จุดมุ่งหมายในการแต่งวรรณคดีเรื่อง มัทนะพาธา คือข้อใด


จุดมุ่งหมายในการแต่งวรรณคดีเรื่อง มัทนะพาธา คือข้อใด


            ในพระราชนิพนธ์คำนำของเรื่องนี้ ทรงแสดงไว้ว่า ไม่ได้ใช้เนื้อเรื่อง หรือตัดตอนมาจาก ที่ใด ทรงคิดโครงเรื่องนี้ไว้นานแล้ว ทรงกล่าวไว้ว่า “ แก่นแห่งเรื่องนี้ ได้เคยมีติดอยู่ในใจข้าพเจ้ามาช้านานแล้ว แต่เพราะเหตุต่างๆ ซึ่งไม่จำเป็นต้องกล่าวในที่นี้” เราไม่อาจทราบได้ว่า “เหตุต่างๆ” นั้นคืออะไร แต่ตามเนื้อเรื่อง เราจะเห็นได้ว่า มีแก่นสำคัญอยู่ ๒ ข้อสำคัญ คือ

             ๑. ทรงปรารถนาจะกล่าวถึงตำนานดอกกุหลาบ ซึ่งเป็นดอกไม้ที่สวยงาม เป็นที่คลั่งไคล้ได้พบของผู้ที่ได้พบเห็น แต่ว่าต้องระวังในการเด็ดดมเพราะมีหนามคม อาจเปรียบกับสาว ซึ่งมี “ คมหนาม-เมื่อชายจะเด็ดดมก็ต้องระวังตัว ” อีกประการหนึ่ง ดอกกุหลาบนี้ไม่เคยมีตำนานอันเป็นทางเทพนิยาย จึงทรงประดิษฐ์ให้ดอกกุหลาบมีกำเนิดมาจากนางฟ้า ที่ถูกสาปจุติลงมาเกิดเป็นดอกไม้พันธุ์หนึ่ง
                    ๒. เพื่อแสดงความเจ็บร้อนแห่งความรัก ทรงชี้ให้เห็นว่าความรักนั้นมีอานุภาพ อย่างยิ่ง ผู้ใดเกิด ความรัก ก็มักเกิดความหลงขึ้นด้วย ได้ทรงใช้ชื่อเรื่องว่า “ มัทนะพาธา ” อันเป็นชื่อตัวละครเอกของเรื่อง ซึ่งมัทนะพาธา แปลว่า ความเจ็บปวด หรือความเดือดร้อน จากความรัก นอกจากนี้ยังนำไปเป็นบทละครพูดคำฉันท์ เพื่อแสดงเป็นละคร หรือนำไปเล่น ได้อีกด้วย และพระองค์ทรงแนะนำไว้ว่า “ ให้ตัวละครพูดบทของตนเอง ไม่ใช่ร้องบทนั้นๆ อย่างแบบที่เรียกกันว่า ละครดึกดำบรรพ์ ต่อเมื่อบทใดเป็นบทร้องจึงให้ร้อง พร้อมกับให้มีดนตรีเล่นคลอเบาๆ ในเวลาที่เจรจา ได้มีเพลงหน้าพาทย์กำหนดลงไว้ บางแห่งเพื่อช่วยการในดำเนินเรื่อง ”

จุดมุ่งหมายของผู้ประพันธ์เรื่องมัทนะพาธาคือข้อใด

จุดประสงค์ของเนื้อหาเรื่องมัทนะพาธาคืออะไร ชี้ให้เห็นโทษของความรัก วรรณคดีคำฉันท์แต่งด้วยคำประพันธ์ชนิดใด ฉันท์และกาพย์ชนิดต่างๆ

มัทนะพาธามีเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องอะไร

มัทนะพาธาเป็นเรื่องที่สมมุติว่าเป็นกำเนิดของต้นกุหลาบ มีการผูกเรื่องให้เกิดความ ขัดแย้งซึ่งเป็นปมปัญหาของเรื่อง กล่าวคือ สุเทษณ์หลงรักมัทนา แต่มัทนาไม่รับรัก สุเทษณ์จึงกริ้ว มัทนาต้องลงมาเกิดในโลกมนุษย์เป็นการชดใช้โทษ เมื่อพบรักกับชัยเสน ความรักก็ไม่ราบรื่น

วรรณคดีคำฉันท์เรื่องมัทนะพาธาแต่งด้วยคำประพันธ์ชนิดใด

๑. ครูอ่านบทอาขยานบทละครพูดคำฉันท์ เรื่อง มัทนะพาธา คำประพันธ์ประเภทอินทวงศ์ฉันท์ ๑๒ จาก หนังสือเรียน ให้นักเรียนฟัง ๑ รอบ ๒. นักเรียนสังเกตการอ่านออกเสียงคำประพันธ์ประเภทอินทวงศ์ฉันท์ ๑๒ ว่ามีจังหวะ ทำนองการอ่าน และสอดแทรกอารมณ์ตามเนื้อหาของเรื่องที่อ่านนั้นทำอย่างไร ขั้นสอน

แนวคิดสำคัญของบทละครพูดคำฉันท์เรื่อง มัทนะพาธา คือข้อใด

ท้าวชัยเสนเสด็จมาถึงอาศรมของฤๅษี ทอดพระเนตรเห็นนางมัทนากลายเป็นต้นกุหลาบ จึงได้แต่เพียงให้ทหารขุดต้นกุหลาบนั้น และทรงนำไปปลูกที่กรุงหัสตินาปุระ เพื่อจะได้ทรงอยู่ใกล้ชิดนางมัทนาตลอดไป แนวคิดสำคัญของเรื่องมัทนะพาธา ตรงกับแนวคิดในพุทธภาษิตที่ว่า ที่ใดมีรัก ที่นั่นมีทุกข์

จุดมุ่งหมายของผู้ประพันธ์เรื่องมัทนะพาธาคือข้อใด มัทนะพาธามีเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องอะไร วรรณคดีคำฉันท์เรื่องมัทนะพาธาแต่งด้วยคำประพันธ์ชนิดใด แนวคิดสำคัญของบทละครพูดคำฉันท์เรื่อง มัทนะพาธา คือข้อใด ผู้แต่งเรื่อง “มัทนะพาธา” คือใคร มัทนะพาธา แต่งด้วยคําประพันธ์ชนิดใด วรรณคดีเรื่อง มัทนะพาธา ได้รับการยกย่องจากวรรณคดีสโมสรว่าเป็นยอดของอะไร บทละครพูดคำฉันท์เรื่อง มัทนะพาธา ได้เค้าโครงเรื่องมาจากที่ใด สุเทษณ์เทพบุตรจะมีความรู้สึกว่า “สุขะรื่นระเริงระรวย” เมื่อใด ไม้เรียกผะกากุพ ชะกะสีอรุณแสง ใช้โวหารชนิดใด มัทนะพาธา แปลว่าอะไร