สงครามครั้งแรกระหว่างไทยกับพม่าในสมัยอยุธยา คือสงครามใด

ภาคที่ 1 รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก -- สงครามครั้งแรกในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ สงคราม 9 ทัพ -- ครั้งที่ 2 ยึดปัตตานี สงครามต่อเนื่องจากคราศึกเก้าทัพ -- ครั้งที่ 3 พม่ากลับมาใหม่ในสงคราม "ท่าดินแดง" -- ครั้งที่ 4 รบพม่าที่ลำปางและป่าซาง -- ครั้งที่ 5 ไทยรุกพม่าที่เมืองทวาย -- ครั้งที่ 6 พ.ศ. 2334 ปราบกบฏรายาเมืองปัตตานี -- ครั้งที่ 7 พ.ศ. 2336 ไทยตีพม่าอีกครั้ง -- ครั้งที่ 8 พ.ศ. 2340 พม่าเข้ามาตีเมืองเชียงใหม่ -- ครั้งที่ 9 ไล่พม่าออกจากล้านนา พ.ศ. 2345 -- ครั้งที่ 10 ปราบเมืองปัตตานีอีกครั้ง พ.ศ. 2351 -- ภาคที่ 2 รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย -- ครั้งที่ 1 รบพม่าที่ถลาง พ.ศ. 2352 -- ครั้งที่ 2 ไทยตีไทรบุรี พ.ศ. 2364 -- ภาคที่ 3 รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว -- ช่วยอังกฤษรบพม่า พ.ศ. 2367 -- ครั้งที่ 2 ปราบกบฏเจ้าอนุเวียงจันทน์ พ.ศ. 2369 -- ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2373-2381 ปราบกลฏไทรบุรี ปัตตานี -- ครั้งที่ 4 สงครามกับเขมรและญวน พ.ศ. 2376-2391 -- ครั้งที่ 5 ปราบกบฏสิบสองปันนา พ.ศ. 2392 -- บทสรุป

  1. ไทย -- ประวัติศาสตร์ -- กรุงรัตนโกสินทร์
  2. 2325-2394
  3. ไทย -- ประวัติศาสตร์ -- กรุงรัตนโกสินทร์ -- สงครามกับพม่า
  4. Thai history

สงครามครั้งแรกระหว่างไทยกับพม่าในสมัยอยุธยา คือสงครามใด

ขณะที่กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีของสยามนั้น มีการทำสงครามกับพม่าทั้งหมด 24 ครั้ง ดังนี้

ปี 2082 พม่ารุกรานเมืองเชียงกราน (ปะทะกันประปรายบริเวณชายแดน)
ปี 2091 พม่ารุกเข้ามาทางด่านเจดีย์สามองค์ระหว่างที่เกิดการแย่งชิงราชบัลลังก์ในอยุธยา
ปี 2106 อยุธยาถูกโอบล้อมและยอมแพ้ หลังจากนั้นต้องยอมส่งเครื่องบรรณาการให้พม่า
ปี 2111 ราชธานีของกรุงศรีอยุธยาถูกพระเจ้ากรุงหงสาวดีเข้ายึดครอง
ปี 2127 สมเด็จพระนเรศวรทรงกู้อิสรภาพมาให้สยามประเทศ
ปี 2127 สยามสู้รบกับเจ้าเมืองพะสิม
ปี 2128 พม่าส่งอุปราชเมืองเชียงใหม่ไปต่อสู้กับชาวสยามที่บ้านสระเกศ
ปี 2133 พระมหาอุปราชแห่งพม่ายกทัพมาครั้งแรก
ปี 2135 สมเด็จพระนเรศวรทรงทำยุทธหัตถีกับพระมหาอุปราช
ปี 2135 ชาวสยามยึดเอาเมืองทวายและตะนาวศรีของพม่าได้
ปี 2137 สมเด็จพระนเรศวรทรงตีเอาเมืองต่างๆ ของมอญได้
ปี 2138 สมเด็จพระนเรศวรทรงยกทัพบุกเมืองหงสาวดีเป็นครั้งแรก
ปี 2142 สมเด็จพระนเรศวรทรงยกทัพบุกเมืองหงสาวดีเป็นครั้งที่สอง
ปี 2147 เป็นสงครามครั้งสุดท้ายของสมเด็จพระนเรศวร พระองค์เสด็จสวรรคตระหว่างเคลื่อนทัพผ่านล้านนาเพื่อไปตีรัฐฉาน
ปี 2156 พม่าตีเมืองทวายและตะนาวศรี แต่ประเทศสยามสามารถกู้เมืองทั้งสองกลับคืนมาได้
ปี 2157 พม่าปิดล้อมและยึดครองเมืองเชียงใหม่
ปี 2205 พม่าเข้าโจมตีและยึดครองเมืองทวาย
ปี 2205 ประเทศสยาม (สมเด็จพระนารายณ์ฯ) ส่งเจ้าพระยาโกษาเหล็กเข้าปิดล้อมและยึดครองเมืองเชียงใหม่คืนระหว่างที่กรุงอังวะถูกจีนฮ่อโจมตี
ปี 2206 พม่าบุกมาทางด่านเจดีย์สามองค์เข้าสู่เมืองไทรโยกในอาณาเขตของสยามประเทศ
ปี 2207 ประเทศสยาม (สมเด็จพระนารายณ์) ตั้งกองทัพเป็น 3 ทัพเข้าโจมตีพม่า
ปี 2302 พม่ารุกรานและยึดครองเมืองท่าของมอญ และเข้าปิดล้อมกรุงศรีอยุธยา
ปี 2307 พม่ายึดเอาท่าเรือของมอญอีกครั้ง ตามด้วยเมืองมะริดและเข้าโจมตีเมืองต่างๆ ทางใต้ของสยาม
ปี 2310 กองทัพพม่าจากเมืองล้านนาเข้าปิดล้อม บุกเข้าพิชิตชัยและทำลายกรุงศรีอยุธยา

