แร่ทองคำ มี มาก ที่ ประเทศ อะไร

แร่ทองคำ มี มาก ที่ ประเทศ อะไร

แร่ทองคำ มี มาก ที่ ประเทศ อะไร


          เปิดโผ 10 ประเทศที่มีทองมากที่สุดในโลก หลายประเทศเก็บทองไว้ในทุนสำรองระหว่างประเทศหลายพันตัน ฟาก "รัสเซีย" ซุ่มเงียบ เร่งตุนทองไว้เพียบ !

          วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2561 เว็บไซต์ Money2know ได้ทำการสำรวจประเทศที่มีทองคำมากที่สุดในโลก โดยจากสถิติ ณ สิ้นปี 2560 พบว่า ประเทศและองค์กรระหว่างประเทศที่มีการถือครองทองคำในทุนสำรองระหว่างประเทศมากที่สุด 10 อันดับแรก ประกอบด้วย

          1. สหรัฐอเมริกา ถือครองทองคำ 8,133 ตัน

          2. เยอรมนี ถือครองทองคำ 3,337 ตัน

          3. กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ถือครองทองคำ 2,184 ตัน

          4. อิตาลี ถือครองทองคำ 2,452 ตัน

          5. ฝรั่งเศส ถือครองทองคำ 2,436 ตัน

          6. จีน ถือครองทองคำ 1,842 ตัน

          7. รัสเซีย ถือครองทองคำ 1,828 ตัน

          8. สวิตเซอร์แลนด์ ถือครองทองคำ 1,040 ตัน

          9. ญี่ปุ่น ถือครองทองคำ 765 ตัน

          10. เนเธอร์แลนด์ ถือครองทองคำ 612 ตัน

แร่ทองคำ มี มาก ที่ ประเทศ อะไร

แร่ทองคำ มี มาก ที่ ประเทศ อะไร
เผย 10 ประเทศเศรษฐี ! ที่มี "ทองคำ" มากที่สุดในโลก อัปเดตล่าสุด 27 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 17:57:42 39,833 อ่าน

แร่ทองคำ มี มาก ที่ ประเทศ อะไร

เป็นเหมืองแร่ทองคำ และเหมืองทองแดง อยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของเมืองเพิร์ธออกไปประมาณ 75 ไมล์
ประเทศออสเตรเลีย คืออาณานิคมเหมืองแร่ขนาดใหญ่ ที่มีการส่งออกทองคำอย่างหนักในช่วง 2009 จนถึงปี 2011
อ้างอิงจากข้อมูลของบริษัทเหมืองแร่ ทางบอดดิงตันมีการผลิตทองคำมากถึง 19.5 ล้านออนซ์
และพวกเขากำลังวางแผนทุ่มเงินกว่า 500 ล้านดอลลาร์ เพื่อขยายกิจการทำเหมืองแร่ของพวกเขา

สถานที่แห่งนี้มีเจ้าของเป็นบริษัทเหมืองแร่ของแคนาดา ซึ่งตั้งอยู่บนรัฐซากาเตกัส ของประเทศแมกซิโก ซึ่งเป็นบ่อแร่ขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศ และติด 1 ใน 5 ของเหมืองแร่เงินที่ใหญ่ที่สุดในโลก
โดยเริ่มต้นการทำเหมืองในปี 2010 มีผลตอบแทนอื่น ๆ เป็นสังกะสี และ ตะกั่ว
ในปี 2007 บริษัท Silver Wheaton ได้เข้ามาทำสัญญาข้อตกลงโดยต้องการ 25 เปอร์เซ็นต์จากการผลิตแร่เงินในตลอดชีวิตของการทำเหมืองแห่งนี้

3.Carlin

เป็นเหมืองแร่ที่สำคัญของประเทศสหรัฐอเมริกา โดยมีการส่งออก 75 เปอร์เซ็นต์ของประเทศ และ 3 เปอร์เซ็นต์จากการทำเหมืองทองคำทั้งโลก
เกิดขึ้นที่เหมืองแห่งนี้ สถานที่แห่งนี้ประกอบไปด้วยบ่อเหมืองขนาดใหญ่ 3 บ่อ และ เหมืองใต้ดินอีก 4 แห่ง

