ประกันสังคมใช้ตอนไหนได้บ้าง

สำนักงานประกันสังคม (สปส.) กระทรวงแรงงาน ประกาศแจ้งสำหรับผู้ประกันตนในระบบของประกันสังคม กรณีการส่งเงินสมทบเป็นรายเดือน ต้องส่งเงินสมทบกี่เดือนถึงจะได้รับสิทธิประโยชน์ หรือสามารถใช้สิทธิประกันสังคมได้ โดยผู้ประกันตนแต่ละมาตรา จะได้รับสิทธิประกันสังคมไม่เหมือนกัน มาตรา 33 คุ้มครอง 7 กรณี มาตรา 39 คุ้มครอง 6 กรณี "ส่งเงินสมทบกี่เดือนถึงใช้สิทธิได้"

ความคืบหน้า "ธนาคารประกันสังคม" อยู่ระหว่างพิจารณา เข้าที่ประชุม มี.ค.

ประกันสังคม ชี้แจง กรณีการปรับปรุงแก้ไขสิทธิประโยชน์ กรณีชราภาพ “3 ขอ”

เช็กสิทธิ! ผู้ประกันตน ติดโควิด-19 ประกันสังคม พร้อมจ่ายชดเชย

  • กรณีเจ็บป่วย ส่งเงินสมทบไม่น้อยกว่า 3 เดือน ภายในระยะเวลา 15 เดือนก่อนเจ็บป่วย
  • กรณีคลอดบุตร ส่งเงินสมทบครบ 5 เดือน ภายใน 15 เดือน ก่อนเดือนที่คลอดมีสิทธิ์ได้รับค่าคลอดบุตรโดยไม่จำกัดจำนวนครั้ง
  • กรณีทุพพลภาพ ส่งเงินสมทบครบ 3 เดือน ภายใน 15 เดือน ก่อนเดือนที่ทุพพลภาพ
  • กรณีตาย ส่งเงินสมทบครบ 1 เดือน ภายใน 6 เดือน ก่อนถึงแก่ความตาย
  • กรณีสงเคราะห์บุตร ส่งเงินสมทบครบ 12 เดือน ภายใน 36 เดือน ก่อนเดือนที่มีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทน
  • กรณีชราภาพ

สปสช.เตรียมแจก ATK เฟส 2 ให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยง เริ่ม 1 มี.ค.นี้

บำเหน็จชราภาพ

- กรณีจ่ายเงินสมทบต่ำกว่า 12 เดือน จะได้รับเงินบำเหน็จ เท่ากับจำนวนเงินสมทบเฉพาะส่วนของผู้ประกันตน

- กรณีจ่ายเงินสมทบตั้งแต่ 12 เดือนขึ้นไป แต่ไม่ครบ 180 เดือน จะได้รับเงินบำเหน็จเท่ากับจำนวนเงินสมทบส่วนของผู้ประกันตน + นายจ้าง พร้อมผลประโยชน์ทดแทนตามที่กำหนด

บำนาญชราภาพ

ได้รับบำนาญชราภาพร้อยละ 20 ของค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย หากมีการจ่ายเงินสมทบเกินกว่า 180 เดือน จะปรับเพิ่มขึ้นให้อีกร้อยละ 1.5 ต่อระยะเวลาการจ่ายเงินสมทบครบ ทุก 12 เดือน

เปิดข้อปฏิบัติ-วิธีสังเกตอาการ “เมื่อเด็กเล็กติดโควิด-19”

  • กรณีว่างงาน (ม.33) ส่งเงินสมทบครบ 6 เดือน ภายใน 15 เดือนก่อนว่างงาน

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับประกันสังคมได้ที่ www.sso.go.th หรือโทรสายด่วน 1506 ให้บริการทุกวัน ตลอด 24 ชั่วโมง

ประกันสังคม คือการสร้างหลักประกันในการใช้ชีวิตให้แก่สมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ เพื่อเฉลี่ยความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการเจ็บป่วย คลอดบุตร ทุพพลภาพ เสียชีวิต ชราภาพ ว่างงาน โดยผู้ประกันตนต้องส่งเงินสมทบเข้าสำนักงานประกันสังคมเพื่อสามารถใช้สิทธิได้ตามที่ประกันสังคมกำหนด

ประกันสังคม คือการสร้างหลักประกันในการใช้ชีวิตให้แก่สมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ เพื่อเฉลี่ยความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการเจ็บป่วย คลอดบุตร ทุพพลภาพ เสียชีวิต ชราภาพ ว่างงาน ของผู้ประกันตนทั้ง 3 มาตรา ได้แก่ ผู้ประกันตนมาตรา 33 มาตรา 39 และ มาตรา 40 โดยผู้ประกันตนต้องส่งเงินสมทบเข้าสำนักงานประกันสังคมเพื่อสามารถใช้สิทธิได้ตามที่ประกันสังคมกำหนด โดยมีระยะเวลาการส่งเงินสมทบที่สามารถใช้สิทธิได้ดังนี้