   

สงครามครั้งแรกระหว่างไทยกับพม่าในสมัยอยุธยา คือสงครามใด
   

สงครามครั้งแรกระหว่างไทยกับพม่าในสมัยอยุธยา คือสงครามใด


สงครามเก้าทัพ เป็นสงครามระหว่างอาณาจักรพม่ากับกรุงรัตนโกสินทร์หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ เป็นราชธานีแห่งใหม่ เวลานั้นบ้านเมืองอยู่ในช่วงผ่านศึกสงครามมาใหม่ ๆ ประจวบทั้งการสร้างบ้านแปลงเมือง รวมทั้งปราสาทราชวังต่าง ๆ ในปี พ.ศ. ๒๓๒๘  พระเจ้าปดุง กษัตริย์พม่า หลังจากบรมราชาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์อังวะแล้ว ต้องการประกาศแสนยานุภาพ เผยแผ่อิทธิพล โดยได้ทำสงครามรวบรวมเมืองเล็กเมืองน้อยรวมถึงเมืองประเทศราชให้เป็นปึกแผ่น แล้วก็ได้ยกกองกำลังเข้ามาตีไทย โดยมีจุดประสงค์ทำสงครามเพื่อทำลายกรุงรัตนโกสินทร์ให้พินาศย่อยยับเหมือนเช่นกรุงศรีอยุธยา  สงครามครั้งนี้พระเจ้าปดุงได้ยกทัพมาถึง ๙ ทัพ รวมกำลังพลมากถึง ๑๔๔,๐๐๐ นาย เวลานั้นทางฝ่ายไทย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกรวบรวมกำลังไพล่พลได้เพียง ๗๐,๐๐๐ นาย จัดกองทัพออกเป็น ๔ ทัพโดยให้รับศึกทางที่สำคัญก่อน แล้วค่อยผลัดตีทัพที่เหลือ

สงครามครั้งแรกระหว่างไทยกับพม่าในสมัยอยุธยา คือสงครามใด

อานามสยามยุทธ เกิดขึ้นระหว่างไทยกับเวียดนามเพื่อแย่งชิงกัมพูชาในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น

สงครามกับพม่าที่เมืองถลาง ในสมัยรัชกาลที่ ๒

ไทยรบพม่าที่เมืองเชียงตุง เป็นสงครามครั้งสุดท้ายระหว่างไทย-พม่า ในสมัยรัชกาลที่ ๔ พ.ศ. ๒๓๙๖

สงครามปราบฮ่อ เกิดขึ้นในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในปีพ.ศ. ๒๓๙๔ ฮ่อ หรือกองกำลังชาวจีน ที่ต่อต้านราชวงศ์แมนจู ได้ก่อการกบฏโดยเรียกกลุ่มตัวเองว่า กบฏไท้ผิง เพื่อปลดปล่อยตนเองออกจากการปกครองของราชวงศ์แมนจูที่เป็นใหญ่ยึดครองประเทศจีนอยู่ในขณะนั้น จนเกิดการรบพุ่งกันเป็นการใหญ่ เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๐๕ พวกไท้ผิงพ่ายแพ้ต้องหลบหนีไปซุ่มซ่อนตัวตามป่าเขาในมณฑลต่าง ๆ ของจีน ทั้งในมณฑลยูนนาน ฮกเอี้ยน กวางไส กวางตุ้ง เสฉวน และส่วนหนึ่งหลบหนีมายังตังเกี๋ย ทางตั้งเกี๋ยจึงดำเนินการปราบปรามทำให้พวกฮ่อต้องหนีมาอยู่ที่เมืองซันเทียน เมื่อปี พ.ศ. 2408 ในสมัยรัชกาลที่ ๔ ขณะนั้นพวกฮ่อภายใต้การนำของ "ปวงนันชี" ซึ่งใช้ธงสีเหลืองเป็นสัญลักษณ์ ได้ซ่องสุมกำลังที่ทุ่งไหหิน และได้ประพฤติตนเป็นโจรเที่ยวปล้นบ้านเมืองในดินแดนสิบสองจุไทและเมืองพวน ซึ่งขณะนั้นถือเป็นอาณาเขตของฝ่ายไทย