา...ข้าของแผ่นดิน”

ตราสัญลักษณ์ ประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏทั่วประเทศ เรียกว่าอะไร

เป็นกำลังใจให้เจ้าของกระทู้โดยการ VOTE และ SHARE

139 VOTES

(4.1/5 จาก 34 คน)

VOTED: Maejoajan, Green day, ผมชื่อ ไอ้โง่, Plooto, HellCat, brawut, น้องคุ๊, MaENNo2, aomamm 66, vho, igolf, zerotype, Te Sangsuriya, แมวฮั่ว แมวขี้น้อยใจ, Dante Inferno

สัญลักษณ์มหาวิทยาลัย

ตราสัญลักษณ์ ประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏทั่วประเทศ เรียกว่าอะไร
ราชภัฏสัญลักษณ์ เป็นตราประจำมหาวิทยาลัย ซึ่งพระราชลัญจกรประจำพระองค์รัชกาลที่ 9 เป็นรูปพระที่นั่งอัฐทิศ ประกอบด้วยวงจักร กลางวงจักรมีอักขระเป็น อุ หรือเลข 9 รอบวงจักรมีรัศมีเปล่งออกโดยรอบ เหนือจักรเป็นรูปเศวตฉัตร 7ชั้น ตั้งอยู่บนพระที่นั่งอัฐทิศ แปลความหมายว่า ทรงมีพระบรมเดชานุภาพในแผ่นดิน โดยที่วันบรมราชาภิเษกตามโบราณราชประเพณีได้เสด็จประทับเหนือพระที่นั่งอัฐทิศ สมาชิกรัฐสภาถวายน้ำอภิเษกจากทิศทั้งแปด มีสีสัญลักษณ์ตราประจำสถาบัน 5 สี คือ

สีน้ำเงิน หมายถึง สถาบันพระมหากษัตริย์ ผู้ให้กำเนิดและพระราชทานนาม “สถาบันราชภัฏ”
สีเขียว หมายถึง ที่ตั้งของสถาบันทั้ง 36 แห่ง ในแหล่งธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่สวยงาม
สีทอง หมายถึง ความเจริญรุ่งเรืองทางปัญญา
สีส้ม หมายถึง ความเจริญรุ่งเรืองทางศิลปะวัฒนธรรมท้องถิ่น ที่ก้าวไกลในทั้ง 36 สถาบัน
สีขาว หมายถึง ความคิดอันบริสุทธิ์ของนักปราชญ์ แห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

สีประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

ตราสัญลักษณ์ ประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏทั่วประเทศ เรียกว่าอะไร

คำขวัญมหาวิทยาลัย

ปญฺญา โลกสฺมึ ปชฺโชโต : ปัญญาคือแสงสว่างส่องโลก

พระพุทธรูปประจำมหาวิทยาลัย

ตราสัญลักษณ์ ประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏทั่วประเทศ เรียกว่าอะไร

“พระพุทธรัชปัญญาบารมี”
ดอกไม้ประจำมหาวิทยาลัย

ตราสัญลักษณ์ ประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏทั่วประเทศ เรียกว่าอะไร

“ดอกราชพฤกษ์”

มหาวิทยาลัยราชภัฏ เป็นกลุ่มมหาวิทยาลัยที่พัฒนามาจากโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ที่ตั้งอยู่ในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคของประเทศ ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น วิทยาลัยครู หลังจากนั้น ได้รับพระราชทานนาม "ราชภัฏ" จากพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ให้เป็นชื่อประจำสถาบัน พร้อมทั้ง พระราชทาน พระราชลัญจกรเป็นตราประจำมหาวิทยาลัย โดยในปัจจุบัน มหาวิทยาลัยราชภัฏ มีอยู่ทั้งสิ้น 38 แห่ง ทั่วประเทศ

มหาวิทยาลัยราชภัฏ
Rajabhat University
ชื่อย่อ(แต่ละแห่งใช้ต่างกัน) / RU
สถาปนาโรงเรียนฝึกหัด
12 ตุลาคม พ.ศ. 2435
- 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2503 (67 ปี)
วิทยาลัยครู
29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2503
- 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 (31 ปี)
สถาบันราชภัฏ
14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535
- 15 มิถุนายน พ.ศ. 2547 (12 ปี)
มหาวิทยาลัยราชภัฏ
15 มิถุนายน พ.ศ. 2547 (17 ปี)
ประเภทมหาวิทยาลัยของรัฐ

เนื้อหา

  • 1ประวัติ
    • 1.1ยุคโรงเรียนฝึกหัด
    • 1.2ยุควิทยาลัยครู
    • 1.3ยุคนามพระราชทาน "สถาบันราชภัฏ"
    • 1.4ยุคปฏิรูปการศึกษา
    • 1.5ยุคมหาวิทยาลัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
  • 2วันราชภัฏ
  • 3สัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏ
  • 4รายชื่อมหาวิทยาลัยราชภัฏ
    • 4.1กลุ่มภาคกลาง
    • 4.2กลุ่มภาคใต้
    • 4.3กลุ่มภาคเหนือ
    • 4.4กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
    • 4.5อดีตมหาวิทยาลัยราชภัฏ
  • 5อ้างอิง

ยุคโรงเรียนฝึกหัด

มหาวิทยาลัยราชภัฏมีพัฒนามาจาก "โรงเรียนฝึกหัด" อาทิเช่น โรงเรียนฝึกหัดอาจารย์, โรงเรียนฝึกหัดครูประจำมณฑล โดยก่อเกิดดังนี้

