โครงสร้างของข้อมูลที่มีลักษณะความสัมพันธ์แบบพ่อลูกเป็นฐานข้อมูลแบบใด


ความสัมพันธ์ (Relationships) ของระบบฐานข้อมูล

1. ความสัมพันธ์แบบ หนึ่งต่อหนึ่ง ( One to one Relationships)

เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูล ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความส ัมพันธ์กับข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะ หนึ่ง ต่อ หนึ่ง หรือเขียนได้เป็น 1:1 แสดงว่าข้อมูลเพียงหนึ่งข้อมูลของเอนทิตี้แรกมีความสัมพันธ์กับข้อมูลในเอนทิตี้ที่สองเพียงข้อมูลเดียว

โครงสร้างของข้อมูลที่มีลักษณะความสัมพันธ์แบบพ่อลูกเป็นฐานข้อมูลแบบใด

หรือ

โครงสร้างของข้อมูลที่มีลักษณะความสัมพันธ์แบบพ่อลูกเป็นฐานข้อมูลแบบใด

นักศึกษาหนึ่งคนจะมีสูติบัตรเพียงใบเดียวเท่านั้น
สูติบัตรหนึ่งใบก็เป็นของนักศึกษาได้เพียงคนเดียวเท่านั้นเช่นกัน

     2.ความสัมพันธ์แบบ หนึ่งต่อกลุ่ม ( One to many Relationships)

เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูล ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความส ัมพันธ์กับข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะ หนึ่ง ต่อ กลุ่ม หรือเขียนได้เป็น 1:N แสดงว่าข้อมูลเพียงหนึ่งข้อมูลของเอนทิตี้แรกมีความสัมพันธ์กับข้อมูลในเอนทิตี้ที่สองหลายข้อมูล เช่น

โครงสร้างของข้อมูลที่มีลักษณะความสัมพันธ์แบบพ่อลูกเป็นฐานข้อมูลแบบใด

หรือ

โครงสร้างของข้อมูลที่มีลักษณะความสัมพันธ์แบบพ่อลูกเป็นฐานข้อมูลแบบใด

ลูกค้าหนึ่งคนมีใบเสร็จได้หลายใบ เนื่องจากลูกค้าหนึ่งคนอาจมาซื้อสินค้าหลายครั้ง
ใบเสร็จหนึ่งใบต้องเป็นของลูกค้าเพียงคนเดียวเท่านั้น

    3.ความสัมพันธ์แบบ กลุ่มต่อกลุ่ม ( Many to Many Relationships)

เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูล ของเอนทิตี้หนึ่งว่ามีความส ัมพันธ์กับข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะ กลุ่ม ต่อ กลุ่ม หรือเขียนได้เป็น N:M แสดงว่าข้อมูลเพียงหนึ่งข้อมูลของเอนทิตี้แรก มีความสัมพันธ์กับข้อมูลในเอนทิตี้ที่สองหลายข้อมูล และทำนองเดียวกัน ข้อมูลเพียงหนึ่งข้อมูลของเอนทิตี้ที่สองมีความสัมพันธ์ในทางกลับกันกับข้อมูลในเอนทิตี้ที่แรกหลายข้อมูล

โครงสร้างของข้อมูลที่มีลักษณะความสัมพันธ์แบบพ่อลูกเป็นฐานข้อมูลแบบใด

        จากความสัมพันธ์ระหว่าง Orders และ Items เป็นความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม และในทำนองเดียวกันความสัมพันธ์ระหว่าง Items และ Orders ก็เป็นความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่มด้วยเช่นกัน ดังนั้นความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ทั้งสองจึงเป็นแบบกลุ่มต่อกลุ่ม ( N:M) โดยมีความหมายดังต่อไปนี้คือ

        สินค้า 1 ชนิด หรือ 1 item จะถูกสั่งซื้อโดยปรากฏในใบสั่งซื้อหรือใบ orders ได้หลาย ๆ ใบ และในทำนองเดียวกัน ใบสั่งซื้อ 1 ใบ สามารถมีรายการสิ้นค้าหรือ items ได้หลาย ๆ รายการ หรือหลาย ๆ items ได้

