ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

การป้อนข้อมูลที่มีค่าซ้ำกันในช่วงเดียวกัน

การป้อนข้อมูลที่มีค่าเดียวกัน ในเซลล์หลายๆ เซลล์ของ Microsoft Excel สามารถปฏิบัติ ดังนี้

  • ระบายแถบสีคลุมเซลล์ที่ต้องการป้อนข้อมูล
  • พิมพ์ข้อมูล จากนั้นกดปุ่ม <Ctrl> <Enter> จะพบว่าทุกๆ เซลล์ในช่วง มีข้อมูลเหมือนกัน

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

No related content found.

Number of View :4226

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
การป้อนข้อมูลลงในเวิร์กชีตของ Excel  นั้นสามารถทำได้ง่ายๆโดยไม่มีขั้นตอนที่วุ่นวายซับซ้อน  แต่อย่างใดเพราะ Excel ไม่ได้มีรูปเหมือน word หรือ PowerPoint  เพียงแต่คุณเลือกตำแหน่งเซลล์  ที่จะใส่ข้อมูลจากนั้นก็พิมพ์ข้อมูลที่ต้องการแล้วกดปุ่ม  
ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
 หรือกดปุ่มลูกศร 
ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
  เพื่อนำข้อมูลลงในเซลล์ได้เลย

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
ข้อมูลประเภทข้อความ ปกติจะจัดชิดขอบซ้ายเซลล์เสมอ ตัวเลขเมื่อป้อนลงไปจะจัดชิดขวาโดยอัตโนมัติ ใน1คอลัมน์เริ่มต้นจะกว้าง 72 pixels จำนวนตัวอักษรที่ป้อนได้จะขึ้นอยู่กับขนาดใหญ่หรือเล็ก แต่สามารถย่อ-ขยายได้ตามต้องการ

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
เทคนิคการป้อนข้อมูลที่เร็วคือ ให้พิมพ์ข้อความเสร็จแล้วกดปุ่มลูกศร 
ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
   เพื่อไปรอรับค่าที่จะป้อนในเซลล์ถัดไป ในทิศทางที่คุณต้องการได้ เช่น จะป้อนลงต่อเนื่องก็กดลูกศรลง  
ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
ได้เลย

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
ข้อมูลที่เป็นวันที่(Date) เรื่มต้นโปรแกรมจะตั้งค่าการป้อนเป็น เดือน-วัน-ปี (mm-aa-yy) และเป็นปี ค.ศ. เช่น 12/25/13 คือวันที่ 25 เดือนธันวาคม ปี2013 หรือจะป้อน 12-25-13 เมื่อกดปุ่ม      
ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
      โปรแกรมจะแสดงเป็น 12/25/2013 แต่คุณสามารถจัดรูปแบบวันที่ให้เป็นแบบไทย เช่น 25 ธ.ค. 56 ภายหลังได้

