ข้อ ใด เป็น ประโยชน์ โดย อ้อม ของการ ซ่อมแซม และ ดัดแปลงเสื้อผ้า เครื่อง นุ่งห่ม

ข้อ ใด เป็น ประโยชน์ โดย อ้อม ของการ ซ่อมแซม และ ดัดแปลงเสื้อผ้า เครื่อง นุ่งห่ม

หลักการซ่อมแซมและดัดแปลงเสื้อผ้า

ข้อ ใด เป็น ประโยชน์ โดย อ้อม ของการ ซ่อมแซม และ ดัดแปลงเสื้อผ้า เครื่อง นุ่งห่ม

ที่มา : http://www.b2s.co.th/products_detail.php?proid=23099

1. เลือกใช้วิธีการซ่อมแซมให้เหมาะสม เช่น ผ้าขาดเป็นรูเล็ก ๆ ก็ใช้วิธีการชุน ถ้ารอยขาดกว้าง ไม่สามารถชุนได้ก็ใช้วิธีการปะ เป็นต้น
2. ออกแบบให้เหมาะสมกับวัยของผู้ใช้ เช่น เสื้อผ้าของผู้ใหญ่ที่คอปกขาดจะดัดแปลงเป็นเสื้อ-คอกลมให้เด็กใส่ ก็อาจประดับผ้าลูกไม้ เป็นจีบระบายรอบคอ หรือทำโบติดที่คอเสื้อ จะช่วยให้แลดูเหมาะสมกับวัยเด็กมากขึ้น
3. เลือกใช้วัดสุอุปกรณ์ตกแต่งให้เหมาะสมกับเนื้อผ้า ก่อนซ่อมแซม หรือดัดแปลงเสื้อผ้าควรเลือกหาวัสดุหรืออุปกรณ์ที่จำเป็นต้องใช้ให้เหมาะสมกับเสื้อผ้าที่ชำรุด เพื่อให้ส่วนที่ซ่อมแซมหรือดัดแปลงขึ้น-ใหม่มีสภาพกลมกลืนกันเสื้อผ้าตัวเดิมมากที่สุด เช่น เลือกกระดุม สี และแบบเดียวกับเม็ดเดิมที่หลุดหายไป ใช้ด้ายสีเดียวกันกับผ้าที่จะซ่อม ใช้เศษผ้าที่มีเส้นใยชนิดเดียวกันมาปะกับรอยผ้าที่ขาด เป็นต้น
4. เตรียมเครื่องมือให้พร้อม เครื่องมือที่ใช้ในการซ่อมแซมและดัดแปลงเสื้อผ้า เช่น เข็ม ด้าย จักร กรรไกร ควรเตรียมให้พร้อม ตรวจดูให้อยู่ในสภาพดี ใช้งานได้ นำไปจัดวางใกล้บริเวณที่จะปฏิบัติงาน เพื่อให้หยิบใช้ได้สะดวก และช่วยให้การทำงานรวดเร็วขึ้น
5. คำนึงถึงความคุ้มค่า สิ่งสำคัญที่ควรจะนำมาพิจารณาก่อนที่จะซ่อมแซมหรือดัดแปลงเสื้อผ้า คือ ประโยชน์ที่จะได้รับจากการซ่อมแซมดัดแปลงเสื้อผ้าชิ้นนั้น ๆ คุ้มค่ากับเวลา เงิน แรงงาน ที่ต้องเสียไปหรือไม่ ถ้านำเสื้อผ้าที่ซ่อมแล้วไปใส่เพียงครั้งเดียวแล้วเลิกใช้ ก็ไม่คุ้มค่า แต่ถ้านำไปใส่อีกนานนับปีถือว่าเป็นการคุ้มค่า นอกจากนี้ยังควรนำสิ่งตกแต่งเสื้อผ้าที่มีอยู่แล้วมาใช้ ไม่ควรซื้อสิ่งใหม่ที่มีราคาแพง ก็จะช่วยประหยัดได้อีกทางหนึ่ง

ข้อ ใด เป็น ประโยชน์ โดย อ้อม ของการ ซ่อมแซม และ ดัดแปลงเสื้อผ้า เครื่อง นุ่งห่ม

ที่มา : http://www.learners.in.th/blogs/posts/521780

เครื่องมือในการซ่อมแซมและดัดแปลงเสื้อผ้า
        การซ่อมแซมและดัดแปลงเสื้อผ้า ต้องใช้เครื่องมือเช่นเดียวกับงานฝีมืออื่น ๆ ทั้งนี้ เพื่อช่วยให้ผลงานประณีต ประหยัดเวลา และทำงานได้อย่างสะดวกรวดเร็ว เครื่องมือในการซ่อมแซม และดัดแปลงเสื้อผ้า แบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ ดังนี้