  • ซึ่งโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์แห่งแรกเปิดสอนเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2435 ซึ่งตั้งขึ้นบริเวณโรงเลี้ยงเด็ก ตำบลสวนมะลิ ถนนบำรุงเมือง จังหวัดพระนคร (ปัจจุบัน คือ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร) หลังจากนั้น จึงได้ขยายไปตั้งอยู่ทุกภาคของประเทศ
  • ต่อมาได้เริ่มจัดตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูขึ้นในมณฑลนครราชสีมา ชื่อ โรงเรียนตัวอย่างประจำมณฑลนครราชสีมา เมื่อราวปี พ.ศ. 2457 ต่อมาก็ได้เปลี่ยนชื่อเป็น “โรงเรียนฝึกหัดครูกสิกรรมมณฑลนครราชสีมา” (ปัจจุบัน คือ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา)
  • ในปี พ.ศ. 2462 ได้จัดตั้ง "โรงเรียนฝึกหัดครูมณฑล" ขึ้น เพื่อผลิตครูที่สอนในระดับประถมศึกษา ผู้สำเร็จการศึกษา เรียกว่า "ครูประกาศนียบัตรมณฑล" ต่อมา ในปี พ.ศ. 2468 ธรรมการมณฑลได้จัดตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูประจำมณฑลขึ้นโดยเฉพาะ เรียกว่า "โรงเรียนฝึกหัดครูมูลประจำมณฑลนครศรีธรรมราช" (ปัจจุบัน คือ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา)
  • และ “โรงเรียนฝึกหัดครูกสิกรรมมณฑลอุดร” เริ่มก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2466 ซึ่งตั้งขึ้นบริเวณสโมสรเสือป่ามณฑลอุดร อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี (ปัจจุบัน คือ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี)
  • และ"โรงเรียนฝึกหัดครูกสิกรรมประจำมณฑลพายัพ" เริ่มก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2466 ณ บ้านเวียงบัว ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (ปัจจุบัน คือ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่)
  • และ “โรงเรียนฝึกหัดครูมัธยม” เป็นโรงเรียนที่เปิดสอนในระดับฝึกหัดครูมัธยม รับนักเรียนที่สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนฝึกหัดครูประถม (ป.ป.) และนักเรียนที่สำเร็จชั้นมัธยม ปีที่ 8 มาศึกษาต่อเพื่อเลื่อนฐานะจากครู ป.ป. ให้สูงขึ้นไปสู่ครู ป.ม. ก่อตั้งวันที่ 9 กันยายน 2483 (ปัจจุบัน คือ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม)

หลักจากมีการยกเลิกการปกครองแบบมณฑลแล้ว ทำให้โรงเรียนฝึกหัดครูกสิกรรมประจำมณฑล จึงเปลี่ยนชื่อเป็น "โรงเรียนฝึกหัดครูประกาศนียบัตร จังหวัด" และเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น "โรงเรียนฝึกหัดครู(ต่อท้ายด้วยจังหวัดที่ตั้ง)" พร้อมขยายการก่อตั้งโรงเรียนออกไปยังภูมิภาคมากขึ้น

ยุควิทยาลัยครู

ต่อมาเมื่อวันที่ 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2503 กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศยกฐานะ โรงเรียนฝึกหัดครู เป็น "วิทยาลัยครู" พร้อมกับเปิดสอนในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง (ป.กศ. สูง) และหลักสูตรปริญญาตรีของสภาการฝึกหัดครู โดยกำหนดในพระราชบัญญัติวิทยาลัยครู พ.ศ 2518 ตั้งแต่เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2503 เป็นต้นมา

ให้วิทยาลัยครูเป็นสถาบันอุดมศึกษา สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอนนักศึกษาถึงระดับปริญญาตรีในสาขาครุศาสตร์ หลักสูตรของสภาการฝึกหัดครู— พระราชบัญญัติวิทยาลัยครู พ.ศ. 2518

โดยมีวิทยาลัยครู จำนวน 17 แห่ง ได้แก่

  • วิทยาลัยครูจันทรเกษม กรุงเทพมหานคร
  • วิทยาลัยครูเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
  • วิทยาลัยครูเทพสตรี จังหวัดลพบุรี
  • วิทยาลัยครูนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา
  • วิทยาลัยครูนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช
  • วิทยาลัยครูนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์
  • วิทยาลัยครูบ้านสมเด็จเจ้าพระยา กรุงเทพมหานคร
  • วิทยาลัยครูพระนคร กรุงเทพมหานคร
  • วิทยาลัยครูพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
  • วิทยาลัยครูพิบูลสงคราม จังหวัดพิษณุโลก
  • วิทยาลัยครูมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม
  • วิทยาลัยครูยะลา จังหวัดยะลา
  • วิทยาลัยครูสงขลา จังหวัดสงขลา
  • วิทยาลัยครูสวนดุสิต กรุงเทพมหานคร
  • วิทยาลัยครูสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร
  • วิทยาลัยครูอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี
  • วิทยาลัยครูอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี

ยุคนามพระราชทาน "สถาบันราชภัฏ"

ในเวลาต่อมา วันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อ “สถาบันราชภัฏ” ให้กับวิทยาลัยครูทั่วประเทศ จึงมีผลทำให้วิทยาลัยครู เปลี่ยนชื่อใหม่เป็น สถาบันราชภัฏตั้งบัดนัน ครั้นต่อมาเมื่อวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2538 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระมหากรุณาธิคุณต่อชาวราชภัฏเป็นล้นพ้นด้วยทรงพระเมตตา ทรงพระกรุณาโปรดกล้าฯ พระราชทานพระราชลัญจกรประจำพระองค์ให้เป็น “สัญลักษณ์ประจำสถาบันราชภัฏ” นับเป็นมหาสิริมงคลอันควรที่ชาวราชภัฏทั้งมวลจักได้ภาคภูมิใจ และพร้อมใจกันปฏิบัติหน้าที่สนองพระมหากรุณาธิคุณให้เต็มความสามารถในอันที่จะพัฒนาสถาบันราชภัฏให้เป็น สถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนา ท้องถิ่น มีวัตถุประสงค์ให้การศึกษาวิชาการและวิชาชีพชั้นสูง ทำการวิจัย ให้บริการทางวิชาการแก่สังคม ปรับปรุง ถ่ายทอดและพัฒนาเทคโนโลยี ทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ผลิตครูและส่งเสริมวิทยฐานะครู และทำให้สถาบันราชภัฏ เปิดทำการสอนในาขาวิชาอื่นๆ นอกจากสาขาการศึกษาตั้งแต่นั้นมา

