สัญลักษณ์ process คือสัญลักษณ์อะไร

สัญลักษณ์ process คือสัญลักษณ์อะไร

การทำงานด้วยมือ (manual operation) แทนจุดที่มีการทำงานด้วยแรงคน

สัญลักษณ์ process คือสัญลักษณ์อะไร

การนำข้อมูลเข้า-ออกโดยทั่วไป (general input/output) แทนจุดที่จะนำข้อมูลเข้าหรือออกจากระบบคอมพิวเตอร์โดยไม่ระบุชนิดของอุปกรณ์

สัญลักษณ์ process คือสัญลักษณ์อะไร

แถบบันทึกข้อมูล (magnetic tape) แทนจุดที่นำข้อมูลเข้าหรือออกจากโปรแกรมด้วยแผ่นบันทึกข้อมูล

สัญลักษณ์ process คือสัญลักษณ์อะไร

จานบันทึกข้อมูล (magnetic tape) แทนจุดที่นำข้อมูลเข้าหรือออกจากโปรแกรมด้วยจานบันทึกข้อมูล

สัญลักษณ์ process คือสัญลักษณ์อะไร

การนำข้อมูลเข้าด้วยมือ (manual input) แทนจุดที่นำข้อมูลเข้าด้วยมือ

สัญลักษณ์ process คือสัญลักษณ์อะไร

การแสดงข้อมูล (display) แทนจุดที่แสดงข้อมูลด้วยจอภาพ

สัญลักษณ์ process คือสัญลักษณ์อะไร

การทำเอกสาร (documentation) แทนจุดที่มีข้อมูลเป็นเอกสารหรือแสดงข้อมูลด้วยเครื่องพิมพ์

สัญลักษณ์ process คือสัญลักษณ์อะไร

การตัดสินใจ (decision) แทนจุดที่ต้องเลือกปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง

สัญลักษณ์ process คือสัญลักษณ์อะไร

การปฏิบัติงาน (process) แทนจุดที่มีการปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหนึ่ง

สัญลักษณ์ process คือสัญลักษณ์อะไร

การเตรียมการ (preparation) แทนจุดกำหนดชื่อข้อมูลหรือค่าเริ่มต้นต่างๆ

สัญลักษณ์ process คือสัญลักษณ์อะไร

การเรียกโปรแกรมภายนอก (external subroutine) แทนจุดเรียกใช้โปรแกรมย่อยที่ไม่ได้อยู่ในโปรแกรมนั้น

สัญลักษณ์ process คือสัญลักษณ์อะไร

การเรียกโปรแกรมภายใน (internal subroutine) แทนจุดเรียกใช้โปรแกรมย่อยที่อยู่ในโปรแกรมนั้น

สัญลักษณ์ process คือสัญลักษณ์อะไร

การเรียงข้อมูล (sort) แทนจุดที่มีการเรียงข้อมูลใหม่ตามข้อกำหนด

สัญลักษณ์ process คือสัญลักษณ์อะไร

ทิศทาง (flow line) แทนทิศทางขั้นตอนการดำเนินงานซึ่จะปฏิบัติต่อเนื่องกันตามหัวลูกศรชี้

สัญลักษณ์ process คือสัญลักษณ์อะไร

หมายเหตุ (annotation) แทนจุดที่แสดงรายละเอียดเพิ่มเติมหรือหมายเหตุของจุดต่างๆ ที่แสดงในผังงานด้วยสัญลักษณ์ไม่ชัดเจน

สัญลักษณ์ process คือสัญลักษณ์อะไร

การติดต่อทางไกล (communication link) แทนช่วงที่มีการติดต่อหรือย้ายข้อมูลด้วยระบบการติดต่อทางไกล

สัญลักษณ์ process คือสัญลักษณ์อะไร

จุดเชื่อมต่อ (connector) แทนจุดเชื่อมต่อของผังงานเมื่อใช้สัญญลักษณ์เพื่อให้ดูง่าย

สัญลักษณ์ process คือสัญลักษณ์อะไร

จุดเชื่อมต่อหน้ากระดาษ (off page connector) แทนจุดเชื่อมต่อของผังงานที่อยู่คนละหน้ากระดาษ

สัญลักษณ์ process คือสัญลักษณ์อะไร

เริ่มต้นและลงท้าย (terminal) แทนจุดเริ่มต้นและลงท้ายของผังงานของโปรแกรมหลักและโปรแกรมย่อย

สัญลักษณ์ process คือสัญลักษณ์อะไร

     Flowchart หรือผังงาน เป็นเครื่องมือแสดงขั้นตอน หรือกระบวนการทำงานที่กระชับ เข้าใจง่าย โดยใช้สัญลักษณ์ที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน และใช้ข้อความสั้น ๆ อธิบายข้อมูล ผลลัพธ์ คำสั่ง หรือจุดตัดสินใจของขั้นตอน และเชื่อมโยงขั้นตอนเหล่านั้นด้วยเส้นที่มีลูกศรชี้ทิศทางการทำงานตั้งแต่เริ่มต้นจนจบกระบวนการ1

 หลักการ การเขียนผังงาน (Flowchart) 

  1. ผังงาน (Flowchart) จะต้องมีจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดเสมอ โดยเลือกใช้สัญลักษณ์แทนการสื่อความหมายอย่างเหมาะสม และมีคำอธิบายในสัญลักษณ์สั้น กระชับ เข้าใจง่าย หากต้องการอธิบายรายละเอียด ให้ใช้หมายเลขหรือตัวอักษรกำกับ และอธิบายต่อในเอกสารเพิ่มเติมแทน
  2. ใช้ลูกศรเป็นตัวกำหนดทิศทางการทำงาน จากบนลงล่าง จากซ้ายไปขวา โดยเรียงตามลำดับเหตุการณ์ รูปสัญลักษณ์ทุกตัวต้องมีลูกศรเข้าและออก ยกเว้น จุดเริ่มต้นจะมีเฉพาะลูกศรออก จุดสิ้นสุดจะมีเฉพาะลูกศรเข้าเท่านั้น

 ประเภท Flowchart ที่ใช้บ่อย

  1. Top – Down คือ การเขียนกระบวนงาน (flow) เรียงลำดับจากบนลงล่าง แบ่งเป็น 3 ลักษณะ คือ
    • Sequence (ตามลำดับ) เป็นการเขียนแบบไล่ทำไปทีละลำดับ ไม่มีการแยกเส้นทางเลือก
    • Selection (ทางเลือก/เงื่อนไข) เป็นการเขียนที่มีการเลือก หรือการตัดสินใจ
    • Iteration (ทำซ้ำ) เป็นการเขียนที่มีการกลับไปทำซ้ำในบางขั้นตอน
  1. Swim Lane diagram การเขียนกระบวนงาน flow จากซ้ายไปขวา ใช้ในกรณีที่มีความเกี่ยวข้องกับหลายบุคคล หรือหลายส่วนงาน สามารถใช้ Top-Down ทั้ง 3 รูปแบบมาเขียนรวมใน Swim Lane diagram ได้

     การเขียนผังงาน เป็นการบันทึก ถ่ายทอด สื่อสารขั้นตอนการทำงานระหว่างบุคคลหรือหน่วยงาน ทำให้ผู้ปฏิบัติเห็นกระบวนงานในภาพรวม สะดวกต่อการพิจารณาลำดับขั้นตอนในการทำงาน การตรวจสอบความถูกต้อง และการปรับปรุงขั้นตอนของกระบวนงานอย่างเป็นระบบ และการเขียน Flow แบบ Swim Lane diagram ทำให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เห็นบทบาทหน้าที่ของแต่ละส่วนงานอย่างชัดเจน อย่างไรก็ดีผังงานอาจไม่ทำให้เห็นความสำคัญของแต่ละขั้นตอน เนื่องจากผังงานจะบอกเพียงลำดับขั้นตอน แต่จะไม่แสดงรายละเอียดทั้งหมดได้ชัดเจน จึงอาจต้องมีคำอธิบายรายละเอียดเพิ่มเติมเป็นเอกสารแนบ

     ถ้าทุกหน่วยงานเข้าใจและสามารถเขียน flow การทำงานของตนเองได้ อาจทำให้เห็นโอกาสในการพัฒนาทำให้สามารถพัฒนาขั้นตอนการทำงาน หรือรวมบางขั้นตอนที่ซ้ำซ้อนให้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น รวมทั้งเป็นการบันทึก ถ่ายทอด หรือใช้สื่อสารกระบวนการทำงานในหน่วยงานหรือระหว่างหน่วยงานได้

ดาวน์โหลดบทความ >> การเขียนผังงาน (Flowchart) (6724 downloads)

เอกสารอ้างอิง
     1. วิโรจน์ ชัยมูล และสุพรรษา ยวงทอง. (2558). “ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ“. บริษัท โปรวิชั่น จำกัด, กรุงเทพฯ.

เรียบเรียงโดย
นางสาววิจิตรา  นุชอยู่
งานจัดการความรู้ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

ร่วมส่งกำลังใจให้เจ้าของผลงาน

[Total: 12 Average: 3.6]

Views : 68,882