กรรไกรตัดผ้า
-ลักษณะ
กรรไกรตัดผ้า ยาวประมาณ 7-8 นิ้ว มีความคมตั้งแต่โคนถึงปลาย
-วิธีใช้ ใช้สำหรับตัดผ้าโดยเฉพาะ ไม่ควรนำไปใช้ตัดกระดาษ และควรระมัดระวังอย่าให้ตกจากที่สูงจะทำให้เสียความคม
- การดูแลรักษา เช็ดทำความสะอาด ทาน้ำมัน เก็บใส่ซองกรรไกร แล้วนำไปรวมไว้ในกล่องเครื่องมือ

เข็มจักร เข็มมือ และเข็มหมุด
-ลักษณะ
เข็มที่ใช้ในการเย็บมี 3 ชนิด คือ เข็มจักร เข็มมือ และเข็มหมุด มีหลายขนาด(เบอร์) ควรเลือกใช้ให้เหมาะสมกับเส้นใยผ้า และลักษณะของงาน
-วิธีใช้ เข็มจักร ใช้สำหรับใส่จักรเย็บเท่านั้น

เข็มมือ ใช้เย็บผ้า หรือสอยผ้าด้วยมือ
เข็มหมุด ใช้สำหรับตรึงผ้า แสดงแนวการเย็บ
- การดูแลรักษา เมื่อเลิกใช้แล้ว ควรเช็ดด้วยน้ำมันวาสลิน ปักไว้บนหมอนปักเข็ม หรือห่อด้วยกระดาษตะกั่วแล้วเก็บใส่กล่อง

สายวัด
-ลักษณะ
ลักษณะเป็นแผ่นผ้าแคบ ยาว โดยปกติจะมีความยาว 150 เซนติเมตร หรือประมาณ 60 นิ้ว มีมาตราวัดเป็นนิ้ว และ เซนติเมตร แบ่งย่อยไว้อย่างชัดเจน
-วิธีใช้ ใช้สำหรับวัดตัว วัดความยาวของผ้าที่ตัด
- การดูแลรักษา ม้วนเก็บใส่กล่อง

ชอล์กเขียนผ้า
-ลักษณะ
เป็นแผ่นแบนรูปสามเหลี่ยม สันบาง มีหลากสี
-วิธีใช้ ใช้เขียนลงบนผ้าให้เกิดรอยจุดหรือเส้น เพื่อใช้กำหนดตำแหน่งที่ต้องการ เช่น ตำแหน่งกระดุม แนวพับปลายขากางเกง ขณะใช้ ระวังอย่าให้ตกหล่น เพราะจะทำให้หัก
- การดูแลรักษา เก็บใส่ซองกระดาษ แล้วใส่กล่อง

ที่เลาะผ้า
-ลักษณะ
เป็นเหล็กปลายแหลมงอหยักเป็น 2 แฉก มีด้ามทำด้วยพลาสติก
-วิธีใช้ ใช้เลาะด้านเนาหรือเลาะผ้าที่เย็บแล้วแต่ต้องการแก้ไข จะช่วยให้เลาะได้ง่าย รวดเร็ว ผ้าไม่ขาด และทำได้สะดวก
- การดูแลรักษา ใช้แล้วเช็ดด้วยผ้าแห้งให้สะอาด เก็บใส่กล่อง

ลูกกลิ้ง
-ลักษณะ
เป็นเหล็กแผ่นกลม บาง แต่แข็งแรง มีฟันเฟืองเป็นซี่หยักถี่ ๆ มีด้ามยาวประมาณ 4.5 นิ้ว
-วิธีใช้ ใช้กลิ้งบนผ้า หรือบนกระดาษเพื่อสร้างแบบ
- การดูแลรักษา เช็ดให้สะอาด ทาด้วยน้ำมันแล้วเก็บใส่กล่อง

กระดาษกดรอย หรือกระดาษคาร์บอน
-ลักษณะ
เป็นกระดาษที่อาบด้วยไขผสมสี มีทั้งสีอ่อน สีแก่ และสีขาวที่ใช้ได้กับผ้าทุกสี
-วิธีใช้ ใช้รองใต้ผ้าก่อนกดลูกกลิ้ง เพื่อให้เกิดเส้นแนวสำหรับเย็บชัดเจน
- การดูแลรักษา เก็บไว้ในซองกระดาษสำหรับแผ่นที่ใช้หลายครั้งไขจะหลุดออกหมด ควรนำไปทิ้ง

ด้าย
-ลักษณะ
เป็นเส้นใยสังเคราะห์ ยาว พันอยู่กับหลอดด้าย แบ่งเป็นด้ายเย็บจักร และด้ายใช้เย็บด้วยมือ มีหลายสี หลายขนาด
-วิธีใช้ ใช้ร้อยกับเข็มสำหรับเย็บผ้า
- การดูแลรักษา ใช้เสร็จแล้วตัดปลายออกพันไว้กับหลอด โดยดึงปลายเหน็บลงในร่องที่หลอดด้าย