ยุคปฏิรูปการศึกษา

วันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2540 นายสุขวิช รังสิตพลรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการในขณะนั้น ได้อนุมัติให้จัดตั้งสถาบันราชภัฏเพิ่มขึ้นจำนวน 5 แห่งตามโครงการ 1 ใน 5 โครงการสถาบันราชภัฏเพิ่มในระยะแรก โดยได้รับการจัดตั้งขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการและกระจายโอกาสทางการศึกษาของประชากรในระดับภูมิภาค ได้แก่

  1. สถาบันราชภัฏชัยภูมิ
  2. สถาบันราชภัฏศรีสะเกษ
  3. สถาบันราชภัฏนครพนม
  4. สถาบันราชภัฏกาฬสินธุ์
  5. สถาบันราชภัฏร้อยเอ็ด

ยุคมหาวิทยาลัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น

วันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2547 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงลงพระปรมาภิไธย พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 และประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2547 ส่งผลให้สถาบันราชภัฏทั่วประเทศ ได้รับการยกฐานะและปรับเปลี่ยนสถานภาพเป็น “มหาวิทยาลัยราชภัฏ” ตั้งแต่วันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2547 เป็นต้นมา และมีภารกิจและปณิธานตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547

มาตรา 7 “ให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษา เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นที่เสริมสร้างพลังปัญญาของแผ่นดิน ฟื้นฟูพลังการเรียนรู้ เชิดชูภูมิปัญญาของท้องถิ่น สร้างสรรค์ ศิลปวิทยา เพื่อความเจริญก้าวหน้าอย่างมั่นคงและยั่งยืนของปวงชน มีส่วนร่วมในการจัดการ การบำรุงรักษาการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุล และยั่งยืน โดยมีวัตถุประสงค์ให้การศึกษา ส่งเสริมวิชาการและวิชาชีพชั้นสูง ทำการสอน วิจัย ให้บริการทางวิชาการแก่สังคม ปรับปรุง ถ่ายทอดและพัฒนาเทคโนโลยี ทะนุบำรุง ศิลปะและวัฒนธรรม ผลิตครูและส่งเสริมวิทยฐานะครู”— พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547

ทุกวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ของทุกปี เป็น “วันราชภัฏ” สืบเนื่องจาก วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2535 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนาม สถาบันราชภัฏ แก่วิทยาลัยครูทั่วประเทศ และได้มีพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานพระบรมราชานุญาต ให้อัญเชิญตราพระราชลัญจกรส่วนพระองค์ เป็นตราประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏ นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณล้นเกล้าล้นกระหม่อมหาที่สุดมิได้ เป็นสิ่งที่นำความภาคภูมิใจสูงสุดมาสู่ชาวมหาวิทยาลัยราชภัฏทั่วประเทศซึ่งชาวมหาวิทยาลัยราชภัฏ ในฐานะสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น สมควรจะเทิดพระมหากรุณาธิคุณนี้ไว้เหนือเกล้าและจงรักภักดีด้วยการตั้งปณิธานที่จะประพฤติ และปฏิบัติหน้าที่เจริญรอยตามเบื้องพระยุคลบาท ในการพัฒนาประเทศและบำบัดทุกข์ บำรุงสุขแก่พี่น้อง ประชาชนชาวไทย ดังนั้น วันที่ 14 กุมภาพันธ์ ถือว่าเป็นวันราชภัฏ ซึ่งชาวมหาวิทยาลัย และถือเป็นการสถาปนามหาวิทยาลัยราชภัฏด้วยเช่นกัน “

คำว่า “ราชภัฏ” ให้ความหมายที่กินใจความว่า “คนของพระราชา…ข้าของแผ่นดิน” หากตีความตามความรู้สึกยิ่งกินใจและตีความได้กว้างขวางยิ่งขึ้นไปอีกนั่นก็คือ “การถวายงานประดุจข้าราชบริพารที่รับใช้ใกล้ชิดเบื้องพระยุคลบาทที่ต้องถวายงานอย่างสุดความสามารถ สุดชีวิต และสุดจิตสุดใจ” ซึ่งการเป็นคนของใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทย่อมเป็นข้าของแผ่นดินอีกด้วย เนื่องจากว่าใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทผู้เป็นมิ่งขวัญของพวกเราชาวราชภัฏ ทรงเป็นแบบอย่างการทรงงานเพื่อบ้านเมือง และแผ่นดินอย่างที่มิเคยทรงหยุดพักแม้เพียงนิด แม้ยามที่ทรงประชวรก็ไม่เคยหยุดทรงงาน เพื่อความสุขของปวงชนชาวสยามของพระองค์นั้นเองด้วยเหตุผลเหล่าใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทจึงได้พระราชทานพระราชลัญจกร อันเป็นเครื่องประกอบพระราชอิศริยยศ พระราชอิศริยศักดิ์ ลงมาเป็นตราสัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏ ประหนึ่งเครื่องเตือนความทรงจำว่าพวกเราชาวราชภัฏคือ “คนของพระราชา และข้าของแผ่นดิน”

เนื่องในวันราชภัฎ ในทุกๆ มหาวิทยาลัยราชภัฎทั่วประเทศ จึงได้จัดกรรมต่างๆ ขึ้นอาทิ การทำบุญตักบาตร การจัดนิทรรศการ การเสวนาทางวิชาการ และการมอบรางวัลต่างๆ เป็นต้น ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ดีต่อการสนับสนุนอุดมการณ์ของ “ชาวราชภัฎ” หนึ่งในรอบปีมีวาระสำคัญอย่างยิ่งที่พวกเราเลือดราชภัฎจะถือโอกาสในการทำงานเพื่อสนองแนวทางพระราชดำริสืบต่อพระราชปณิธานและสืบสานพระราชประสงค์ เหมาะสมกับการเป็น “ข้ารองพระยุคลบาทยิ่ง” และอย่างให้ชาวราชภัฏทุกท่านสำนึกอยู่เสมอว่า “มีหน้าที่อุทิศตนทำงานทุกอย่าง เพื่อเป็นบทพิสูจน์ความจงรักภักดิ์ดี และเทิดทูนใต้ฝ่าละอองธุรีพระบาท และล้นเกล้าล้นกระหม่อมทุกๆ พระองค์อย่างหาที่สุดมิได้ สำคัญนักเรียน นักศึกษา ครู คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ พวกเราชาวราชภัฏต้องเทิดทูนไว้เหนือเกล้าเกศี ด้วยการปฏิบัติทึกภาระกิจที่ได้รับมอบหมายประหนึ่งทำถวายใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทในทุกกรณี เพราะพวกเราชาวราชภัฎคือ “คนของพระราชา ข้าของแผ่นดิน”