ที่มาภาพ : สำนักงานประกันสังคม

ส่งเงินประกันสังคมกี่เดือนถึงใช้สิทธิได้


🔹กรณีเจ็บป่วย

ส่งเงินสมทบไม่น้อยกว่า 3 เดือน ภายในระยะเวลา 15 เดือนก่อนเจ็บป่วย

🔹กรณีคลอดบุตร

ส่งเงินสมทบครบ 5 เดือน ภายใน 15 เดือน ก่อนเดือนที่คลอดมีสิทธิ์ได้รับค่าคลอดบุตรโดยไม่จำกัดจำนวนครั้ง

🔹กรณีทุพพลภาพ

ส่งเงินสมทบครบ 3 เดือนภายใน 15 เดือน ก่อนเดือนที่ทุพพลภาพ

🔹กรณีตาย

ส่งเงินสมทบครบ 1 เดือน ภายใน 6 เดือน ก่อนถึงแก่ความตาย

🔹กรณีสงเคราะห์บุตร

ส่งเงินสมทบครบ 12 เดือน ภายใน 36 เดือน ก่อนเดือนที่มีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทน

🔹กรณีชราภาพ


🔺 บำเหน็จชราภาพ

- กรณีจ่ายเงินสมทบต่ำกว่า 12 เดือน จะได้รับเงินบำเหน็จ เท่ากับจำนวนเงินสมทบเฉพาะส่วนของผู้ประกันตน

- กรณีจ่ายเงินสมทบตั้งแต่ 12 เดือนขึ้นไป แต่ไม่ครบ 180 เดือน จะได้รับเงินบำเหน็จเท่ากับจำนวนเงินสมทบส่วนของผู้ประกันตน + นายจ้าง พร้อมผลประโยชน์ทดแทนตามที่กำหนด


🔺 บำนาญชราภาพ

ได้รับบำนาญชราภาพร้อยละ 20 ของค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย หากมีการจ่ายเงินสมทบเกินกว่า 180 เดือน จะปรับเพิ่มขึ้นให้อีกร้อยละ 1.5 ต่อระยะเวลาการจ่ายเงินสมทบครบ ทุก 12 เดือน

🔹กรณีว่างงาน (ม.33)

ส่งเงินสมทบครบ 6 เดือน ภายใน 15 เดือนก่อนว่างงาน


ทั้งนี้ผู้ประกันตนสามารถเช็กสิทธิของผู้ประกันตนทั้ง 3 มาตราได้ทางเว็บไซต์สำนักงานประกันสังคม หรือผ่านแอปพลิเคชัน sso connect

เมื่อพูดถึง “สิทธิประกันสังคม” หลายคนก็คงทราบกันดีอยู่แล้วว่า ประกันสังคมที่เราเลือกจ่ายทุกๆ เดือนจากการทำงานนั้น จะช่วยดูแลค่ารักษาพยาบาลให้ นั่นหมายความว่า หากคุณเจ็บป่วยหรือไม่สบายระหว่างทำงาน ก็สามารถเบิกค่ารักษาตามโรงพยาบาลที่คุณเลือกสิทธิประกันสังคมได้  โดยไม่ต้องสำรองจ่ายเอง  แต่ทั้งนี้เราจะขอเบิกสิทธิประกันสังคมกรณีเจ็บป่วยอย่างไรบ้าง แล้วเบิกค่ารักษาพยาบาลประกันสังคมภายในกี่วัน แฟรงค์รวบรวมคำตอบไว้ให้คุณแล้ว

กรณีเจ็บป่วยจะได้รับสิทธิประกันสังคมอะไรบ้าง?

เบื้องต้นเราสามารถเข้ารักการรักษาในโรงพยาบาล หรือสถานพยาบาลในสิทธิประกันสังคมได้ทันที แต่มีเงื่อนไขก็คือ ผู้ประกันตนจะต้องจ่ายเงินสมทบประกันสังคมครบ 3 เดือนภายในระยะเวลา 15 เดือนก่อนได้รับการรักษาตามสิทธิประกันสังคม  ซึ่งจะแบ่งค่าใช้จ่ายบริการทางการแพทย์ ตามกรณีดังนี้

1. อาการเจ็บป่วยทั่วไป

ผู้ประกันตนจะได้รับการรักษาพยาบาล แบบไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ ตามสิทธิประกันสังคมที่ได้รับ ยกเว้นบางโรคที่ประกันสังคมกำหนด เช่น การเสริมสวย การรักษาการมีบุตรยาก ผสมเทียม แว่นตา การใช้สารเสพติด การทำร้ายตัวเอง เป็นต้น จะไม่สามารถขอเบิกสิทธิประกันสังคมได้

