การกล่าวปาฐกถาควรใช้ภาษาระดับใด

ภาษาระดับพิธีการ

การใช้ภาษาในระดับพิธีการมีข้อน่าสังเกต ดังนี้  

๑. เป็นภาษาที่ใช้สื่อสารกันในที่ประชุมที่จัดขึ้นอย่างเป็นพิธีการ เช่น การกล่าวคาปราศรัย การเปิดประชุมรัฐสภา การกล่าวสดุดี การกล่าวรายงานในพิธีมอบปริญญาบัตรหรือประกาศนียบัตร เป็นต้น

 ๒. ผู้ส่งสาร ต้องเป็นบุคคลสำคัญหรือตำแหน่งสูงในวงการ ส่วนผู้รับสารมักจะเป็นกลุ่มชน ส่วนใหญ่ ผู้ส่งสารจะเป็นผู้กล่าวฝ่ายเดียว ไม่มีการโต้ตอบ

๓. ลักษณะสารจะเลือกเฟ้นถ้อยคาที่ไพเราะ เป็นคาศัพท์ที่เป็นทางการ

๔. เป็นสารที่ต้องเตรียมล่วงหน้าและมีการส่งสารด้วยการอ่าน ผ่านสื่อมวลชนต่าง ๆ **เราสามารถดูตัวอย่างการใช้ภาษาระดับพิธีการ เช่น คาปราศรัยของ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี เนื่องในวันเด็กหรือวันสำคัญอื่นๆ ซึ่งหนังสือพิมพ์จะนามาตีพิมพ์ในช่วงเวลาของวันสำคัญนั้น ๆ

ภาษาระดับทางการ

การใช้ภาษาในระดับทางการมีข้อสังเกต คือ

 ๑. เป็นภาษาที่ใช้ในการบรรยายหรืออภิปรายอย่างเป็นทางการในที่ประชุมใหญ่ การรายงานทางวิชาการ, หนังสือราชการ (จดหมายราชการ) หรือจดหมายที่ติดต่อในวงการธุรกิจ คานาหนังสือ, ประกาศของทางราชการ ฯลฯ

 ๒. การใช้ภาษา จะใช้อย่างเป็นทางการ มุ่งเข้าสู่จุดประสงค์ ที่ต้องการความรวดเร็ว สารชนิดนี้มีลักษณะตรงไปตรงมาไม่ใช้คาฟุ่มเฟือย ไม่เน้นความไพเราะของถ้อยคำ

          ภาษาระดับกึ่งทางการ

การใช้ภาษาในระดับกึ่งทางการมีข้อน่าสังเกต คือ

๑.เป็นภาษาที่ใช้สื่อสารคล้ายกับระดับที่ ๒ แต่ลดความเป็นการเป็นงานลงบ้าง การใช้ภาษาระดับนี้ มักใช้ในการประชุมกลุ่มเล็ก การบรรยายในห้องเรียน ข่าวและบทความในหนังสือพิมพ์ โดยทั่วไปจะมีถ้อยคา สานวน ที่ทาให้รู้สึกคุ้นเคยมากกว่าในระดับที่ ๒

 ๒. เนื้อของสาร มักจะเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับความรู้ทั่วไป หรือเป็นการแสดงความคิดเห็นเชิงวิชาการที่เกี่ยวกับการดาเนินชีวิต หรือเรื่องเกี่ยวกับธุรกิจ ใช้ศัพท์ทางวิชาการเท่าที่จาเป็น เอกสารประกอบการจัดการเรียนการสอน รายวิชา ท๔๐๑๐๕ หลักภาษาไทยในชีวิตประจาวัน นายสมศักดิ์ ทองช่วย สาขาวิชาภาษาไทย โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ ๖

ภาษาระดับสนทนา

การใช้ภาษาในระดับสนทนามีข้อน่าสังเกต  คือ

๑. เป็นภาษาที่มักใช้ในการสนทนาโต้ตอบกันของคนที่รู้จักมักคุ้นกัน อยู่ในสถานที่และกาละที่ไม่เป็นการส่วนตัว