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

ชนิดข้อมูลที่ใช้ใน Excel หลักๆมีดังนี้

  • Text (ชนิดตัวอักษร) คือ ข้อมูลแบบข้อความที่ไม่นำมาคำนวณอาจเป็นตัวเลข ข้อความ หรือตัวอักษรก็ได้
  • Number (ชนิดตัวเลข) คือ ข้อมูลตัวเลขที่นำไปคำนวณได้มีลักษณะดังนี้
    • ข้อมูลเป็นตัวเลข สามารถใช้เครื่องหมาย ( , ) หรือ ( . ) หรือสัญลักษณ์ทางการเงินได้ เช่น 2,000 , 5,000 ,$2000 , ฿500
    • สามารถเขียนในรูป Exponential เช่น 2.5E+04=25,000
    • ถ้าตัวเลขต่อท้ายเครื่องหมาย% ค่าจริงขิงข้อมูลตัวนั้นต้องหารด้วย 100 การพิมพ์ค่าที่เป็นเปอร์เซ็นต์อาจพิมพ์0.05 หรือ 5% หมายถึง 5 %หรือ0.1 คือ 10% เป็นต้น
    • เมื่อป้อนข้อมูลลงไปในเซลล์เสร็จแล้วข้อมูลจะชิดทางด้านขอบขวาเซลล์เสมอ
  • Style : จัดการรูปแบบเซลลอัตโนมัติรูปแบบตาราง รูปแบบการแสดงผลตามเงื่อนไข
  • Formula (ชนิดสูตร) หมายถึง ข้อมูลที่ประกอบด้วยเครื่องหมายทางคณิตศาสตร์หรือฟังก์ชัน
    • เมื่อป้อนข้อมูลลงในเซลล์จะต้องขึ้นต้นด้วยเครื่องหมาย = ,+,- หรือ@ เช่น +A1+A2-A3 หรือ =A1+A2-A3 ฟังก์ชัน เช่น SUM(A1..A10)  หรือ @SUM (A1:A10)
  • Dates (ชนิดวันที่) หมายถึง ข้อมูลที่ประกอบด้วย วันที่ เดือน ปี
    • เมื่อป้อนข้อมูลเดือนอาจใส่ตัวเลขที่แทนเดือนนั้น หรือพิมพ์ชื่อเดือนเป็นคำเต็มก็ได้
    • เมื่อป้อนข้อมูล ปี อาจพิมพ์แค่ตัวเลข2หลัก หรือ 4หลักได้ ถ้าไม่ระบุปีจะถือว่าเป็นปีปัจจุบัน
    • วันที่/เดือน เช่น 10Jan , 10 Jan หรือ เดือน/วัน 10/1 , 10-1 และ วัน/เดือน/ปี 25 dec 13 หรือ 12/25/13
  • Time (ชนิดเวลา) คือ ข้อมูลเวลา ที่ประกอบด้วยชั่วโมงและนาทีโดยมีเครื่องหมาย(:) คั่น ระหว่างชั่วโมง:นาที:วินาที เช่น 10:30 หรือ 9:30:15
    • กำหนด AM และ PM ต่อท้ายเวลาเพื่อบอกเวลากลางวันกลางคืน เช่น 8:00 PM , 8:00 AM

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
นอกจากการป้อนข้อมูลด้วยตนเองตามค่าต่างๆ ที่มีแล้ว คุณสามารถป้อนข้อมูลที่มีลำดับต่อเนื่องได้แบบรวดเร็ว โดยจะเป็นชุดข้อมูลตัวเลข วันที่ หรือชุดข้อมูลวัน (Mon - Sun) เดือน(Jan - Dec) หรือปี ลงภายในลงในเซลล์ เพียงแต่ใส่ข้อมูลเริ่มต้น แล้วคลิกลากปุ่ม Fill Handle (จุดจับเติม) ก็จะเติมข้อมูลต่อเนื่องให้อัตโนมัติตามค่าเริ่มต้น

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
เติมข้อมูลแบบวันที่
การเติมข้อมูลประเภทวัน,เดือนหรือวัน-เดือน-ปี เพียงแต่ใส่ค่าที่จะใช้เป็นรูปแบบเริ่มต้น 1 ค่า เมื่อคลิกลากเติมก็จะได้ข้อมูลต่อเนื่องเป็นวันที่อัตโนมัติ เช่นกัน

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
การเติมข้อมูลแบบวันที่ หลังจากลากเติมแล้วให้คลิกปุ่ม
ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
 เพื่อกำหนดตัวเลือกการเติมวันที่ได้เช่น Fill Day , weekdays ,Fill Months และ Fill Years โดยให้เปลี่ยนค่าในตำแหน่งใด

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
          ฟีเจอร์ใหม่ของ Excel 2013 ที่จะช่วยให้คุณเติมข้อมูลอัตโนมัติ ซึ่งจะช่วยได้ทั้งการเติมอัตโนมัติ,รวมข้อมูลจากเซลล์ต่างๆ หรือใช้แยกข้อมูลบางส่วนออกมาแสดงในเซลใหม่ได้อย่างง่ายดาย โดยจะทำได้หลายแบบ ดังนี้

ใช้ Flash Fill รวมข้อมูล

ตัวอย่างการนำ Flash Fill มาใช้รวมข้อมูลในเซลล์ไว้ที่เซลล์ใหม่

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

ข้อมูลที่กรอกไปแล้วสามารถใช้  Flash Fill  มาช่วยจัดรูปแบบใหม่ได้ ตัวอย่าง เช่น เมื่อคุณกรอกเบอร์โทรศัพท์ลงไปในเซลล์แล้ว ปรากฏว่าอ่านยากอาจนำมาจัดระยะห่าง หรือใส่เครื่องหมายวงเล็บเพิ่มก็ทำได้ง่ายๆ ดังนี้

