ปริมาณเงินตามความหมายอย่างกว้าง มีอะไรบ้าง

ปริมาณเงินตามความหมายอย่างกว้าง มีอะไรบ้าง

6.4 ความหมายของปริมาณเงิน ปริมาณเงินแบ่งเป็น 2 ความหมายใหญ่ คือ ปริมาณเงินในความหมายแคบ และปริมาณเงินในความหมายกว้าง

  1. ปริมาณเงิน (M1) คือ ปริมาณเงินตามความหมายแคบ หมายถึง ปริมาณเงินที่หมุนเวียนในมือของประชาชน ประกอบด้วยธนบัตรและเหรียญกษาปณ์ในมือของประชาชน และเงินฝากเผื่อเรียกของธุรกิจและครัวเรือนที่ระบบธนาคารพาณิชย์
  2. ปริมาณเงิน (M2) คือ ปริมาณเงินตามความหมายกว้าง หมายถึง M1+ เงินฝากประจำและเงินฝากออมทรัพย์ของธุรกิจและ ครัวเรือนที่ระบบธนาคารพาณิชย์

6.5 บทบาทของปริมาณเงินต่อระดับราคา

ปริมาณเงินตามความหมายอย่างกว้าง มีอะไรบ้าง

ปริมาณเงินตามความหมายอย่างกว้าง มีอะไรบ้าง

    1. นโยบายการเงิน  คือ การดูแลปริมาณเงินและสินเชื่อโดยธนาคารกลาง เพื่อบรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจ ได้แก่ การรักษาเสถียรภาพของระดับราคา การส่งเสริมให้มีการจ้างงานเพิ่มขึ้น การรักษาอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การรักษาดุลยภาพของดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ และการกระจายรายได้ที่เป็นธรรม  เครื่องมือของนโยบายการเงิน แบ่งตามลักษณะการดำเนินการ ได้ 3 ลักษณะ ได้แก่
  1. การควบคุมทางด้านปริมาณ (Quantitative control) ประกอบด้วย
    1. การซื้อขายหลักทรัพย์ (open-market operation)
    2. การเปลี่ยนแปลงอัตรารับช่วงซื้อลด (changing rediscount rate)
    3. การเปลี่ยนแปลงอัตราเงินสดสำรองตามกฎหมาย (changing reserve requirement)
    4. การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยมาตรฐาน (changing bank rate)
  2. การควบคุมทางด้านคุณภาพ (Qualitative control)
  3. การควบคุมโดยตรง (Direct control)
  1. การควบคุมทางด้านปริมาณ (Quantitative control) เป็นการควบคุมปริมาณเครดิต ไม่ใช่ชนิดของเครดิต ดังนั้น จึงมีผลกระทบต่ออัตราดอกเบี้ยทั่วไปในตลาดและ ปริมาณเครดิตทั้งหมดในระบบเศรษฐกิจ การดำเนินการโดยผ่านเครื่องมือดังกล่าวจะมีผลโดยตรงทันทีต่อ การเปลี่ยนแปลงเงินสดสำรองของธนาคารพาณิชย์ ซึ่งจะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการขยายเครดิตของ ธนาคารพาณิชย์และอัตราดอกเบี้ยในตลาด การควบคุมทางด้านปริมาณ ได้แก่

ปริมาณเงินตามความหมายอย่างกว้าง มีอะไรบ้าง

  • Economics
  • Fundamental
ปริมาณเงิน (Money Supply)

By

Nuwee Luxsanakulton

-

27/06/2019

14552

ปริมาณเงินตามความหมายอย่างกว้าง มีอะไรบ้าง

     ในเชิงเศรษฐศาสตร์ปริมาณเงิน (Money Supply หรือ Money Stock) หมายถึง เป็นปริมาณของเงินหรือสินทรัพย์อื่นที่ใกล้เคียงกับเงินที่หมุนเวียนอยู่ในในระบบเศรษฐกิจ ประกอบด้วยธนบัตรและเหรียญกษาปณ์ที่อยู่ในมือประชาชน และรวมถึงเงินฝากกระแสรายวัน ซึ่งเป็นเงินฝากเผื่อเรียกที่ประชาชนฝากไว้ที่ระบบธนาคาร อาทิ ธนาคารพาณิชย์ต่างๆ