2. อาการเจ็บป่วยฉุกเฉินหรืออุบัติเหตุ

สำหรับการเจ็บป่วยฉุกเฉิน หรือประสบอุบัติเหตุ ผู้ประกันตนก็สามารถเข้ารักษาในโรงพยาบาลตามสิทธิประกันสังคมได้ แต่ถ้าเป็นโรงพยาบาลอื่นเราอาจจะต้องสำรองจ่ายไปก่อน  แล้วมาขอเบิกประกันสังคมในภายหลัง ดังนี้
2.1 หากเป็นโรงพยาบาลรัฐบาล ผู้ป่วยนอกหรือผู้ป่วยใน สามารถเบิกค่ารักษาได้เท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็น สำหรับผู้ป่วยในเบิกได้ไม่จำกัดจำนวนครั้ง แต่ต้องไม่เกินระยะเวลา 72 ชั่วโมง ในส่วนค่าห้องและค่าอาหารเบิกได้ไม่เกินวันละ 700 บาทต่อวัน
2.2. หากเป็นโรงพยาบาลเอกชน ผู้ป่วยนอกสามารถเบิกค่ารักษาเท่าที่จ่ายจริง โดยไม่เกิน 1,000 บาทต่อครั้ง และจ่ายเพิ่มได้ตามรายการที่กำหนด แต่ถ้าเป็นผู้ป่วยในสามารถเบิกค่ารักษาได้ไม่เกิน 2,000 บาท  ส่วนค่าห้องและอาหารต้องไม่เกิน 700 บาทต่อวัน


ทั้งนี้หากผู้ประกันตนมีค่ารักษาพยาบาลอื่นๆ เพิ่มเติม ทางประกันสังคมจะแบ่งค่าใช้จ่ายให้ตามส่วนต่างๆ ดังนี้ด้วย

  • ค่าห้อง (ICU) จ่ายให้ไม่เกินวันละ 4,500 บาท
  • ค่าห้องผ่าตัดใหญ่เบิกไม่เกิน 8,000-16,000 บาท โดยจะขึ้นอยู่กับจำนวนชั่วโมงที่ได้รับการผ่าตัด กรณีฉุกเฉินเบิกปีละ 4 ครั้ง (ผู้ป่วยนอก 2 ครั้ง ผู้ป่วยใน 2 ครั้ง) กรณีอุบัติเหตุไม่จำกัดจำนวนครั้ง
  • ค่าตรวจทางห้องปฏิบัติการ หรือเอกซเรย์ ไม่เกิน 1,000 บาท
  • ค่าฟื้นคืนชีพรวมค่ายาและอุปกรณ์ ไม่เกินครั้งละ 4,000 บาท
  • ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (EKG, ECG) เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน 300 บาท
  • ค่าทำ CT Scan เบิกได้ 4,000 บาท
  • ค่าทำ MRI เบิกได้ 8,000 บาท
  • ค่าทันตกรรม กรณีถอนฟัน อุดฟัน ขูดหินปูน ผ่าฟันคุด ไม่เกิน 900 บาท/ปี 
  • ค่าใส่ฟันเทียมชนิดถอดได้ กรณีใส่ฟันเทียมแบบถอดได้บางส่วน เบิกได้ไม่เกิน 1,500 บาท และถอดได้ทั้งปาก ไม่เกิน 4,400 บาท

3. อาการเจ็บป่วยฉุกเฉินขั้นวิกฤต

หากผู้ประกันตนมีอาการเจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤต จะได้รับสิทธิประกันสังคมค่ารักษาพยาบาลอีกด้วย แต่ทั้งนี้จะต้องมีอาการฉุกเฉิน ได้แก่ หมดสติไม่รู้สึกตัว หายใจเร็ว ตัวเย็นหรือชัก เจ็บหน้าออก แขนขาอ่อนแรง รวมถึงอาการที่มีผลต่อระบบหายใจ หรือระบบประสาทที่เป็นอันตรายต่อชีวิต ก็สามารถรับบริการได้ที่สถานพยาบาลใกล้เคียงทุกแห่ง โดยไม่ต้องสำรองจ่ายจนกว่าจะพ้นวิกฤตภายใน 72 ชม.  รวมวันหยุดราชการด้วย

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv แปลภาษาอาหรับ-ไทย lmyour แปลภาษา ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค Google Translate การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 หยน อาจารย์ ตจต เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 บบบย ศัพท์ทหารบก แปลภาษาจีน การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 1 ขุนแผนหลวงปู่ทิม มีกี่รุ่น ชขภใ ตม.เชียงใหม่ เซ็นทรัลเฟสติวัล พจนานุกรมศัพท์ทหาร รหัสจังหวัด อําเภอ ตําบล รหัสประจำจังหวัด 77 จังหวัด สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม หนังสือราชการ ตัวอย่าง ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คอร์ด อเวนเจอร์ส ทั้งหมด แปลภาษา มาเลเซีย ไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค ่้แปลภาษา Egp G no Reconguista Google map ขุนแผนหลวงปู่ทิมรุ่นแรก ข้อสอบภาษาไทยพร้อมเฉลย ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง ค้นหา ประวัติ นามสกุล จองคิว ตม เชียงใหม่ ชื่อเต็ม ร.9 คําอ่าน ดีแม็กมือสองราคาไม่เกิน350000 ตัวอย่างรายงานการประชุมสั้นๆ