เส้นในข้อใดให้ความรู้สึกสงบนิ่ง

เกิดจากจุดที่เรียงต่อกัน   หรือเกิดจากการลากเส้นไปยังทิศทางต่างๆ มีหลายลักษณะ เช่น ตั้ง นอน เฉียง โค้ง ฯลฯ เส้น เกิดจากเคลื่อนที่ของจุด  หรือถ้านำจุดมาวางเรียงต่อๆ กันก็จะเกิดเป็นเส้นขึ้น  เส้นมีมิติเดียว  คือ ความยาว  ไม่มีความกว้าง  ทำหน้าที่เป็นขอบเขตของที่ว่าง  รูปร่าง  รูปทรง  สี น้ำหนัก  รวมทั้งเป็นแกนหลักโครงสร้างของรูปร่างรูปทรงต่างๆ

เส้นเป็นพื้นฐานที่สำคัญของงานศิลปะทุกชนิด  เส้นสามารถให้ความหมาย แสดงความรุ้สึกและอารมณ์ด้วย การสร้างเป็นรูปทรงต่างๆ ขึ้น เส้นมี 2 ลักษณะคือ เส้นตรง ( Straight Line ) และ เส้นโค้ง ( Curve Line ) เส้นทั้งสองชนิดนี้เมื่อนำมาจัดวางในลักษณะต่างๆ กันและให้ความหมาย ความรุ้สึก ที่แตกต่างกันออกไปด้วย

ลักษณะของเส้น

เส้นมีจุดเด่นที่นำมาใช้ได้หลากหลายรูปแบบ  ทำให้เกิดรูปร่างรูปทรงต่างๆ มากมายเพื่อต้องการสิ่อให้เกิดความรุ้สึกทางด้านอารมณ์ จากการสร้างสรรค์ของงาน

��鹹���Ӥѭ䩹
� ��鹹���Ӥѭ䩹 �

���(Line) ���¶֧ �ش���� � �ش �Ѻ����ǹ ���§��͡ѹ ������Դ�ѡɳ�����͹���仵����ȷҧ������ҡ��˹�
㹷ҧ��Ż� ����繾�鹰ҹ�ͧ�ç���ҧ�ء��� ����ö�ʴ���������֡㹵�Ǣͧ�ѹ�ͧ ��д��¡�����ҧ���ٻ�ç��ҧ � ��� �ҹ�Եá����ͧ�� �չ ��Э���� ��ǹ����������㨢ͧ����ʴ��͡ ��鹷���繾�鹰ҹ㹡�����ҧ�Ҿ �� 2 �ѡɳ� ��� ��鹵ç ��� ����� ��ǹ������ � ����Դ�ҡ��û�Сͺ�ѹ�ͧ��鹵ç�������� �� �����ѡ �Դ�ҡ��鹵ç�һ�Сͺ�ѹ ����駻�Сͺ��Ҵ��¡ѹ ��������١���� �繵�

����������Ф�������֡����
 ��鹵ç ����������֡ ���ç ����� �����Һ���º ����ʧ�� ˹ѡ��
 ����� ����������֡ ������� ��͹��ҹ ����͹��� ������ͧ ����͹���
 �����ѡ ����������֡ �ѡ�� �Ѵ��� �����ع�ç
 �����§ ����������֡ ����͹��� ��觷��ҹ ���������蹤�
 ��鹻�� ����������֡ ᵡ�¡ ���������º ����� ��������ͧ

�� : �ҧ �Ѫ���ó� �������, �ç���¹�Ⱥ�ŷ���԰, �ѹ��� 1 �Զع�¹ 2545

องค์ประกอบศิลป์

เส้น Line
     เส้น คือ ร่องรอยที่เกิดจากเคลื่อนที่ของจุด หรือถ้าเรานำจุดมาวางเรียงต่อ ๆ กันไป ก็จะเกิดเป็นเส้นขึ้น เส้นมีมิติเดียว คือ ความยาว ไม่มีความกว้าง ทำหน้าที่เป็นขอบเขต ของที่ว่าง รูปร่าง รูปทรง น้ำหนัก สี ตลอดจนกลุ่มรูปทรงต่าง ๆ รวมทั้งเป็นแกนหรือ โครงสร้างของรูปร่างรูปทรง

     เส้นเป็นพื้นฐานที่สำคัญของงานศิลปะทุกชนิด เส้นสามารถให้ความหมาย แสดง ความรู้สึก และอารมณ์ได้ด้วยตัวเอง และด้วยการสร้างเป็นรูปทรงต่าง ๆ ขึ้น เส้นมี 2 ลักษณะคือ เส้นตรง (Straight Line) และ เส้นโค้ง (Curve Line) เส้นทั้งสองชนิดนี้ เมื่อนำมาจัดวางในลักษณะต่าง ๆ กัน จะมีชื่อเรียกต่าง ๆ และให้ความหมาย ความรู้สึก ที่แตกต่างกันอีกด้วย