บริษัท Barrick ได้เข้ามาทำเหมืองแร่ในทางตอนเหนือของเนวาดา ช่วงปี 1987 ซึ่งจัดเป็นเหมือแร่ทองคำที่ใหญ่ที่สุดในตอนเหนือของอเมริกา
โดยมีลูกจ้างกว่า 1,700 คน และปัจจุบันมีการผลิต 28.1 ตันในปี 2014 จนถึง 32.8 ตันในปี 2015

แห่งประเทศอุซเบกิสถาน ถูกค้นพบเมื่อปี 1958 ในทะเลทรายอันแห้งแร้ง Kyzyl Kum โดยเริ่มทำการขุดเหมืองแร่เมื่อปี 1967 จนมาถึงปัจจุบัน
โดยมีเหมืองเปิดขนาดใหญ่ ที่มีความลึกมากถึง 1,900 ฟุต โดยติดอันดับที่ 5 ของเหมืองที่ลึกที่สุดในโลก และยังเป็นแหล่งแร่พลอยได้จากเทอร์คอยซ์อีกด้วย พร้อมทั้งคาดการณ์กันไว้ว่า เหมืองแห่งนี้จะมีแร่ 2,500 – 5,300 ตันเลยทีเดียว

#ซื้อขายทองคำแท่ง #ซื้อขายทองคำแท่งออนไลน์ #ทองคำ
#อินเตอร์โกลด์ #InterGOLD #ลงทุนทองคำแท่ง
สามารถติดตามบทวิเคราะห์ได้ที่: https://www.youtube.com/intergoldgoldtrade
 สนใจลงทุนทองคำแท่งหรือติดตามข่าวสารได้ที่
 Website : www.intergold.co.th
 Line : @intergold
 Facebook : https://www.facebook.com/IntergoldPage/
Call : 02 – 2233 – 234



ประเภทรับซื้อขายออกLBMA
99.99% (Baht)InterGold
96.5% (Baht)สมาคมฯ
96.5% (Baht)Gold Spot
(USD)ค่าเงินบาท
(USDTHB)-

            ในช่วงปี 1990 โลกมีการขุดค้นได้ทองคำเฉลี่ย 1744 ตันต่อปี ทั้งนี้ เพราะมีเทคโนโลยีใหม่ ๆ เข้ามาช่วยทำให้การผลิตเดิมที่ไม่มีความเป็นไปได้ทางเศรษฐกิจมีความเป็นไปได้ขึ้น  แต่ราคาทองคำที่ตกต่ำลงทำให้ผลผลิตทองคำไม่เพิ่มสูงขึ้นแต่อย่างใด

ในช่วงวิกฤตโควิด-19 บางเหมืองต้องปิดทำการ นักลงทุนมองว่าทองคำเป็นสินทรัพย์ที่มั่นคงที่สุดในช่วงที่เศรษฐกิจสั่นคลอน

เดือนที่แล้ว ราคาทองคำสูงกว่า 2,000 ดอลลาร์สหรัฐฯ หรือราว 63,000 บาท ต่อออนซ์ ถือว่าสูงที่สุดเป็นประวัติการณ์

จริงอยู่ที่ผู้ซื้อ-ขายทองคำมีส่วนทำให้ราคาสูงขึ้น แต่นี่ก็ทำให้หลายคนสงสัยว่าแร่ล้ำค่านี้กำลังจะหมดไปจากโลกหรือเปล่า

ทองคำเป็นที่นิยมสำหรับผู้ลงทุน เป็นสัญลักษณ์ของฐานะ และเป็นส่วนประกอบสำคัญของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หลายชนิด

แต่ทองคำก็เป็นทรัพยากรที่วันหนึ่งจะต้องหมดไป ไม่เหลือให้คนทำเหมืองแร่ได้อีก

ผู้เชี่ยวชาญด้านทองคำมีคำว่า "peak gold" ซึ่งหมายถึง "จุดพีค" ที่เราสามารถขุดแร่ทองได้มากที่สุดในแต่ละปี บางคนเชื่อว่าเราได้มาถึงจุดนั้นแล้ว