๒. ภาษาที่ใช้ อาจจะเป็นคาสแลงหรือเป็นคาที่เข้าใจความหมายตรงกันได้ในกลุ่มเท่านั้น

 ๓. ต้องไม่เป็นคาหยาบ หรือคาไม่สุภาพ

ภาษาระดับกันเอง

การใช้ภาษาในระดับกันเองมีข้อน่าสังเกต คือ

๑. เป็นภาษาที่ผู้ส่งสารและผู้รับสารต้องใกล้ชิดสนิทสนมกันอย่างมาก

๒. ภาษาที่ใช้อาจเป็นคาหยาบคายปะปนอยู่ หรือใช้ภาษาถิ่น หรือเป็นคาที่ใช้เฉพาะกลุ่ม

การกล่าวปาฐกถาควรใช้ภาษาระดับใด

การกล่าวปาฐกถาควรใช้ภาษาระดับใด

     ปาฐกถาคือการพูดที่บุคคลคนเดียวแสดงถึงความรู้ความคิดเห็นของตนเองให้ผู้ฟังจำนวนมาก เป็นการพูดแบบบรรยาย หรืออธิบายขยายความให้ผู้ฟังได้เข้าใจเรื่องที่พูดอย่างแจ่มแจ้ง ดังนั้นผู้พูดจึงเป็นบุคคลที่มีความรู้และประสบการณ์ด้านต่าง ๆ อย่างเชี่ยวชาญการพูด ปาฐกถาอาจจะเป็นการพูด เกี่ยวกับวิชาการก็ได้ หรือเป็นความรู้ทั่ว ๆ ไปก็ได้เช่นเดียวกัน แต่จะต้องมีการกำหนดหัวข้อเรื่องที่จะพูดไว้ล้วงหน้า ผู้ฟังอาจเป็นผู้กำหนดหัวข้อหรือผู้พูดกำหนดเอง ลักษณะพูดปาฐกถาไม่ใช่พูดสอนหรือบรรยายในห้องเรียนแต่เป็นการพูด ให้ผู้ฟังรู้เรื่องต่าง ๆ ในลักษณะการให้ความคิดเห็น การเสนอแนะ และการบอกเล่าเรื่องสำคัญผู้พูด หรือปาฐกจะต้องเตรียมตัวมาอย่างดี พูดตรงกับ หัวข้อเรื่องที่กำหนดให้ พูดอย่างตรงไปตรงมา และมีหลักฐานอ้างอิงให้ถูกต้องตามความเป็นจริงและสมเหตุสมผลถึงแม้ว่าการพูด ปาฐกถาจะมุ่งให้ความรู้แก่ผู้ฟังก็ตาม ก็ไม่ควรเน้น เนื้อหาสาระที่ยากและทา ให้ผู้ฟังเครียดจนเกินไป ควรใช้คำพูด ที่ง่าย ๆ เข้าใจง่าย และสร้างบรรยากาศให้สนุกสนานน่าสนใจด้วยการแทรกเรื่องเบา ๆ สลับบ้าง หากมีการอ้างสถิติ ตัวเลข ทฤษฎี หรือหลักเกณฑ์ต่าง ๆ จะต้องจดจา ให้แม่นยา หรือเขียนมาเพื่อกันความผิดพลาด แต่ให้อ่านโดยผู้ฟังไม่รู้สึกว่า เป็นการตั้งใจอ่าน ให้รู้สึกว่า ผู้พูดได้พูดตามปกติ

การกล่าวปาฐกถาควรใช้ภาษาระดับใด

การใช้ภาษาในการกล่าวสุนทรพจน์ควรใช้ภาษาระดับใด

ลักษณะของภาษาระดับพิธีการ ใช้สื่อสารในที่ประชุมที่จัดขึ้นอย่างเป็นพิธีการ เช่น การเปิดประชุมรัฐสภา การกล่าวต้อนรับ การกล่าวรายงาน การกล่าวสุนทรพจน์

การกล่าวรายงานในพิธีมอบปริญญาบัตรควรใช้ภาษาระดับใด

๑. ระดับพิธีการ ใช้สื่อสารกันในที่ประชุมที่จัดขึ้นอย่างเป็นทางการ ได้แก่ การประชุมรัฐสภา การกล่าวอวยพร การกล่าวต้อนรับ การกล่าวรายงานในพิธีมอบปริญญาบัตร ประกาศนียบัตร การกล่าว สดุดีหรือการกล่าว เพื่อจรรโลงใจให้ประจักษ์ในคุณความดี การกล่าวปิดพิธี เป็นต้น ผู้ส่งสารระดับนี้มักเป็น คนสำคัญหรือมีตำแหน่งสูง ผู้รับสารมักอยู่ ...

ภาษาสนทนาคือภาษาระดับใด

๔. ภาษาระดับสนทนา เป็นภาษาที่ใช้พูดสนทนากันในชีวิตประจำาวัน ระหว่างบุคคล ที่รู้จักสนิทสนม คุ้นเคยกัน ใช้ในการเจรจาซื้อขายรวมทั้งการประชุมที่ไม่เป็นทางการ มีรูปประโยค ไม่ซับซ้อน อาจใช้คำาซ้ำา คำาสแลง คำาตัด คำาต่อ ปะปนอยู่ แต่จะไม่ใช้คำาหยาบ พบได้ในการพูดคุยกัน ในการเขียนนวนิยาย บทละคร การรายงานข่าว บทภาพยนตร์ การ ...

การพูดกับคนที่ไม่คุ้นเคยควรใช้ภาษาระดับใด

๑) สัมพันธภาพระหว่างบุคคล ถ้าใช้ภาษาสื่อสารกับบุคคลที่มีความคุ้นเคยใกล้ชิด สนิทสนมกันมากอาจใช้ภาษาระดับกันเอง แต่ถ้าไม่คุ้นเคยกับบุคคลนั้นควรใช้ภาษาระดับสนทนา