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานนาม " ราชภัฏ " และตราประจำมหาวิทยาลัย นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณและเกียรติยศสูงสุดแก่ชาวมหาวิทยาลัยราชภัฏทั่วพระราชอาณาจักร โดยนาม " ราชภัฏ หมายความว่า เป็นคนของพระราชา"

ตราสัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏ พิจารณาจากดวงตราพระราชลัญจกรประจำพระองค์รัชกาลที่ 9 เพื่อกำหนดรูปแบบสัญลักษณ์มหาวิทยาลัยราชภัฏ และได้รับพระราชทานมาเป็นตราประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏทั่วพระราชอาณาจักร ซึ่งมีรายละเอียดที่สมควร นำมากล่าวถึงไว้ ณ ที่นี้คือ

  1. เป็นรูปแบบที่เกี่ยวข้องกับสถาบันพระมหากษัตริย์ ผู้ให้กำเนิดสถาบัน
  2. เป็นรูปแบบที่เป็นกลาง เกี่ยวข้องกับท้องถิ่นที่ตั้ง ธรรมชาติ และความสอดคล้องกับชื่อมหาวิทยาลัยราชภัฏที่ได้รับพระราชทาน
  3. สีของตราประจำมหาวิทยาลัย มี 5 สี โดยมีความหมาย ดังนี้
  • ██ สีน้ำเงิน แทนค่าสถาบันพระมหากษัตริย์ผู้ให้กำเนิด และพระราชทานนาม “มหาวิทยาลัยราชภัฏ”
  • ██ สีเขียว แทนค่าแหล่งที่ตั้งในแหล่งธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่สวยงาม
  • ██ สีทอง แทนค่าความเจริญรุ่งเรืองทางภูมิปัญญา
  • ██ สีส้ม แทนค่าความรุ่งเรืองทางศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น
  • ██ สีขาว แทนค่าความคิดอันบริสุทธิ์ของนักปราชญ์แห่งพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร

ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยราชภัฏมีทั้งหมด 38 แห่งโดยแบ่งตามการจัดงานพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของกลุ่ม ดังนี้

กลุ่มภาคกลาง

  • มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี (มรกจ./KRU)
  • มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม (มจษ./CRU)
  • มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี (มรท./TRU)
  • มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี (มรธ./DRU)
  • มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม (มรน./NPRU)
  • มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา (มบส./BSRU)
  • มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร (มรภ.พน./PNRU)
  • มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา (มรอย./ARU)
  • มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี (มรภ.พบ./PBRU)
  • มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ (มรร./RRU)
  • มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี (มรรพ./RBRU)
  • มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ (มรว./VRU)
  • มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (มรภ.สส./SSRU)
  • มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง (มรมจ./MCRU)

กลุ่มภาคใต้

  • มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช (มรภ.นศ./NSTRU)
  • มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต (มรภ./PKRU)
  • มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา (มรย./YRU)
  • มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สข./SKRU)
  • มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี (มรส./SRU)

กลุ่มภาคเหนือ

  • มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร (มรภ.กพ./KPRU)
  • มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย (มรภ.ชร./CRRU)
  • มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ (มรภ.ชม./CMRU)
  • มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ (มรภ.นว./NSRU)
  • มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม (มร.พส./PSRU)
  • มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ (มรภ.พช./PCRU)
  • มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง (มรภ.ลป./LPRU)
  • มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ (มรอ./URU)

กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

  • มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ (มชย./CPRU)
  • มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา (มร.นม./NRRU)
  • มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ (มรภ.บร./BRU)
  • มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม (มรม./RMU)
  • มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด (ม.รอ./RERU)
  • มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย (มรล./LRU)
  • มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ (มรภ.ศก./SSKRU)
  • มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร (มรสน./SNRU)
  • มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ (ม.รภ.สร./SRRU)
  • มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี (มร.อด./UDRU)
  • มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี (มรภ.อบ./UBRU)


องค์กรเกี่ยวกับนักศึกษา

สมาพันธ์นิสิตนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏทั่วประเทศ

เป็นองค์กรของนักศึกษาที่ตั้งขึ้นตามมติที่ประชุมอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏทั่วประเทศ โดยสมาพันธ์ฯ มีหน้าที่มุ่งเน้นในเรื่องการสร้างเครือข่ายระหว่างนักศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 38 แห่ง และพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสิทธิและเสรีภาพของกลุ่มนักศึกษาเป็นสำคัญ โดยสมาพันธ์ฯ ประกอบไปด้วย ประธานสภานักศึกและนายกองค์การนักศึกษา ของมหาวิทยาลัยราชภัฏทั่วประเทศเป็นกรรมการโดยตำแหน่ง

อดีตมหาวิทยาลัยราชภัฏ

  • มหาวิทยาลัยราชภัฏนครพนม - ได้ควบรวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของ มหาวิทยาลัยนครพนม เมื่อวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2548
  • มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต - ได้แปรสภาพเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐบาลและเปลี่ยนชื่อเป็น มหาวิทยาลัยสวนดุสิต เมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2558
  • มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ - ได้ควบรวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ เมื่อวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2558

  1. กุมารี วัชชวงษ์ ,, หนังสือพิมพ์ข่าวสด, วันพุธที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2549
  2. , ราชกิจจานุเบกษา, วันที่สืบค้น 17 กรกฎาคม 2558
  3. ราชกิจจานุเบกษา พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ พ.ศ. 2558 เล่ม 132 ตอน 86 ก หน้า 45 8 กันยายน 2558