สภาทองคำโลก (World Gold Council) ระบุว่า ปี 2019 มีการขุดแร่ทองคำได้ 3,531 ตัน ซึ่งต่ำกว่าปี 2018 1% ถือว่าต่ำลงครั้งแรกตั้งแต่ปี 2008

ฮานาห์ แบรนด์สแตทเตอร์ โฆษกสภาทองคำโลก บอกว่า อาจจะเร็วไปที่จะสรุปว่าโลกไม่สามารถขุดทองคำได้มากกว่านี้แล้วในแต่ละปี แม้ว่าปีต่อ ๆ จากนี้ อาจผลิตทองได้น้อยลงเพราะว่าแร่ทองคำในแหล่งสำรองเริ่มหมดไป และไม่มีการค้นพบแหล่งทองคำใหม่ ๆ

แม้ว่าจะถึง "จุดพีค" ผู้เชี่ยวชาญบอกว่า ปีต่อ ๆ จากนี้ การผลิตทองคำก็จะไม่ได้น้อยลงไปอย่างน่าตกใจ แต่จะค่อย ๆ ลดลงในช่วง 2-3 ทศวรรษที่จะมาถึง

เหลือทองคำอยู่ในโลกแค่ไหน

คำบรรยายภาพ,

การขุดเหมืองแร่ทองคำยากและใช้ต้นทุนสูงขึ้นเรื่อย ๆ

บริษัทเหมืองทองต่าง ๆ ประเมินปริมาณแร่ทองคำที่เหลืออยู่ในดินสองวิธีด้วยกัน

หนึ่ง แหล่งสำรอง คือแร่ทองคำในบริเวณที่คุ้มทุนที่จะทำเหมืองแร่เมื่อพิจารณาราคาทองคำในปัจจุบัน

สอง แหล่งทรัพยากร คือแร่ทองคำในที่ ๆ อาจจะคุ้มทุนที่จะทำเหมืองแร่เมื่อสืบค้นหาข้อมูลเพิ่ม หรือว่าราคาทองคำสูงขึ้น

เราสามารถคำนวณปริมาณแร่ทองคำที่เหลืออยู่ในแหล่งทรัพยากรได้แม่นยำมากกว่า แต่ก็ไม่ใช่เรื่องง่าย

สำนักงานสำรวจธรณีวิทยาแห่งสหรัฐอเมริกา (US Geological Survey) ระบุว่า ประเมินการณ์ว่าโลกเหลือแร่ทองคำในพื้นดินอยู่ราว 50,000 ตัน

พูดให้เห็นภาพก็คือ ถึงตอนนี้ มนุษย์เราได้ขุดแร่ทองคำไปแล้วราว 190,000 ตัน อย่างไรก็ดี บางฝ่ายก็ประเมินตัวเลขนี้แตกต่างกันออกไป

เมื่อดูจากตัวเลขประเมินนี้ เรายังเหลือทองคำให้ขุดอีกราว 20% แต่ตัวเลขนี้ก็เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา

เทคโนโลยีใหม่ ๆ ไม่ว่าจะเป็น ชุดข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) หรือปัญญาประดิษฐ์ ก็อาจจะลดกระบวนการและลดต้นทุนการทำเหมืองแร่ทองได้เช่นกัน ขณะนี้มีการใช้หุ่นยนต์ที่เหมืองแร่ทองคำบางแห่งแล้ว และคาดว่าจะกลายเป็นเทคโนโลยีมาตรฐานในการสำรวจเหมืองในอนาคต

แอ่งที่ราบวิตวอเตอร์สแรนด์ (Witwatersrand Basin) ในแอฟริกาใต้เป็นแหล่งแร่ทองคำที่ใหญ่ที่สุดในโลก หรือคิดเป็น 30% ของทองคำทั้งหมดที่เคยถูกขุดขึ้นมา

เหมืองใหญ่อื่น ๆ ได้แก่ เหมืองมะโปเน็งในแอฟริกาใต้ เหมืองซูเปอร์พิต และนิวมอนต์ บอดดิงตัน ในออสเตรเลีย และเหมืองกราสเบิร์กในอินโดนีเซีย และอีกหลายแห่งในรัฐเนวาดาของสหรัฐฯ

ขณะนี้ จีนเป็นผู้ทำเหมืองแร่ทองคำรายใหญ่ที่สุดในโลก ขณะที่แคนาดา รัสเซีย และเปรู ก็เป็นผู้ผลิตรายใหญ่เช่นกัน

กิจการร่วมในนาม เหมืองทองเนวาดา (Nevada Gold Mines) ในรัฐเนวาดา ซึ่งบริษัทแบร์ริค โกลด์(Barrick Gold) ถือหุ้นใหญ่ ถือว่าเป็นเครือข่ายเหมืองทองที่ใหญ่ที่สุดในโลกโดยพวกเขาผลิตทองราว 3.5 ล้านออนซ์ต่อปี

ผู้เชี่ยวชาญ บอกว่า แม้จะพบแหล่งทองคำใหม่เรื่อย ๆ แต่ที่เป็นขนาดใหญ่จะพบได้ยากขึ้นเรื่อย ๆ นี่เป็นผลให้การผลิตทองคำส่วนใหญ่มาจากเหมืองเก่า ๆ ที่มีการขุดทองคำกันมาหลายทศวรรษแล้ว

การขุดเหมืองขนาดใหญ่ต้องใช้เงินทุน เครื่องจักร และความเชี่ยวชาญมาก ที่จะขุดบนหรือภายใต้พื้นผิวดิน

ทุกวันนี้ การทำเหมืองราว 60% มาจากการขุดเหมืองบริเวณพื้นผิว ส่วนที่เหลือเป็นใต้พื้นผิว

รอส นอร์แมน จากเว็บไซต์ MetalsDaily.com บอกว่า การขุดเหมืองยากขึ้นสำหรับเหมืองใหญ่ ๆ และใช้ต้นทุนต่ำ อย่างในแอฟริกาใต้ที่ขุดจนทองใกล้จะหมดขึ้นเรื่อย ๆ

"ในทางตรงกันข้าม เหมืองทองในจีนเล็กกว่า ดังนั้นก็จะต้องใช้ต้นทุนสูงกว่า" นอร์แมน อธิบาย

ภูมิภาคที่ยังไม่ได้ถูกสำรวจก็มีอย่างในภูมิภาคฝั่งตะวันตกของแอฟริกาซึ่งไม่ค่อยมีเสถียรภาพทางการเมือง

แม้ราคาทองคำจะสูงสุดเป็นประวัติการณ์เมื่อเดือน ส.ค. แต่ไม่ได้หมายความว่าจะมีการทำเหมืองมากขึ้นด้วย

ที่จริงแล้ว ต้องใช้เวลานานพอสมควรกว่าที่ปริมาณการผลิตจะส่งผลต่อราคาทองคำ

นอกจากนี้ ปรากฏการณ์ดังกล่าวยังเกิดในช่วงวิกฤตโควิด-19 ด้วย บางเหมืองต้องปิดทำการ ราคาทองคำสูงขึ้นเพราะนักลงทุนมองว่าทองคำเป็นสินทรัพย์ที่มั่นคงที่สุดในช่วงที่เศรษฐกิจสั่นคลอน

ที่จริงแล้ว แร่ทองคำก็มีบนดวงจันทร์เช่นกัน อย่างไรก็ดี ค่าใช้จ่ายที่จะเดินทางไปที่นั่นเพื่อทำเหมืองแร่และนำกลับมาโลกยังไม่คุ้มทุน เช่นเดียวกับที่แอนตาร์กติกา ที่อาจจะไม่มีวันคุ้มทุนที่จะทำเหมืองแร่ทองคำเนื่องจากสภาพอากาศ พื้นมหาสมุทรก็มีแร่ทองคำ แต่ก็ไม่คุ้มทุนอีกเช่นกัน

แต่ข้อดีของทองคำคือ มันจะไม่มีวันหมดไป สามารถถูกนำกลับมารีไซเคิลได้เสมอ

ทองเป็นส่วนประกอบของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หลายชนิด และก็มีการริเริ่มนำอุปกรณ์เหล่านั้นที่คนเลิกใช้แล้วมารีไซเคิลเอาทองกลับมาใช้ใหม่แล้ว