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

             ใช้ Flash Fill เติมข้อมูลอัตโนมัติ

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
การทำงานของ Flash Fill จะใช้เติมข้อมูลโดยอ้างอิงข้อมูลในเซลล์ที่มีอยู่ในเวิร์กชีต โดยแนวข้อมูลต้องเป็นแนวเดียวกัน และเซลล์ที่จะแสดงข้อมูลที่เติมต้องอยู่ติดกับพื้นที่ผืนข้อมูลที่ต้องใช้อ้างอิงด้วย (หากไม่อยู่ติดจะใช้คำสั่งไม่ได้) แต่หลังจากเติมข้อมูลด้วย Flash Fill แล้วคุณสามารถลบข้อมูลที่อ้างอิงทิ้ง หรือย้ายตำแหน่งข้อมูลใหม่ที่ได้ไปยังตำแหน่งอื่นหรือเวิร์กชีตอื่นๆได้ตามต้องการ

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
เพิ่มเวิร์กชีตใหม่ (New worksheet) 

การเพิ่มเวิร์กชีตใหม่ในเวิร์กบุ๊กทำได้ โดยคลิกปุ่มเพิ่มชีต  หรือกดปุ่ม    

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
    จากแป้นพิมพ์

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

ตั้งชื่อให้เวิร์กชีต  (Rename)
เวิร์กชีตที่แทรกหรือสร้างเข้ามาใหม่จะมีชื่อตามชื่อที่แทรกเข้ามา เช่น Sheet 1 ,Sheet2, … คุณจำเป็นต้องตั้งชื่อใหม่เพื่อให้สื่อความหมายตรงกับลักษณะงานหรือข้อมูลที่เก็บ เมื่อมีชีตงานจำนวนมากจะเรียกใช้ได้อย่างถูกต้อง

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
เปลี่ยนสีแท็บชื่อเวิร์กชีต  (Tab Color)

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
ย้ายตำแหน่งเวิร์กชีต (Move Sheet)

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
ลำดับการแสดงเวิร์กชีตจะมาจากการสร้าง หรือเพิ่มเข้ามาตามลำดับก่อนหรือหลัง หากต้องการเรียงลำดับใหม่ก็ทำได้ด้วยการย้ายตำแหน่งของเวิร์กชีต ดังนี้

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
ซ่อนเวิร์กชีต (Hide Sheet)

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
ชีตไหนที่ไม่ได้ใช้งาน หรือเก็บข้อมูลที่ไม่ต้องการให้คนอื่นเห็นก็อาจใช้วิธีการซ่อนชีตนั้นเอาไว้ก่อนได้ ดังนี้

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
ยกเลิกการซ่อนเวิร์กชีต (Unhide Sheet)

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
ลบเวิร์กชีต (Delete)

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
ชีตไหนที่ไม่ได้ใช้งานแล้วก็ลบทิ้งออกไปจากเวิร์กบุ๊กได้ แต่ควรระวังในการลบ เพราะคำสั่งลบเวิร์คชีตนี้ไม่สามารถ Undo หรือยกเลิกการลบได้

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
ก๊อปปี้หรือย้ายเวิร์กชีต (Move or Copy)

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
ในคำสั่ง Move or Copy นี้จะเลือกการทำงานได้ 2 แบบคือ ย้ายเวิร์กชีตไปตำแหน่งใหม่ในเวิร์กบุ๊กเดียวกันหรือย้ายข้ามเวิร์คบุ๊ก และการก๊อปปี้เวิร์กชีต  ภายในเวิร์กบุ๊กเดียวกัน หรือก๊อปปี้ไปไว้ข้ามเวิร์กบุ๊ก เลือกได้ดังนี้

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
ก๊อปปี้เนื้อหาไปวางอีกเวิร์กชีต (Copy & Paste)

  • หากคุณเก็บข้อมูลที่มีหัวข้อหรือโครงสร้างเนื้อหาคล้ายๆกันเอาไว้อาจจะใช้วิธีก๊อปปี้ ข้อมูลจากชีตหนึ่งแล้วนำไปวางอีกชีตหนึ่ง จากนั้นก็แก้ไขเนื้อหาที่แตกต่างในภายหลังได้

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
ปรับพื้นที่การแสดงแท็บชื้อชีตและเลื่อนไปยังชีตต่างๆ