ปริมาณเงินจะจำแนกประเภทตามขนาด ดังนี้

ปริมาณเงินในความหมายแคบ (Narrow)

  • M1  =  ธนบัตร + เหรียญกษาปณ์ + เงินฝากกระแสรายวัน

ปริมาณเงินในความหมายกว้าง (Broad Money)

  • M2  =  M1 + เงินฝากออมทรัพย์ + เงินฝากประจำของประชาชน
  • M3  =  M2 + เงินฝากประจำในสถาบันการเงินทุกประเภท + เงินฝากที่เป็นเงินตราต่างประเทศ + ตั๋วสัญญาใช้เงินของบริษัทเงินทุน และ บริษัทหลักทรัพย์

     ปัจจุบัน นิยามของปริมาณเงินซึ่งธนาคารแห่งประเทศไทยมีการเผยแพร่อยู่ จะเหลือเพียง ปริมาณเงินในความหมายแคบ (Narrow) และในความหมายกว้าง (Board Money) โดยในอดีตจะมีการเผยแพร่ในลักษณะ M1 + M2 + M3

     แม้ธนาคารกลางจะมีการพูดถึงปริมาณเงินในระบบไม่บ่อยนัก แต่การทำความรู้จักกับชื่อเรียกปริมาณเงินในนิยามต่างๆ จะทำให้เราทราบแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของเงินในระบบอย่างเข้าใจ เพื่อเตรียมรับการเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต

  • TAGS
  • Broad Money
  • M1
  • M2
  • M3
  • Money Supply
  • Norrow Money
  • ปริมาณเงิน
  • ปริมาณเงินในความหมายกว้าง
  • ปริมาณเงินในความหมายแคบ

Facebook

LINE

Twitter

Linkedin

Print

Nuwee Luxsanakulton

https://www.coolontop.com

ผู้เชี่ยวชาญทางด้านการลงทุนในหลักทรัพย์(หุ้น) และตราสารอนุพันธ์ มีประสบการณ์แนะนำการลงทุนร่วม 10 ปี เคยดำรงตำแหน่งนักวิเคราะห์ปัจจัยและแนวโน้มทองคำ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งผู้แนะนำการลงทุน

              จะประกอบไปด้วยเงินฝากของประชาชนทั้งหมดไม่ว่าจะอยู่ในรูปของเงินฝากออมทรัพย์ เงินฝากประจำ เงินฝากในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ รวมไปถึงที่เพิ่มเติมเข้ามาใหม่ให้อยู่ในนิยามนี้ด้วยได้แก่ เงินรับฝากของธนาคารพาณิชย์ที่อยู่ในรูปของตั๋วแลกเงิน เงินรับฝากของสหกรณ์ออมทรัพย์ และมูลค่าสินทรัพย์สุทธิของกองทุนรวมตลาดเงิน เพื่อให้มีความครอบคลุมถึงปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจมากขึ้น

การกำหนด KPI คือ ตัวชี้วัดความสำเร็จของงาน ในแต่ละฝ่าย แต่ละบทบาทหน้าที่ ควรตอบให้ได้ว่า งานหลักคืออะไร เป้าหมายหลักคืออะไร ตัวชี้วัดความสำเร็จ (KPI) ของงานนั้นคืออะไร  ซึ่งผมได้เขียนแนวทางในการจัดทำ KPI ให้ไว้แล้วพร้อมตัวอย่าง ตามที่ปรากฎอยู่ข้างต้น    คิดว่า จะเป็นประโยชน์ต่อผู้สนใจศึกษา สามารถนำไปบูรณาการใช้ได้ในการปฏิบัติงานกับทุกฝ่าย ทุกแผนก ทุกหน่วยงาน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน

ถ้าองค์การมีความมุ่งมั่นจะทำ KPI ทั่วทั้งองค์การ ผมแนะนำ ให้หาผู้เชี่ยวชาญ เข้าไปสอน แนะนำ หรือเป็นที่ปรึกษาให้ แล้ววางแผนลงมือทำทั่วทั้งองค์การ จะได้ผลที่สุด หากไม่เข้าใจก็สามารถสอบถามที่ปรึกษา หรือวิทยากร อาจารย์ผู้สอน แล้วลงมือปฏิบัติจริงกันเลย  คงใช้เวลาไม่เกิน สองวัน คุ้มครับ เพราะงานจะมีการวัดผล มีการปรับปรุง พัฒนามากยิ่งขึ้น เชื่อว่า ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการองค์การโดยรวม จะดีขึ้น

งานของฝ่ายบัญชีฯ ที่เขียนมาขอคำแนะนำ เรื่อง KPIT

ชื่องาน                                        ตัวอย่าง KPI

-เรื่องASSET                    ตรวจสอบตามแผนการตรวจประจำปี

                                      รายงานผลการตรวจสอบภายใน......