ตราสัญลักษณ์ ประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏทั่วประเทศ เรียกว่าอะไร

มหาว, ทยาล, ยราชภ, ภาษาอ, เฝ, าด, แก, ไข, เปล, ยนทางจาก, มหาว, ทยาล, ยราชภ, เป, นกล, มมหาว, ทยาล, ยท, ฒนามาจากโรงเร, ยนฝ, กห, ดอาจารย, งอย, ในส, วนกลางและส, วนภ, ภาคของประเทศ, อมาได, เปล, ยนช, อเป, ทยาล, ยคร, หล, งจากน, ได, บพระราชทานนาม, ราชภ, จากพระบาทสมเด, . mhawithyalyrachpht phasaxun efadu aekikh epliynthangcak mhawithyalyrachphd mhawithyalyrachpht epnklummhawithyalythiphthnamacakorngeriynfukhdxacarythitngxyuinswnklangaelaswnphumiphakhkhxngpraeths txmaidepliynchuxepn withyalykhru hlngcaknn idrbphrarachthannam rachpht cakphrabathsmedcphrabrmchnkathiebsr mhaphumiphlxdulyedchmharach brmnathbphitr ihepnchuxpracasthabn phrxmthng phrarachthan phrarachlyckrepntrapracamhawithyaly odyinpccubn mhawithyalyrachpht mixyuthngsin 38 aehng thwpraethsmhawithyalyrachphtRajabhat Universitychuxyx aetlaaehngichtangkn RUsthapnaorngeriynfukhd 12 tulakhm ph s 2435 29 kumphaphnth ph s 2503 67 pi withyalykhru 29 kumphaphnth ph s 2503 14 kumphaphnth ph s 2535 31 pi sthabnrachpht 14 kumphaphnth ph s 2535 15 mithunayn ph s 2547 12 pi mhawithyalyrachpht 15 mithunayn ph s 2547 17 pi praephthmhawithyalykhxngrth enuxha 1 prawti 1 1 yukhorngeriynfukhd 1 2 yukhwithyalykhru 1 3 yukhnamphrarachthan sthabnrachpht 1 4 yukhptirupkarsuksa 1 5 yukhmhawithyalyephuxphthnathxngthin 2 wnrachpht 3 sylksnpracamhawithyalyrachpht 4 raychuxmhawithyalyrachpht 4 1 klumphakhklang 4 2 klumphakhit 4 3 klumphakhehnux 4 4 klumphakhtawnxxkechiyngehnux 4 5 xditmhawithyalyrachpht 5 xangxingprawti aekikhifl pratuthangekhawithyalykhruechiyngihm jpg pratuthangekhawithyalykhruechiyngihminxdit pccubnkhux mhawithyalyrachphtechiyngihm yukhorngeriynfukhd aekikh mhawithyalyrachphtmiphthnamacak orngeriynfukhd xathiechn orngeriynfukhdxacary orngeriynfukhdkhrupracamnthl odykxekiddngni sungorngeriynfukhdxacaryaehngaerkepidsxnemuxwnthi 12 tulakhm ph s 2435 sungtngkhunbriewnorngeliyngedk tablswnmali thnnbarungemuxng cnghwdphrankhr pccubn khux mhawithyalyrachphtphrankhr 1 hlngcaknn cungidkhyayiptngxyuthukphakhkhxngpraeths txmaiderimcdtngorngeriynfukhdkhrukhuninmnthlnkhrrachsima chux orngeriyntwxyangpracamnthlnkhrrachsima emuxrawpi ph s 2457 2 txmakidepliynchuxepn orngeriynfukhdkhruksikrrmmnthlnkhrrachsima pccubn khux mhawithyalyrachphtnkhrrachsima inpi ph s 2462 idcdtng orngeriynfukhdkhrumnthl khun ephuxphlitkhruthisxninradbprathmsuksa phusaerckarsuksa eriykwa khruprakasniybtrmnthl txma inpi ph s 2468 thrrmkarmnthlidcdtngorngeriynfukhdkhrupracamnthlkhunodyechphaa eriykwa orngeriynfukhdkhrumulpracamnthlnkhrsrithrrmrach pccubn khux mhawithyalyrachphtsngkhla aela orngeriynfukhdkhruksikrrmmnthlxudr erimkxtngemuxwnthi 1 phvscikayn ph s 2466 sungtngkhunbriewnsomsresuxpamnthlxudr xaephxemuxng cnghwdxudrthani pccubn khux mhawithyalyrachphtxudrthani 3 aela orngeriynfukhdkhruksikrrmpracamnthlphayph erimkxtngemuxpi ph s 2466 n banewiyngbw tablchangephuxk xaephxemuxng cnghwdechiyngihm pccubn khux mhawithyalyrachphtechiyngihm 4 aela orngeriynfukhdkhrumthym epnorngeriynthiepidsxninradbfukhdkhrumthym rbnkeriynthisaerckarsuksacakorngeriynfukhdkhruprathm p p aelankeriynthisaercchnmthym pithi 8 masuksatxephuxeluxnthanacakkhru p p ihsungkhunipsukhru p m kxtngwnthi 9 knyayn 2483 pccubn khux mhawithyalyrachphtcnthreksm hlkcakmikarykelikkarpkkhrxngaebbmnthlaelw thaihorngeriynfukhdkhruksikrrmpracamnthl cungepliynchuxepn orngeriynfukhdkhruprakasniybtr cnghwd aelaepliynchuxihmepn orngeriynfukhdkhru txthaydwycnghwdthitng phrxmkhyaykarkxtngorngeriynxxkipyngphumiphakhmakkhun yukhwithyalykhru aekikh txmaemuxwnthi 29 kumphaphnth ph s 2503 krathrwngsuksathikaridprakasykthana orngeriynfukhdkhru epn withyalykhru phrxmkbepidsxninhlksutrprakasniybtrwichakarsuksachnsung p ks sung aelahlksutrpriyyatrikhxngsphakarfukhdkhru odykahndinphrarachbyytiwithyalykhru ph s 2518 tngaetemuxwnthi 1 phvsphakhm ph s 2503 epntnma ihwithyalykhruepnsthabnxudmsuksa sngkdkrathrwngsuksathikar epidsxnnksuksathungradbpriyyatriinsakhakhrusastr hlksutrkhxngsphakarfukhdkhru phrarachbyytiwithyalykhru ph s 2518 odymiwithyalykhru canwn 17 aehng idaek 5 withyalykhrucnthreksm krungethphmhankhr withyalykhruechiyngihm cnghwdechiyngihm withyalykhruethphstri cnghwdlphburi withyalykhrunkhrrachsima cnghwdnkhrrachsima withyalykhrunkhrsrithrrmrach cnghwdnkhrsrithrrmrach withyalykhrunkhrswrrkh cnghwdnkhrswrrkh withyalykhrubansmedcecaphraya krungethphmhankhr withyalykhruphrankhr krungethphmhankhr withyalykhruphrankhrsrixyuthya cnghwdphrankhrsrixyuthya withyalykhruphibulsngkhram cnghwdphisnuolk withyalykhrumhasarkham cnghwdmhasarkham withyalykhruyala cnghwdyala withyalykhrusngkhla cnghwdsngkhla withyalykhruswndusit krungethphmhankhr withyalykhruswnsunntha krungethphmhankhr withyalykhruxudrthani cnghwdxudrthani withyalykhruxublrachthani cnghwdxublrachthani yukhnamphrarachthan sthabnrachpht aekikh inewlatxma wnthi 14 kumphaphnth ph s 2535 6 phrabathsmedcphrabrmchnkathiebsr mhaphumiphlxdulyedchmharach brmnathbphitr