ลักษณะของเส้น

1. เส้นตั้ง หรือ เส้นดิ่ง ให้ความรู้สึกทางความสูง สง่า มั่นคง แข็งแรง หนักแน่น เป็นสัญลักษณ์ของความซื่อตรง
2. เส้นนอน ให้ความรู้สึกทางความกว้าง สงบ ราบเรียบ นิ่ง ผ่อนคลาย
3. เส้นเฉียง หรือ เส้นทะแยงมุม ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหว รวดเร็ว ไม่มั่นคง
4. เส้นหยัก หรือ เส้นซิกแซก แบบฟันปลา ให้ความรู้สึก คลื่อนไหว อย่างเป็น จังหวะ มีระเบียบ ไม่ราบเรียบ น่ากลัว อันตราย ขัดแย้ง ความรุนแรง
5. เส้นโค้ง แบบคลื่น ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหวอย่างช้า ๆ ลื่นไหล ต่อเนื่อง สุภาพ อ่อนโยน นุ่มนวล
6. เส้นโค้งแบบก้นหอย ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว คลี่คลาย หรือเติบโตในทิศทางที่ หมุนวนออกมา ถ้ามองเข้าไปจะเห็นพลังความเคลื่อนไหวที่ไม่สิ้นสุด
7. เส้นโค้งวงแคบ ให้ความรู้สึกถึงพลังความเคลื่อนไหวที่รุนแรง การเปลี่ยนทิศทาง ที่รวดเร็ว ไม่หยุดนิ่ง
8. เส้นประ ให้ความรู้สึกที่ไม่ต่อเนื่อง ขาด หาย ไม่ชัดเจน ทำให้เกิดความเครียด

ความสำคัญของเส้น

1. ใช้ในการแบ่งที่ว่างออกเป็นส่วน ๆ
2. กำหนดขอบเขตของที่ว่าง หมายถึง ทำให้เกิดเป็นรูปร่าง (Shape) ขึ้นมา
3. กำหนดเส้นรอบนอกของรูปทรง ทำให้มองเห็นรูปทรง (Form) ชัดขึ้น
4. ทำหน้าที่เป็นน้ำหนักอ่อนแก่ ของแสดงและเงา หมายถึง การแรเงาด้วยเส้น
5. ให้ความรู้สึกด้วยการเป็นแกนหรือโครงสร้างของรูป และโครงสร้างของภาพ

 การเน้น Emphasis    

การเน้น หมายถึง การกระทำให้เด่นเป็นพิเศษกว่าธรรมดา
ในงานศิลปะจะต้องมี ส่วนใดส่วนหนึ่ง หรือจุดใดจุดหนึ่ง ที่มีความสำคัญกว่าส่วนอื่น ๆ เป็นประธานอยู่
ถ้าส่วนนั้นๆ อยู่ปะปนกับส่วนอื่น ๆ และมีลักษณะเหมือน ๆ กัน ก็อาจถูกกลืน หรือ ถูกส่วนอื่นๆ
ที่มีความสำคัญน้อยกว่าบดบัง หรือแย่งความสำคัญ ความน่าสนใจไปเสีย
งานที่ไม่มีจุดสนใจ หรือประธาน จะทำให้ดูน่าเบื่อ เหมือนกับลวดลายที่ถูกจัดวางซ้ำกัน
โดยปราศจากความหมาย หรือเรื่องราวที่น่าสนใจ
ดังนั้น ส่วนนั้นจึงต้องถูกเน้น ให้เห็นเด่นชัดขึ้นมา เป็นพิเศษกว่าส่วนอื่น ๆ
ซึ่งจะทำให้ผลงานมีความงาม สมบูรณ์ ลงตัว และน่าสนใจมากขึ้น การเน้นจุดสนใจสามารถทำได้ 3 วิธี คือ

1. การเน้นด้วยการใช้องค์ประกอบที่ตัดกัน (Emphasis by Contrast)
สิ่งที่แปลกแตก ต่างไปจากส่วนอื่นๆ ของงาน จะเป็นจุดสนใจ ดังนั้น การใช้องค์ประกอบที่มีลักษณะ
แตกต่าง หรือขัดแย้ง กับส่วนอื่น ก็จะทำให้เกิดจุดสนใจขึ้นในผลงานได้ แต่ทั้งนี้ต้อง
พิจารณาลักษณะความแตกต่างที่นำมาใช้ด้วยว่า ก่อให้เกิดความขัดแย้งกันในส่วนรวม
และทำให้เนื้อหาของงานเปลี่ยนไปหรือไม่ โดยต้องคำนึงว่า แม้มีความขัดแย้ง แตก
ต่างกันในบางส่วน และในส่วนรวมยังมีความกลมกลืนเป็นเอกภาพเดียวกัน