                                      ประชุมทบทวนฝ่ายบริหารภายใน.....

-เรื่องภาษีมูลค่าเพิ่ม          ดำเนินการภายใน......... ความถูก    ต้อง.......%

-เรื่องภาษีหัก ณ ที่จ่าย  ดำเนินการภายใน......... ความถูก    ต้อง.......%ญชี      

-เรื่องพัฒนาระบบโปรแกรมด้านบัญชี     ดำเนินการภายใน......... ระบบโปรกแกรมบัญชี สามารถใช้ปฏิบัติการได้ภายในวันที่..............    ประสิทธิภาพการทำงานของโปรแกรมบัญชี  .......... งบประมาณในการจัดทำระบบ อยู่ในวงเงิน..........บาท    บุคลากรที่เกี่ยวข้อง ได้รับการอบรม และสามารถใช้ระบบฯได้ภายใน.......... เป็นต้น

ทั้งนี้ ขอให้ดูนโยบาย หรือสภาพปัญหาขององค์การเป็นหลักด้วย

อีกท่านหนึ่งเขียนมาถามว่า ในฝ่ายของ IT จะแยกเป็นส่วนของ

  • network,
  • programmer,
  • graphic,
  • system analyze

ซึ่งไม่แน่ใจว่าเราจะต้องแยก KPI ออกแต่ละส่วนงานย่อยหรือไม่  ผมแนะนำว่า อยู่ที่นโยบายขององค์การ  ว่าเข้มงวด แค่ไหน  หากต้องการให้เข้มงวด มาก เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้องค์การ อย่างรวดเร็ว ก็ควรทำแยกย่อย ออกมา ตามที่เขียนมา  แต่ปัญหาก็คือ อาจจะดูจุกจิกเกินไป ทำให้ผู้ปฏิบัติงานไม่ แฮ็ปปี้ เอาก็ได้

งานหลักของ IT มีกี่งาน  งานหลักเป็นงานที่เรารับผิดชอบอยู่ และเป็นงานที่หน่วยงานอื่นๆ ทำไม่ได้ต้องอาศัยเร็ว ในฐานะเป็นผู้ชำนาญ มีความรู้ ทักษะ พิเศษ ในด้านนั้น และหากเราไม่ทำ ก็จะเกิดผลเสียแก่องค์การ เหล่านี้ คืองานหลัก ของแต่ละฝ่าย แต่ละหน่วยงาน  เช่น

  • งาน รักษา และพัฒนา network,  KPI= network ทั่วทั้งองค์การสามารถปฏิบัติงานได้ .....%  ทำการตรวจระบบ network ทุก ๆ ........เดือนหรือ สัปดาห์ เป็นต้น
  • งาน การสร้างและพัฒนา program,  KPI= program ต่าง ๆ ในองค์การ ได้รับการตรวจสอบ บำรุง ทุก ๆ .........ของเดือน   โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในองค์การ ใช้ลิขสิทธิ์ถูกต้อง ......% ภายใน........     โปรแกรมต่างๆ ปารศจาก "ไวรัส".......% เป็นต้น
  • งาน  graphic, KPI= งาน Graphic ขององค์การดำเนินไปตามแผน............%  งาน Graphic ทุกงาน ได้รับการจัดทำให้สำเร็จได้ตามเวลา และตาม spec ..........% เป็นต้น
  • งาน system analyze   KPI= ระบบที่ใช้อยู่ในองค์การ ....ระบบ ได้รับการวิเคราะห์ตรวจสอบ อย่างน้อย ทุก ๆ .........เดือน  ระบบดังกล่าว สามารถทำงานได้........% เป็นต้น

ผมแนะนำให้ศึกษา จาก หลักการเขียน KPI และตัวอย่าง KPI ที่เขียนมาให้ข้างต้น  เมื่อท่านเข้าใจแล้ว จะสามารถทำ KPI ของทุกฝ่ายได้