thrngphrakrunaoprdekla phrarachthanchux sthabnrachpht ihkbwithyalykhruthwpraeths cungmiphlthaihwithyalykhru epliynchuxihmepn sthabnrachphttngbdnn khrntxmaemuxwnthi 6 minakhm ph s 2538 phrabathsmedcphrabrmchnkathiebsr mhaphumiphlxdulyedchmharach brmnathbphitr miphramhakrunathikhuntxchawrachphtepnlnphndwythrngphraemtta thrngphrakrunaoprdkla phrarachthanphrarachlyckrpracaphraxngkhihepn sylksnpracasthabnrachpht nbepnmhasirimngkhlxnkhwrthichawrachphtthngmwlckidphakhphumiic aelaphrxmicknptibtihnathisnxngphramhakrunathikhunihetmkhwamsamarthinxnthicaphthnasthabnrachphtihepn sthabnxudmsuksaephuxkarphthna thxngthin miwtthuprasngkhihkarsuksawichakaraelawichachiphchnsung thakarwicy ihbrikarthangwichakaraeksngkhm prbprung thaythxdaelaphthnaethkhonolyi thanubarungsilpwthnthrrm phlitkhruaelasngesrimwithythanakhru 7 aelathaihsthabnrachpht epidthakarsxninakhawichaxun nxkcaksakhakarsuksatngaetnnma yukhptirupkarsuksa aekikh wnthi 20 emsayn ph s 2540 naysukhwich rngsitphlrthmntriwakarkrathrwngsuksathikarinkhnann idxnumtiihcdtngsthabnrachphtephimkhuncanwn 5 aehngtamokhrngkar 1 in 5 okhrngkarsthabnrachphtephiminrayaaerk odyidrbkarcdtngkhunephuxtxbsnxngkhwamtxngkaraelakracayoxkasthangkarsuksakhxngprachakrinradbphumiphakh idaek sthabnrachphtchyphumi sthabnrachphtsrisaeks sthabnrachphtnkhrphnm sthabnrachphtkalsinthu sthabnrachphtrxyexdyukhmhawithyalyephuxphthnathxngthin aekikh wnthi 10 mithunayn ph s 2547 8 phrabathsmedcphrabrmchnkathiebsr mhaphumiphlxdulyedchmharach brmnathbphitr thrnglngphraprmaphiithy phrarachbyytimhawithyalyrachpht ph s 2547 aelaprakasinrachkiccanuebksa emuxwnthi 14 mithunayn ph s 2547 sngphlihsthabnrachphtthwpraeths idrbkarykthanaaelaprbepliynsthanphaphepn mhawithyalyrachpht tngaetwnthi 15 mithunayn ph s 2547 epntnma aelamipharkicaelapnithantamphrarachbyytimhawithyalyrachpht ph s 2547 9 matra 7 ihmhawithyalyepnsthabnxudmsuksa ephuxkarphthnathxngthinthiesrimsrangphlngpyyakhxngaephndin funfuphlngkareriynru echidchuphumipyyakhxngthxngthin srangsrrkh silpwithya ephuxkhwamecriykawhnaxyangmnkhngaelayngyunkhxngpwngchn miswnrwminkarcdkar karbarungrksakarichpraoychncakthrphyakrthrrmchatiaelasingaewdlxmxyangsmdul aelayngyun odymiwtthuprasngkhihkarsuksa sngesrimwichakaraelawichachiphchnsung thakarsxn wicy ihbrikarthangwichakaraeksngkhm prbprung thaythxdaelaphthnaethkhonolyi thanubarung silpaaelawthnthrrm phlitkhruaelasngesrimwithythanakhru phrarachbyytimhawithyalyrachpht ph s 2547wnrachpht aekikhthukwnthi 14 kumphaphnth khxngthukpi epn wnrachpht subenuxngcak wnthi 14 kumphaphnth 2535 phrabathsmedcphrabrmchnkathiebsr mhaphumiphlxdulyedchmharach brmnathbphitr thrngphrakrunaoprdekla phrarachthannam sthabnrachpht aekwithyalykhruthwpraeths aelaidmiphramhakrunathikhunoprdeklaoprdkrahmxmphrarachthanphrabrmrachanuyat ihxyechiytraphrarachlyckrswnphraxngkh epntrapracamhawithyalyrachpht nbepnphramhakrunathikhunlneklalnkrahmxmhathisudmiid epnsingthinakhwamphakhphumiicsungsudmasuchawmhawithyalyrachphtthwpraethssungchawmhawithyalyrachpht inthanasthabnxudmsuksaephuxkarphthnathxngthin smkhwrcaethidphramhakrunathikhunniiwehnuxeklaaelacngrkphkdidwykartngpnithanthicapraphvti aelaptibtihnathiecriyrxytamebuxngphrayukhlbath inkarphthnapraethsaelababdthukkh barungsukhaekphinxng prachachnchawithy dngnn wnthi 14 kumphaphnth thuxwaepnwnrachpht sungchawmhawithyaly aelathuxepnkarsthapnamhawithyalyrachphtdwyechnkn khawa rachpht ihkhwamhmaythikinickhwamwa khnkhxngphraracha khakhxngaephndin haktikhwamtamkhwamrusukyingkinicaelatikhwamidkwangkhwangyingkhunipxiknnkkhux karthwaynganpraduckharachbripharthirbichiklchidebuxngphrayukhlbaththitxngthwaynganxyangsudkhwamsamarth sudchiwit aelasudcitsudic sungkarepnkhnkhxngitfalaxxngthuliphrabathyxmepnkhakhxngaephndinxikdwy enuxngcakwaitfalaxxngthuliphrabathphuepnmingkhwykhxngphwkerachawrachpht thrngepnaebbxyangkarthrngnganephuxbanemuxng aelaaephndinxyangthimiekhythrnghyudphkaemephiyngnid aemyamthithrngprachwrkimekhyhyudthrngngan ephuxkhwamsukhkhxngpwngchnchawsyamkhxngphraxngkhnnexngdwyehtuphlehlaitfalaxxngthuliphrabathcungidphrarachthanphrarachlyckr xnepnekhruxngprakxbphrarachxisriyys phrarachxisriyskdi lngmaepntrasylksnpracamhawithyalyrachpht prahnungekhruxngetuxnkhwamthrngcawaphwkerachawrachphtkhux khnkhxngphraracha aelakhakhxngaephndin enuxnginwnrachphd inthuk mhawithyalyrachphdthwpraeths cungidcdkrrmtang khunxathi karthabuytkbatr karcdnithrrskar kareswnathangwichakar aelakarmxbrangwltang epntn sungepnkickrrmthiditxkarsnbsnunxudmkarnkhxng chawrachphd hnunginrxbpimiwarasakhyxyangyingthiphwkeraeluxdrachphdcathuxoxkasinkarthanganephuxsnxngaenwthangphrarachdarisubtxphrarachpnithanaelasubsanphrarachprasngkh ehmaasmkbkarepn kharxngphrayukhlbathying aelaxyangihchawrachphtthukthansanukxyuesmxwa mihnathixuthistnthanganthukxyang ephuxepnbthphisucnkhwamcngrkphkdidi aelaethidthunitfalaxxngthuriphrabath aelalneklalnkrahmxmthuk phraxngkhxyanghathisudmiid sakhynkeriyn nksuksa khru khnacary ecahnathi phwkerachawrachphttxngethidthuniwehnuxeklaeksi