ข้อ ใด ไม่ใช่ องค์ประกอบ ของ โปร เซ ส

29. จากภาพแสดงระยะห่างระหว่างเมือง A B C D และถนนที่เชื่อมระหว่างเมืองต่าง ๆ ถ้าหากต้องการเดินทางจากเมือง A ไปเมือง D ควรจะเลือกเส้นทางใดเพื่อเสียแรงในการเดินทางน้อยที่สุด

        

ข้อ ใด ไม่ใช่ องค์ประกอบ ของ โปร เซ ส

1. A B D 2. A C B D 3. A B C D 4. A C D 30. หากทำการแก้ปัญหาโดยใช้แนวคิดเชิงคำนวณจะเกิดผลดีอย่างไร 1. ใช้เวลาในการแก้ปัญหาน้อย 2. แก้ปัญหาได้ไม่ตรงประเด็น 3. ใช้แรงมากเกิดความจำเป็น 4. อาจจะมีบางประเด็นที่มองข้ามไป 31. ข้อใดไม่ใช่ข้อมูลแบบมาตรฐาน 1. เลขจำนวนเต็มบวก 2. ค่าตรรกะ 3. เลขจำนวนทศนิยมบวก 4. ข้อมูลนามธรรม 32. อัลกอริทึมคืออะไร 1. คือลักษณะข้อมูลแบบพอยน์เตอร์ 2. คือกระบวนการทำงานของคอมพิวเตอร์ 3. คือขั้นตอนการทำงานและการแก้ปัญหาอย่างมีขั้นตอน 4. คือการสร้างฐานข้อมูลเพื่อการใช้งานเฉพาะด้านใดด้านหนึ่ง 33. อัลกอริทึมแบบแตกย่อยคืออะไร 1. การทำงานอย่างมีทางเลือก 2. การนำปัญหาต่างๆ มาแตกย่อย 3. การแบ่งของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 4. ไม่มีข้อใดถูก 34. เหตุผลที่ต้องใช้ผังงานในโครงสร้างข้อมูลเพื่ออะไร 1. ผังงานบ่งบอกถึงการทำงานในโครงสร้างชัดเจน 2. ผังงานช่วยให้ผู้เขียนโปรแกรมเขียนง่ายขึ้น 3. ผังงานสามารถหาผลลัพธ์ออกมาได้ว่าคืออะไร 4. ถูกทุกข้อ 35.ขั้นตอนใดของการจัดทำอัลกอริทึม ที่ต้องทราบถึงสิ่งที่โจทย์ต้องการ 1. Analysis 2. Design 3. Coding/Programming 4. Testing and Debugging 36. ข้อใดกล่าวถึงขั้นตอน Coding/Programming ได้ถูกต้อง 1. เป็นการนำผลที่ได้จากการออกแบบ มาเขียนคำสั่งของโปรแกรมเพื่อนำไปประมวลข้อมูลและได้ผลลัพธ์ของโปรแกรมต่อไป 2. เป็นการออกแบบคำสั่งโปรแกรมเพื่อการเขียนผังงานโปรแกรมที่ถูกต้อง 3. เป็นการออกแบบโปรแกรมอย่างเป็นขั้นตอนและมีเหตุมีผล โดยการเขียนเป็นประโยคภาษาอังกฤษอย่างง่าย อธิบายการประมวลผลในแต่ละขั้นตอน 4. เป็นการตรวจสอบว่าผังงานโปรแกรมที่เขียนมานั้นข้อผิดพลาดของโปรแกรมหรือไม่เพื่อทำการแก้ไขต่อไป 37. ข้อใดไม่ใช่ส่วนประกอบของเอกสารอธิบายโปรแกรม 1. คำบรรยายลักษณะโปรแกรม 2. คำอธิบายพร้อมผังงานหรือรหัสเทียม 3. ขั้นตอนการเขียนคำสั่งโปรแกรม 4. ผลการทดสอบโปรแกรม 38. โครงสร้างโปรแกรมแบบใดที่มีลักษณะการทำงานแบบซ้ำซ้อน 1. โครงสร้างแบบคำสั่งตามลำดับ 2. โครงสร้างโปรแกรมแบบมีการตัดสินใจ 3. โครงสร้างโปรแกรมแบบวงจรปิด 4. โครงสร้างโปรแกรมแบบวงจรเปิด 39. ขั้นตอนใดของการจัดทำอัลกอริทึมที่ต้องมีการเขียนผังงานโปรแกรม 1. Analysis 2. Design 3. Coding/Programming 4. Testing and Debugging 40. ข้อใดเป็นข้อมูลมาตรฐานแบบ  Character 1. AA  2. ก 3. “ก” 4. ถูกทุกข้อ
     ขณะคอมพิวเตอร์ทำงานต้องการสร้าง และลบ process ตลอดเวลา จึงต้องมีการควบคุมให้ระบบคงสภาพอยู่ตลอดเวลา โปรเซสแม่ (Parent process) และโปรเซสลูก (Children process) ต้องถูกสร้าง และหยุดทำงานได้อย่างสอดคล้อง เพื่อให้เข้าใจเรื่องของ process จึงขอแสดง tree of process on a typical UNIX system ประกอบการอธิบาย
    ในหนึ่งสองกรณีที่เหตุการณ์ของกระบวนการที่จะทำการสลับจากสถานการณ์รอไปสู่สถานะพร้อมและมันจะถูกนำไปใส่ใน ready queueกระบวนการจะทำงานต่อเนื่องไปเป็นวงจรจนกระทั่งสิ้นสุดการทำงานและเมื่อเราลบออกจากคิวทั้งหมดแล้วPCB และทรัพยากรจะถูกนำกลับคืนมา