2. การเน้นด้วยการด้วยการอยู่โดดเดี่ยว (Emphasis by Isolation)
เมื่อสิ่งหนึ่งถูกแยกออกไปจากส่วนอื่น ๆ ของภาพ หรือกลุ่มของมัน สิ่งนั้นก็จะเป็นจุดสนใจ
เพราะเมื่อ แยกออกไปแล้วก็จะเกิดความสำคัญขึ้นมา ซึ่งเป็นผลจากความแตกต่าง ที่ไม่ใช่แตก
ต่างด้วยรูปลักษณะ แต่เป็นเรื่องของตำแหน่งที่จัดวาง ซึ่งในกรณีนี้ รูปลักษณะนั้นไม่
จำเป็นต้องแตกต่างจากรูปอื่น แต่ตำแหน่งของมันได้ดึงสายตาออกไป จึงกลายเป็น
จุดสนใจขึ้นมา

3. การเน้นด้วยการจัดวางตำแหน่ง (Emphasis by Placement)
เมื่อองค์ประกอบอื่น ๆ ชี้นำมายังจุดใด ๆ จุดนั้นก็จะเป็นจุดสนใจที่ถูกเน้นขึ้นมา
และการจัดวางตำแหน่งที่เหมาะสม ก็สามารถทำให้จุดนั้นเป็นจุดสำคัญขึ้นมาได้เช่นกัน

พึงเข้าใจว่า การเน้น ไม่จำเป็นจะต้องชี้แนะให้เห็นเด่นชัดจนเกินไป สิ่งที่จะต้อง
ระลึกถึงอยู่เสมอ คือ เมื่อจัดวางจุดสนใจแล้ว จะต้องพยายามหลีกเลี่ยงไม่ให้สิ่งอื่นมา
ดึงความสนใจออกไป จนทำให้เกิดความสับสน การเน้น สามารถกระทำได้ด้วยองค์
ประกอบต่าง ๆ ของศิลปะ ไม่ว่าจะเป็น เส้น สี แสง-เงา รูปร่าง รูปทรง หรือ พื้นผิว
ทั้งนี้ขึ้นอยู่ความต้องการในการนำเสนอของศิลปินผู้สร้างสรรค์

เส้นในข้อใดให้ความรู้สึกมั่นคง แข็งแรง สง่า

เส้นตรง ให้ความรู้สึก แข็งแรง เข้มแข็ง ความราบเรียบ ความสง่า หนักแน่น  เส้นโค้ง ให้ความรู้สึก นุ่มนวล อ่อนหวาน เลื่อนไหล ต่อเนื่อง เคลื่อนไหว

เส้นที่ให้ความรู้สึก กว้างขวาง เงียบสงบ นิ่ง ราบเรียบ คือเส้นชนิดใด

เส้นนอน ให้ความรู้สึกกว้างขวาง เงียบสงบ นิ่ง ราบเรียบ ผ่อนคลายสายตา เส้นโค้งก้นหอย ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว การคลี่คลาย ขยายตัว มึนงง

เส้นในข้อใดให้ความรู้สึกไม่มั่นคง ไหวเอน *

(3) เส้นเฉียง (Diagonal Line) คือ เส้นตรงที่ลากในแนวเฉียง เส้น เฉียงให้ความรู้สึกไม่มั่นคง ไม่แน่นอน เคลื่อนไหวรวดเร็ว เส้นกับความรู้สึก ภาพตึกเอน ดูแล้วมีความรู้สึกไม่มั่นคง

เส้นชนิดใดให้ความรู้สึกอ่อนช้อย

-เส้นโค้งปกติ (Curve Line) เส้นโค้งให้ความรู้สึกอ่อนโยน สวยงาม ลวดลายที่มีเส้นโค้งปรากฏอยู่ทำให้เกิดความรู้สึกอ่อนหวานงดงาม เช่น เส้นโค้งในลายดอกบัว ลายกนก นอกจากนี้ เมื่อนำมาประกอบกับเส้นตรงแนวตั้งจะก่อให้เกิดความรู้สึกสง่างามอ่อนช้อยมากกว่าเส้นตรงเพียงอย่างเดียว