dwykarptibtithukpharakicthiidrbmxbhmayprahnungthathwayitfalaxxngthuliphrabathinthukkrni ephraaphwkerachawrachphdkhux khnkhxngphraracha khakhxngaephndin sylksnpracamhawithyalyrachpht aekikhphrabathsmedcphrabrmchnkathiebsr mhaphumiphlxdulyedchmharach brmnathbphitr thrngphrakrunaoprdeklaoprdkrahmxm phrarachthannam rachpht aelatrapracamhawithyaly nbepnphramhakrunathikhunaelaekiyrtiyssungsudaekchawmhawithyalyrachphtthwphrarachxanackr odynam rachpht hmaykhwamwa epnkhnkhxngphraracha trasylksnpracamhawithyalyrachpht phicarnacakdwngtraphrarachlyckrpracaphraxngkhrchkalthi 9 ephuxkahndrupaebbsylksnmhawithyalyrachpht aelaidrbphrarachthanmaepntrapracamhawithyalyrachphtthwphrarachxanackr sungmiraylaexiydthismkhwr namaklawthungiw n thinikhux epnrupaebbthiekiywkhxngkbsthabnphramhakstriy phuihkaenidsthabn epnrupaebbthiepnklang ekiywkhxngkbthxngthinthitng thrrmchati aelakhwamsxdkhlxngkbchuxmhawithyalyrachphtthiidrbphrarachthan sikhxngtrapracamhawithyaly mi 5 si odymikhwamhmay dngni sinaengin aethnkhasthabnphramhakstriyphuihkaenid aelaphrarachthannam mhawithyalyrachpht siekhiyw aethnkhaaehlngthitnginaehlngthrrmchatiaelasingaewdlxmthiswyngam sithxng aethnkhakhwamecriyrungeruxngthangphumipyya sism aethnkhakhwamrungeruxngthangsilpwthnthrrmthxngthin sikhaw aethnkhakhwamkhidxnbrisuththikhxngnkprachyaehngphrabathsmedcphrabrmchnkathiebsr mhaphumiphlxdulyedchmharach brmnathbphitr dd raychuxmhawithyalyrachpht aekikhpccubn mhawithyalyrachphtmithnghmd 38 aehngodyaebngtamkarcdnganphithiphrarachthanpriyyabtrkhxngklum dngni 10 klumphakhklang aekikh mhawithyalyrachphtkaycnburi mrkc KRU mhawithyalyrachphtcnthreksm mcs CRU mhawithyalyrachphtethphstri mrth TRU mhawithyalyrachphtthnburi mrth DRU mhawithyalyrachphtnkhrpthm mrn NPRU mhawithyalyrachphtbansmedcecaphraya mbs BSRU mhawithyalyrachphtphrankhr mrph phn PNRU mhawithyalyrachphtphrankhrsrixyuthya mrxy ARU mhawithyalyrachphtephchrburi mrph phb PBRU mhawithyalyrachphtrachnkhrinthr mrr RRU mhawithyalyrachphtraiphphrrni mrrph RBRU mhawithyalyrachphtwilyxlngkrn inphrabrmrachupthmph mrw VRU mhawithyalyrachphtswnsunntha mrph ss SSRU mhawithyalyrachphthmubancxmbung mrmc MCRU klumphakhit aekikh mhawithyalyrachphtnkhrsrithrrmrach mrph ns NSTRU mhawithyalyrachphtphuekt mrph PKRU mhawithyalyrachphtyala mry YRU mhawithyalyrachphtsngkhla mrph skh SKRU mhawithyalyrachphtsurasdrthani mrs SRU klumphakhehnux aekikh mhawithyalyrachphtkaaephngephchr mrph kph KPRU mhawithyalyrachphtechiyngray mrph chr CRRU mhawithyalyrachphtechiyngihm mrph chm CMRU mhawithyalyrachphtnkhrswrrkh mrph nw NSRU mhawithyalyrachphtphibulsngkhram mr phs PSRU mhawithyalyrachphtephchrburn mrph phch PCRU mhawithyalyrachphtlapang mrph lp LPRU mhawithyalyrachphtxutrditth mrx URU klumphakhtawnxxkechiyngehnux aekikh mhawithyalyrachphtchyphumi mchy CPRU mhawithyalyrachphtnkhrrachsima mr nm NRRU mhawithyalyrachphtburirmy mrph br BRU mhawithyalyrachphtmhasarkham mrm RMU mhawithyalyrachphtrxyexd m rx RERU mhawithyalyrachphtely mrl LRU mhawithyalyrachphtsrisaeks mrph sk SSKRU mhawithyalyrachphtsklnkhr mrsn SNRU mhawithyalyrachphtsurinthr m rph sr SRRU mhawithyalyrachphtxudrthani mr xd UDRU mhawithyalyrachphtxublrachthani mrph xb UBRU xngkhkrekiywkbnksuksa smaphnthnisitnksuksamhawithyalyrachphtthwpraeths epnxngkhkrkhxngnksuksathitngkhuntammtithiprachumxthikarbdimhawithyalyrachphtthwpraeths odysmaphnth mihnathimungennineruxngkarsrangekhruxkhayrahwangnksuksakhxngmhawithyalyrachphtthng 38 aehng aelaphithksrksaiwsungsiththiaelaesriphaphkhxngklumnksuksaepnsakhy odysmaphnth prakxbipdwy prathansphanksukaelanaykxngkhkarnksuksa khxngmhawithyalyrachphtthwpraethsepnkrrmkarodytaaehnng xditmhawithyalyrachpht aekikh mhawithyalyrachphtnkhrphnm idkhwbrwmekhaepnswnhnungkhxng mhawithyalynkhrphnm emuxwnthi 2 knyayn ph s 2548 11 mhawithyalyrachphtswndusit idaeprsphaphepnmhawithyalyinkakbkhxngrthbalaelaepliynchuxepn mhawithyalyswndusit emuxwnthi 18 krkdakhm ph s 2558 12 mhawithyalyrachphtkalsinthu idkhwbrwmekhaepnswnhnungkhxng mhawithyalykalsinthu emuxwnthi 9 knyayn ph s 2558 13 xangxing aekikh prawtimhawithyalyrachphtphrankhr http www nrru ac th index php nrru general information html http www udru ac th index php about udru udru history html http www cmru ac th web51 history php phrarachkvsdikaykthanasthabnfukhdkhruepnwithyalykhru tamphrarachbyytiwithyalykhru ph s 2518 http www ratchakitcha soc go th DATA PDF 2538 A 004 1 PDF phrarachbyytisthabnrachpht ph s 2538 http www ratchakitcha soc go th DATA PDF 0AA 00141755 PDF phrarachbyytimhawithyalyrachpht ph s 2547 kumari wchchwngs xksryxmhalyrachpht chuxthitngiwaetimmikhnruck hnngsuxphimphkhawsd wnphuththi 25 tulakhm ph s 2549 phrarachbyytimhawithyalynkhrphnm ph s 2548 phrarachbyytimhawithyalyswndusit ph s 2558 rachkiccanuebksa wnthisubkhn 17 krkdakhm 2558 1 rachkiccanuebksa phrarachbyytimhawithyalykalsinthu ph s 2558 elm 132 txn 86 k hna 45 8 knyayn 2558ekhathungcak https th wikipedia org w index php title mhawithyalyrachpht amp oldid 9442113, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม

ตราราชภัฏเรียกว่าอะไร

ราชภัฏสัญลักษณ์ เป็นตราประจำมหาวิทยาลัย ซึ่งพระราชลัญจกรประจำพระองค์รัชกาลที่ 9 เป็นรูปพระที่นั่งอัฐทิศ ประกอบด้วยวงจักร กลางวงจักรมีอักขระเป็น อุ หรือเลข 9 รอบวงจักรมีรัศมีเปล่งออกโดยรอบ เหนือจักรเป็นรูปเศวตฉัตร 7ชั้น ตั้งอยู่บนพระที่นั่งอัฐทิศ แปลความหมายว่า ทรงมีพระบรมเดชานุภาพในแผ่นดิน โดยที่วันบรมราชาภิเษกตามโบราณ ...

ข้อใดเป็นตราสัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏ ทั้ง 38 แห่ง

ตราสัญลักษณ์ สีเขียว แหล่งที่ตั้งของสถาบันฯ 38 แห่ง ในแหล่งธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมที่สวยงาม สีทอง ความเจริญร่งเรืองทางภูมิปัญญา สีส้ม ความรุ่งเรืองทางศิลปวัฒนธรรม ท้องถิ่นที่ก้าวไกลใน 38 มหาวิทยาลัยราชภัฏ

คําว่า ราชภัฏ หมายถึงอะไร

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานนาม ” ราชภัฏ ” และตราประจำมหาวิทยาลัย นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณและเกียรติยศสูงสุดแก่ชาวมหาวิทยาลัยราชภัฏทั่วพระราชอาณาจักร โดยนาม ” ราชภัฏ หมายความว่า เป็นคนของพระราชา”

ตราประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานีเรียกว่าอะไร

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
ตราพระราชลัญจกร สัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัย
ชื่อย่อ
มร.อด. / UDRU
คติพจน์
ผู้นำทางปัญญา พัฒนาคน พัฒนาชาติ
สถาปนา
15 มิถุนายน พ.ศ. 2547
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี - วิกิพีเดียth.wikipedia.org › wiki › มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานีnull