ระบบสี RGB เป็นอย่างไรจงอธิบายอย่างละเอียด

มาทำความเข้าใจระบบสี CMYK กับ RGB ภายใน 3 นาที ระบบสี CMYK คืออะไร แล้วต่างจาก RGB อย่างไร แล้วงานประเภทไหนที่เราจะเลือกให้ Mode สี CMYK หรือ RGB เราจะมาหาคำตอบกันในวันนี้ จะขออธิบายสั้น ๆ ได้ยืดยาวแบบสรุป

ระบบสี CMYK

เป็นสีที่ใช้กับเครื่องพิมพ์ CMYK ย่อมาจาก Cyan (ฟ้า) Magenta (แดงอมม่วง) Yellow (เหลือง) Key (สีดำ ไม่ได้ใช้ B Black นะ )ระบบสี CMYK นั้นเหมาะสำหรับงานพิมพ์ เช่น หนังสือ โปรเตอร์ แผ่นพับ หรืองานไวนิลทั่วไป เอาง่าย ๆ ว่า งานที่อย่างที่ต้องพิมพ์ออกมาเราจะใช้ระบบสีเป็น CMYK

มาทำความเข้าใจระบบสี CMYK กับ RGB ภายใน 3 นาที

มาทำความเข้าใจระบบสี CMYK กับ RGB ภายใน 3 นาที

CMYK เป็นการพิมพ์โดยการนำสีทั้ง 4 สี มารวมกันแล้วเกินภาพต้นฉบับที่เราต้องการ ระบบการพิมพ์ 4 สีเป็นระบบที่นิยมใช้กันมากโดยทั่วไป ทั้ง งานโปรเตอร์ แผ่นพับ หรืองานไวนิล แต่งานหนังสือบางครั้งก็จะพิมพ์ 4 สี แค่ปกหนังสือเนื้อในั้น จะพิมพ์เพียงแค่สีดำ หรือ พิมพ์ 2 สีเป็นอีก 1 สีที่ผสมระหว่าง K+กับอีก 1 สี (CMY) นั้นเอง

การกำหนดค่าสีในงานที่จะทำการส่งโรงพิมพ์ เราจะเรื่องจากค่าสี CMKY เท่านั้น เพราะถ้าเราเลือกค่าจาก RGB ที่เป็น #CCC สีที่ออกมานั้นจะผิดเพียนไปจากหน้าจอที่เราเห็น เราจึงต้องกำหนดแบบ CMYK เช่น C = 100 M = 0 Y = 100 K = 0 เราก็จะได้ค่าสีที่แน่นอนสำหรับงานพิมพ์

มาทำความเข้าใจระบบสี CMYK กับ RGB ภายใน 3 นาที

หรือบางครั้งเราก็ต้องใช้รหัสสีตัวอย่างจาก Chart สี เพื่อความเที่ยงตรงของสีที่จะพิมพ์ออกมา

มาทำความเข้าใจระบบสี CMYK กับ RGB ภายใน 3 นาทีChart สีเครื่องพิมพ์ CMYK แบบ Offsetเครื่องพิมพ์ CMYK แบบ Offsetเครื่องพิมพ์ CMYK แบบ Offset แบบสี Cแผ่นเฟสแบบ Offset สี Cสีของงานเมื่อพิมพ์ออกมาจะได้ค่าสีตามที่เราต้องการ

หากเมื่อใดที่เราต้องการสร้างไฟล์งานสิ่งพิมพ์ เพื่อส่งโรงพิมพ์ เราต้องมั่นใจว่าไฟล์งานของเรา เป็นไฟล์งานที่ใช้งาน mode CMYK ซึ่งโปรแกรมที่นักออกแบบงานนิยมใช้กันมากก็คือ Adobe Photoshop Adobe Illustrator หรือ Adobe InDesign

ระบบ RGB

การกำหนดค่าสี RGB ในส่วนของ RGB การเลือกสีต่างๆ นั้น สามารถเลือกได้ถึง 2 สี – 16 ล้านสี (https://th.wikipedia.org) ซึ่งจะมีสีที่ผสมกันทั้งหมด 3 สี คือ Red  Green และ Blue (RGB)  ซึ่งงานที่เหมาะสมกับโหมดสี RGB คืองานที่ใช้แสงดผลบนหน้าจอ เช่น เว็บไซต์ สื่อโฆาณาแบบออนไลน์ หรืออีเมล์ทางการตลาด

การกำหนดค่าสีนั้นจะกำหนดได้ตั้งแต่ 0-255 ในแต่ล่ะสี เช่น R = 0 G= 174 B= 239 หรือ code สี #00aeef

สีที่ใช้ mode CMYKสีที่ใช้ mode RGB

จะสังเกตได้ว่า ระบบสี CMYK เมื่อมองจากจอนั้นจะเป็นสีที่อ่อนและสดใสสู้สีแบบ RGB ได้ก็เนื่องจาก หน้าจอคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ ของเรานั้นลองระบการทำงานสีแบบ RGB ทำให้เรามองเห็นสีในโหมด CMYK ได้ไม่ดีนัก

///

หวังว่าจะเป็นประโยชน์ต่อนักออกแบบมือใหม่และนักเขียนได้เข้าใจกันนะครับว่าเราจะต้องเตรียมงานของเราอย่างไร และไม่รู้ที่เขียนมานี่เข้าใจใน 3 นาทีหรือเปล่า ):

Graphic Design และ Content Creator ที่หลงไหลในการเขียน Content และเชื่อว่า Content เป็นสิ่งสำคัญในการสื่อสารกับทุก ๆ คน

ระบบสี CMYK เป็นอย่างไรจงอธิบายอย่างละเอียด

เป็นสีที่ใช้กับเครื่องพิมพ์ CMYK ย่อมาจาก Cyan (ฟ้า) Magenta (แดงอมม่วง) Yellow (เหลือง) Key (สีดำ ไม่ได้ใช้ B Black นะ )ระบบสี CMYK นั้นเหมาะสำหรับงานพิมพ์ เช่น หนังสือ โปรเตอร์ แผ่นพับ หรืองานไวนิลทั่วไป เอาง่าย ๆ ว่า งานที่อย่างที่ต้องพิมพ์ออกมาเราจะใช้ระบบสีเป็น CMYK.

ระบบสี Lab เป็นอย่างไรจงอธิบายอย่างละเอียด

ระบบสีแบบ Lab เป็นระบบสีแบบเก่าที่ถูกกำหนดขึ้นในฝรั่งเศส โดยสร้างขึ้นเพื่อใช้วัดสีที่ตาของเราสามารถรับได้ แต่เนื่องจากขณะนั้นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลยังไม่ถือกำหนดขึ้น ดังนั้น ระบบสี Lab นี้จึงไม่ขึ้นอยู่กับเครื่องคอมพิวเตอร์ และระะบบปฏิบัติการใดโดยเฉพาะ ระบบสี Lab จะวัดแสงและสีโดยแบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ

โมเดล RGB เกิดขึ้นจากสิ่งใดจงอธิบาย

โมเดล RGB เกิดจากการรวมกันของ สเปกตรัมของแสงสีแดง (Red) ,สีเขียว (Green) และน้ำเงิน (Blue) ในสัดส่วนความเข้มข้น ที่แตกต่างกัน โดยจุดที่แสงทั้งสามสีรวมกัน จะเป็นสีขาว นิยมเรียกการผสมสีแบบนี้ว่า “Additive” แสงสี RGB มักจะถูกใช้สำหรับ

สี RGB มีลักษณะอย่างไร เหมาะสมกับงานด้านใด

ระบบสี RGB RGB ย่อมาจาก Red (แดง), Green (เขียว) และ Blue (น้ำเงิน) หน้าจอแสดงผลของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เกือบทั้งหมดใช้เทคโนโลยีนี้ในการทำงาน ไม่ว่าจะเป็นจอ LCD, CRT, กล้องถ่ายรูป, สแกนเนอร์ ฯลฯ RGB อาศัยหลักการผสมสีจากสามสีหลักดังกล่าวด้วยค่าเฉดที่แตกต่างกัน เพื่อสร้างสีต่างๆ ขึ้นมา ตัวอย่างเช่น สีขาว = 255, 255, 255.