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
การทำงานกับข้อมูล และพื้นที่ส่วนประกอบของเวิร์กชีต เราต้องเลือกพื้นที่เป้าหมายก่อนใช้คำสั่ง ซึ่งการเลือกพื้นที่ต่างๆจะมี ดังนี้

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
เลือกทั้งเวิร์กชีต (Select All)

  • หรือกดปุ่ม  
    ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
      คำสั่ง Select All

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
เลือกเซลล์ ,แถว ,และคอลัมน์

การเลือกเซลล์สามารถคลิกเซลล์ที่ต้องการได้ การเลือกแถวให้คลิกที่หมายเลขของแถว ส่วนการเลือกคอลัมน์ให้คลิกที่ชื่อคอลัมน์ และถ้ากดปุ่ม

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
 ค้างไว้จะคลิกเลือกพื้นที่อื่นที่ไม่อยู่ติดกันได้ หรือปุ่ม
ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
       ค้างไว้จะช่วยเลือกหลายๆ เซลล ์, หลายๆ แถว หรือหลายๆ คอลัมน์ ที่อยู่ติดต่อเนื่องกันได้จำนวนมาก

  • การเลือกแถว จะเลือกตั้งแต่คอลัมน์ A ไปจนถึงคอลัมน์ XFD รวมทั้งหมด 16,384 คอลัมน์ของแถวที่เลือก ปกติจะใช้เลือกเพื่อปรับความสูง , แทรกแถว หรือลบแถว เป็นต้น (ห้ามใช้คำสั่งจัดรูปแบบ เช่น สีหรือเส้นขอบ เพราะเป็นพื้นที่ขนาดใหญ่ให้อาจทำให้คอมฯ ค้างหรือแฮงค์ได้)
  • การเลือกคอลัมน์ จะเลือกตั้งแต่แถวที่1 ไปจนถึงแถวที่ 1,048,576 ของคอลัมน์ที่เลือก ปกติจะเลือกเพื่อใช้คำสั่งบางอย่าง เช่น ปรับความกว้าง , แทรก และลบคอลัมน์ เป็นต้น

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
การปรับความสูงของแถวใดๆให้เลื่อนเมาส์ไปชี้ที่ เส้นแบ่งระหว่างแถว แถวที่ต้องการ (บน/ล่างเลขแถว) แล้วคลิกลากขึ้นหรือลากลงเพื่อลากลงเพื่อปรับขนาดได้

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

  • การปรับความสูงหลายๆแถวพร้อมกันให้เลือกแถวที่จะปรับก่อน จากนั้นก็คลิกลากปรับที่เส้นแบ่งแถวใดๆก็ได้ภายใต้แถวที่เลือกมาทั้งหมด

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
ปรับความกว้างคอลัมน์ (Column Width)            

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

          การแทรกเซลล์ใหม่เข้ามาในกลุ่มเซลล์ข้อมูลเดิมที่มีอยู่ จะใช้วิธีการแทรกและขยับข้อมูลได้ 2 แบบคือ Shift cells down แทรกเซลล์ใหม่ด้านบนเซลล์แล้วขยับเซลล์ที่เลือกลงข้างล่าง และ Shift cells right คือแทรกเซลล์ใหม่เข้ามาแล้วขยับเซลล์เดิมออกไปทางขวา ดังตัวอย่าง

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

                                                                                           

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
แทรกแถว  (Insert Row)

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

  • เมื่อใช้คำสั่งแทรกแถวไปแล้วจะมีปุ่ม
    ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
     คำสั่งการใช้รูปแบบแสดงขึ้นมาให้เลือกกว่าแถวใหม่ที่แทรกเข้ามาจะใช้รูปแบบใด ดังนี้
    • จัดรูปแบบเหมือนแถวบน
    • จัดรูปแบบเหมือนแถวล่าง
    • ทั้งหมด โดยไม่ใช้รูปแบบใดๆ

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
แทรกคอลัมน์  (Insert Column)

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

  • เมื่อใช้คำสั่งแทรกคอลัมน์ไปแล้วจะมีปุ่ม
    ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
     คำสั่งการใช้รูปแบบแสดงขึ้นมาให้เลือกกว่าคอลัมน์ใหม่ที่แทรกเข้ามาจะใช้รูปแบบใด ดังนี้
    • จัดรูปแบบเหมือนคอลัมน์ซ้าย
    • จัดรูปแบบเหมือนคอลัมน์ขวา 
    • ทั้งหมด โดยไม่ใช้รูปแบบใดๆ

    ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

    ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
    ลบแถว   (Delete Row)

    ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
    การลบแถวจะเป็นการลบแถวที่เลือกออก แล้วขยับแถวด้านล่างขึ้นมาแทนที่ ซึ่งเนื้อหาภายใต้แถวนั้น (จากซ้าย ไปขวา ) ตั้งแต่คอลัมน์A ไปจนถึงคอลัมน์ XFD รวมทั้งหมด16,384 คอลัมน์จะถูกลบไปด้วย

    ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

    ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
    ลบคอลัมน์   (Delete  Column)

    ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
    การลบคอลัมน์จะเป็นการลบคอลัมน์ที่เลือกออก แล้วขยับคอลัมน์ทางขวาเข้ามาแทนที่ ซึ่งเนื้อหาภายใต้คอลัมน์นั้น (จากบนลงล่าง) ตั้งแต่แถวที่1  ไปจนถึงแถว1,048,576 รวมทั้งหมดล้านกว่าแถวจะถูกลบไปด้วย

    ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

    ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
    ลบเซลล์   (Delete Cell)

    ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
    การลบเซลล์จะมี 2แบบคือ Shift cells up ลบเซลล์ที่เลือก แล้วเลื่อนเซลล์ด้านล่างมาแทนที่ และ Shift cells left ลบเซลล์แล้วเลือกเซลล์ที่อยู่ทางขวามาแทนที่ ดังตัวอย่าง

    ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

    ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

    ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
    เทคนิคการแทรกหรือลบแถวและคอลัมน์แบบง่ายๆ

    ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

    ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

    ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
    ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

    ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด

    ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่อยู่ห่างกันควรใช้วิธีใด
     

ป้อนข้อมูลหลายช่องเซลล์ที่มีค่าเหมือนกันควรใช้วิธีใด

การป้อนข้อมูลที่มีค่าเดียวกัน ในเซลล์หลายเซลล์ของ Microsoft Excel สามารถปฏิบัติ ดังนี้ ระบายแถบสีคลุมเซลล์ที่ต้องการป้อนข้อมูล พิมพ์ข้อมูล จากนั้นกดปุ่ม <Ctrl> <Enter> จะพบว่าทุกๆ เซลล์ในช่วง มีข้อมูลเหมือนกัน

การรวมช่องตารางหลาย ๆ ช่องไว้ด้วยกันใช้เครื่องมือใด

รวมข้อมูลโดยใช้ฟังก์ชัน CONCAT เลือกเซลล์ที่คุณต้องการใส่ข้อมูลที่รวมเข้าด้วยกัน พิมพ์ =CONCAT(. เลือกเซลล์ที่คุณต้องการรวมก่อน ใช้เครื่องหมายจุลภาคเพื่อคั่นเซลล์ที่คุณกําลังรวมและใช้เครื่องหมายอัญมณูเพื่อเพิ่มช่องว่าง เครื่องหมายจุลภาค หรือข้อความอื่น

การเลือกเซลล์ที่อยู่ไม่ติดกันมีวิธีการอย่างไร

เลือกอย่างน้อยหนึ่งเซลล์ คลิกบนเซลล์เพื่อเลือก หรือใช้คีย์บอร์ดเพื่อไปยังเซลล์และเลือกเซลล์ ในการเลือกช่วง ให้เลือกเซลล์ และคลิกเมาส์ซ้ายลากคลุมเซลล์อื่นๆ หรือใช้แป้น Shift + ลูกศรเพื่อเลือกช่วง เมื่อต้องการเลือกเซลล์ซึ่งไม่อยู่ติดกันและช่วงของเซลล์ ให้กด Ctrl ค้างไว้แล้วเลือกเซลล์

การป้อนข้อมูลแบบตัวเลขและวันที่มีวิธีการอย่างไร

บนแท็บหน้าแรก ในกลุ่มตัวเลขให้คลิก ตัวเปิดใช้กล่องโต้ตอบที่อยู่ถัดจากตัวเลข คุณยังสามารถกด CTRL+1 เพื่อเปิด กล่องโต้ตอบ จัดรูปแบบเซลล์ ในรายการประเภท ให้คลิกวันที่หรือเวลา ในรายการชนิด ให้คลิกรูปแบบวันที่หรือเวลาที่คุณต้องการใช้