หรือ

โครงสร้างของข้อมูลที่มีลักษณะความสัมพันธ์แบบพ่อลูกเป็นฐานข้อมูลแบบใด

        นิสิตสามารถลงทะเบียนเรียนได้หลาย ๆ วิชาพร้อมกันในแต่ละครั้ง และในทางตรงกันข้าม ในแต่ละวิชา 1 วิชา จะประกอบด้วยนิสิตหลายคนมาลงทะเบียนในวิชานั้น

แบบทดสอบหลังเรียนหน่วยที่ 2

จงเลือกข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว

1.รีเลชัน (Relation) หมายถึงข้อใด

1 คะแนน

ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้

รายละเอียดของข้อมูลในเอนทิตี

ข้อมูลในรูปแบบตาราง 2 มิติ

ค่าของข้อมูลในแต่ละระเบียนข้อมูลความสัมพันธ์

2.เค้าร่างของฐานข้อมูล คือข้อใด

1 คะแนน

โครงสร้างของข้อมูลที่มีลักษณะความสัมพันธ์แบบพ่อลูกเป็นฐานข้อมูลแบบใด

รหัสสมาชิก, ชื่อสมาชิก, ยอดขาย

55099, นายชัย สุภาพ, 21999

รหัสสมาชิก 55099, ชื่อสมาชิก นายชัย สุภาพ, ยอดขาย 21999

3.นักศึกษากับการเป็นสมาชิกห้องสมุดมีความสัมพันธ์แบบใด

1 คะแนน

ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม

ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม

ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง

4.นักศึกษากับการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในห้องปฏิบัติการมีความสัมพันธ์แบบใด

1 คะแนน

ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม

ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม

ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง

5.การออกแบบฐานข้อมูลโดยนักวิเคราะห์และออกแบบฐานข้อมูลเป็นระดับของข้อมูลระดับใด

1 คะแนน

6.ระดับของข้อมูลระดับภายใน มีลักษณะการเรียกใช้ข้อมูลอย่างไร

1 คะแนน

เป็นภาพของผู้ใช้แต่ละคนมองข้อมูล

เป็นข้อมูลที่ถูกจัดเก็บไว้ในสื่อข้อมูล

เป็นข้อมูลที่ผู้ใช้สามารถปรับปรุงแก้ไขได้

เป็นข้อมูลที่ผู้ใช้ข้อมูลในระดับภายนอกสามารถเรียกใช้ข้อมูลได้

7.โครงสร้างของข้อมูลที่มีลักษณะความสัมพันธ์แบบพ่อลูกเป็นฐานข้อมูลแบบใด

1 คะแนน

8.โครงสร้างของฐานข้อมูลในรูปแบบของตาราง 2 มิติในแนวแถวและคอลัมน์ โดยบรรทัดแรกของตารางคือชื่อแอททริบิวต์เป็นฐานข้อมูลแบบใด

1 คะแนน

9.โครงสร้างของข้อมูลที่แฟ้มข้อมูลมีความสัมพันธ์แบบร่างแห สามารถมีความสัมพันธ์กันแบบใดก็ได้เป็นฐานข้อมูลแบบใด

1 คะแนน

10.ข้อใดเป็นฐานข้อมูลแบบลำดับขั้น

1 คะแนน

แฟ้มประวัติของนักศึกษาประกอบด้วยตารางข้อมูลนักศึกษาตารางแผนกวิชา และตารางรายวิชา

ร้านค้าแห่งหนึ่ง พนักงานขายแต่ละคนมีลูกค้ามากกว่า 1 คน ลูกค้าแต่ละคนซื้อสินค้ามากกว่า 1 อย่าง

บริษัทแห่งหนึ่ง มีผู้จัดการ 1 คน ผู้จัดการแต่ละคนดูแลแผนกมากกว่า 1 แผนก แต่ละแผนกมีพนักงานมากกว่า 1 คน

วิทยาลัยแห่งหนึ่ง ครูที่ปรึกษาแต่ละคนดูแลนักศึกษามากกว่า 1 คน นักศึกษาแต่ละคนลงทะเบียนเรียนรายวิชามากกว่า 1 วิชา

ห้ามส่งรหัสผ่านใน Google ฟอร์ม