         ส่วนประกอบของโปรเซสแต่ละโปรเซส จะมีส่วนประกอบต่างๆ ดังนี้

1.            ชื่อและหมายเลขประจำตัว(Process ID) เป็นชื่อหรือหมายเลขโปรเซส ซึ่งจะไม่มีซ้ำกัน

2.            คำสั่งโปรแกรม(Program Coding) เป็นคำสั่งที่สามารถรันได้ทันที (ภาษาเครื่อง)

3.            ข้อมูล (Data) คือ ข้อมูลที่โปรแกรมต้องการหรือนำไปใช้ประกอบการทำงานซึ่งข้อมูลนี้อาจจะเป็นข้อมูลของโปรเซสอื่นๆ ที่อาจใช้งานร่วมกันได

4.            บล็อกควบคุม (Process Control Block:PCB) PCB เป็นโครงสร้างข้อมูลชนิดหนึ่งที่โอเอสสร้างขึ้นในหน่วยความจำเพื่อไว้เก็บข้อมูลสำคัญของโปรเซสต่างๆ ไว้ เช่น

           -         หมายเลขประจำตัวโปรเซส(Process Identification Number:Process ID)

         -         สถานะของโปรเซส(Process State)

         -         ลำดับความสำคัญของโปรเซส (Process Piority)

           -         พอยน์เตอร์ชี้ไปยังตำแหน่งที่อยู่ของโปรเซสในหน่วยความจำ(Location of Process)

           -         พอยน์เตอร์ชี้ไปยังทรัพยากรต่างๆ ที่โปรเซสครอบครอง(Current Resource and Limits)

         -         พื้นที่ที่เก็บค่าของรีจิสเตอร์ (Resgister save area)

         -         ช่วงเวลาสูงสุด, เวลาสะสมในการทำงานโปรเซส (Maximum run time and accumulated run time)

5.            PSW (Program Status Words)

เป็นตัวควบคุมลำดับการรันคำสั่งของแต่ละโปรเซส ซึ่งประกอบด้วย

โปรเซสแต่ละโปรเซสจะถูกกำหนดความสำคัญในขณะที่โปรเซสถูกสร้างขึ้น ความสำคัญของโปรเซสนี้อาจเปลี่ยนแปลงได้หรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับตัวโอเอส แต่โอเอสจะให้สิทธิเศษกับโปรเซสที่มีความสำคัญสูง เช่น อาจให้ระยะเวลาในการครอบครองซีพียูที่ยาวนานกว่าโปรเซสอื่นๆ ทั่วไป  หรือจะโปรเซสงานที่มีลำดับความสำคัญสูงเป็นอันดับแรกก่อน เป็นต้น

เป็นรายละเอียดที่บอกถึงโปรเซสนั้นๆ ว่าสามารถทำอะไรได้บ้าง ใช้อุปกรณ์ชิ้นไหนได้บ้าง ตัวอย่างเช่น โปรเซส A สามารถรับข้อมูลจากทุกๆ โปรเซสในระบบได้ แต่ไม่สามารถใช้งานดิสก์ได้ เป็นต้น