จักร
-ลักษณะ
จักรเย็บผ้ามีส่วนประกอบสำคัญ คือ ตัวจักร และหัวจักร มี 2 แบบ คือ จักร-ธรรมดา และแบบใช้มอเตอร์

1. แบบธรรมดา ใช้เท้าถีบที่แผงเหล็กวางเท้าแล้วหมุนวงล้อที่ส่วนหัวจักร เพื่อให้เครื่องทำงาน
2. แบบใช้มอเตอร์ มีส่วนประกอบเหมือนแบบธรรมดา แต่เพิ่มมอเตอร์ติดเข้ากับหัวจักรด้านหน้า แล้วเปลี่ยนสายพานเป็นสายสั้น มีที่เหยียบกดมอเตอร์ให้เครื่องจักรทำงานแยกต่างหากวางไว้กับพื้น
      -วิธีใช้ หมุนวงล้อที่ส่วนหัวจักร หรือเหยียบที่กดมอเตอร์เพื่อให้เครื่องจักรทำงาน ใช้เย็บผ้าหรือซ่อมแซมดัดแปลงเสื้อผ้า ซึ่งสามารถทำงานได้เร็วกว่าใช้มือ
      - การดูแลรักษา หลังการเย็บผ้าแล้วควรทำความสะอาดจักร โดยใช้แปรงปัดฝุ่นที่ฟันจักรออก หยอดน้ำมันตามรูที่ส่วนหัวจักร ใช้จาระบีทาทุกส่วนที่เป็นโลหะ เพื่อป้องกันสนิม ปิดจักรแล้วคลุมด้วยผ้า สำหรับจักรที่ใช้มอเตอร์ ก่อนทำความสะอาดควรปิดสวิตช์มอเตอร์ก่อนทุกครั้ง

ข้อ ใด เป็น ประโยชน์ โดย อ้อม ของการ ซ่อมแซม และ ดัดแปลงเสื้อผ้า เครื่อง นุ่งห่ม

ข้อใดคือประโยชน์ของการซ่อมแซมและดัดแปลงเสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่ม

๑. ช่วยประหยัดรายจ่าย การซ่อมแซมดัดแปลงเสื้อผ้าไว้ใช้จะช่วยประหยัดรายจ่ายในส่วนของ เครื่องนุ่งห่ม ซึ่งไม่ต้องหาซื้อเสื้อผ้าเพิ่มเติมทดแทนตัวเดิมที่ชารุด ๒. ช่วยยืดระยะเวลาการใช้งานของเสื้อผ้า การซ่อมแซมส่วนที่ชารุด หรือดัดแปลงเสื้อผ้าแบบเดิมที่ ล้าสมัยให้เป็นแบบใหม่แล้วนำกลับมาสวมใส่จะทำให้สามารถใช้เสื้อผ้าชุดนั้นๆ ต่อ ...

ข้อใดคือประโยชน์ของการซ่อมแซมเสื้อผ้า

1. ประหยัดรายจ่ายและทรัพยากรของตนเองและครอบครัว 2. ยืดอายุการใช้เสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย 3. ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 4. ส่งเสริมความมีน้าใจและช่วยเหลือซึ่งกันระหว่างสมาชิกในครอบครัว 5. เกิดความภาคภูมิใจร่วมกัน 6. สร้างเสริมความอดทนความมีระเบียบวินัยในการทางานให้กับสมาชิกในครอบครัว

การดัดแปลงเสื้อผ้ามีประโยชน์อย่างไรบ้าง

ประโยชน์ของการดัดแปลงตกแต่งเสื้อผ้า ๑. นำเสื้อผ้าที่ใส่ไม่ได้แล้วมาดัดแปลงให้สวมใส่ได้อีกครั้ง ๒. ปรับเปลี่ยนแบบเสื้อผ้าให้ดูสวยงาม แปลกตา ทันสมัยขึ้น ๓. ลดค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อเสื้อผ้าใหม่ ๔. ใช้เสื้อผ้าได้อย่างคุ้มค่า ช่วยลดการผลิตเสื้อผ้า

ประโยชน์ของการเย็บผ้าคืออะไร

2. ช่วยยืดระยะเวลาการใช้งานของเสื้อผ้า การซ่อมแซมส่วนที่ชำรุด หรือดัดแปลงเสื้อผ้าแบบเดิมที่ล้าสมัยให้เป็นแบบใหม่แล้วนำกลับมาสวมใส่จะทำให้สามารถใช้เสื้อผ้าชุดนั้น ๆ ต่อไปได้อีกนาน ซึ่งนับเป็นการใชเงานที่คุ้มค่า 3. ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์