ข้อใด ไม่ใช่ องค์ประกอบ ของการสื่อสาร ข้อมูล

ͧ���Сͺ�ͧ���������â�����

      ���������â�������ͧ���Сͺ 5 ���ҧ (�ѧ�ٻ) ����

ข้อใด ไม่ใช่ องค์ประกอบ ของการสื่อสาร ข้อมูล

      1. ����� (Sender) ���ػ�ó�����㹡���觢������ (Message) �繵鹷ҧ�ͧ���������â�������˹�ҷ����������ҧ������ �� ���ٴ �÷�ȹ� ���ͧ�Դ��� �繵�
      2. ����Ѻ (Receiver) �繻��·ҧ���������� ��˹�ҷ���Ѻ�����ŷ��������� �� ���ѧ ����ͧ�Ѻ�÷�ȹ� ����ͧ����� �繵�
      3. ���͡�ҧ (Medium) ���͵�ǡ�ҧ ����鹷ҧ�������������͹Ӣ����Ũҡ�鹷ҧ��ѧ���·ҧ �����觢������Ҩ����¤��Դ����� �����͡���� �������ǹ��ʧ ���ͤ��蹷���觼�ҹ�ҧ�ҡ�� �� ������ ���������ǿ �����Է���Ҥ��鹴Թ ���ͤ����Է�ؼ�ҹ�������
      4. �����Ţ������ (Message) ����ѭ�ҳ����硷�͹ԡ�����觼�ҹ���к�������� ����Ҩ�١���¡��� ���ʹ�� (Information) ������ 5�ٻẺ �ѧ���
         4.1 ��ͤ��� (Text) ��᷹����ѡ��е�ҧ � ��觨�᷹�������ʵ�ҧ � �� ������ʡ� �繵�
         4.2 ����Ţ (Number) ��᷹����Ţ��ҧ � ��觵���Ţ�����١᷹����������ʡ���ж١�ŧ���Ţ�ҹ�ͧ�µç
         4.3 �ٻ�Ҿ (Images) �����Ţͧ�ٻ�Ҿ��᷹���¨ش�����§�ѹ仵����Ҵ�ͧ�ٻ�Ҿ
         4.4 ���§ (Audio) ���������§��ᵡ��ҧ�ҡ��ͤ��� ����Ţ ����ٻ�Ҿ���Т��������§�����ѭ�ҳ������ͧ�ѹ�
         4.5 �Դ��� (Video) ���ʴ��Ҿ����͹��� ����Դ�ҡ�������ѹ�ͧ�ٻ�Ҿ���� � �ٻ
      5. ��ⵤ�� (Protocol) ��� �Ըա�����͡�����º�����㹡��������â���������������Ѻ��м��������ö���㨡ѹ���ͤ�¡ѹ�������ͧ �·���ͧ��觷�駼���Ѻ��м�����鵡ŧ�ѹ����͹��ǧ˹������ 㹤�����������ⵤ���������ǹ�ͧ�Ϳ����������˹�ҷ�������ô��Թ�ҹ 㹡��������â�������仵�����������˹���� ������ҧ�� X.25, SDLC, HDLC, ��� TCP/IP �繵�
            ในกระบวนการสื่อสาร ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารประเภทใดหรือระดับใดก็ตาม นอกจากองค์ประกอบการสื่อสารทั้ง 4 ประการที่กล่าวข้างต้นแล้ว ก็น่าจะมีองค์ประกอบเพิ่มเติมอีก 2 ประการ ที่จะทำให้กระบวนการติดต่อสื่อสารมีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้นองค์ประกอบทั้ง 2 ประการนี้ ก็คือ ปฏิกิริยาตอบกลับหรือปฏิกิริยาสะท้อนกลับ (feedback) และกรอบแห่งการอ้างอิง (Frame of reference) หรือสนามแห่งประสบการณ์ร่วม (Field of experience) ระหว่างผู้ส่งสารกับผู้รับสารในกระบวนการสื่อสารนั้น ๆ ด้วย

องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูล มีอยู่ 5 อย่าง ได้แก่

1. ผู้ส่ง (Sender)  ผู้ส่ง (Sender) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการส่งข่าวสาร (Message) เป็นต้นทางของการสื่อสารข้อมูลมีหน้าที่เตรียมสร้างข้อมูล เช่น ผู้พูด โทรทัศน์ กล้องวิดีโอ เป็นต้น 

         ผู้รับ (Receiver) เป็นปลายทางการสื่อสาร มีหน้าที่รับข้อมูลที่ส่งมาให้ เช่น 

ผู้ฟังเครื่องรับโทรทัศน์ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น

         สื่อกลาง (Medium) หรือตัวกลาง เป็นเส้นทางการสื่อสารเพื่อนำข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง สื่อส่งข้อมูลอาจเป็นสายคู่บิดเกลียว สายโคแอกเชียล สายใยแก้วนำแสง หรือ

คลื่นที่ส่งผ่านทางอากาศ เช่น เลเซอร์ คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุภาคพื้นดิน หรือคลื่นวิทยุผ่านดาวเทียม

 4. ข้อมูลข่าวสาร (Message) 

       ข้อมูลข่าวสาร (Message) คือสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผ่านไปในระบบสื่อสาร ซึ่งอาจถูกเรียกว่า สารสนเทศ (Information) โดยแบ่งเป็น 5รูปแบบ ดังนี้

       โปรโตคอล (Protocol) คือ วิธีการหรือกฎระเบียบที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลเพื่อให้ผู้รับและผู้ส่งสามารถเข้าใจกันหรือคุยกันรู้เรื่อง โดยทั้งสองฝั่งทั้งผู้รับและผู้ส่งได้ตกลงกันไว้ก่อนล่วงหน้าแล้ว ในคอมพิวเตอร์โปรโตคอลอยู่ในส่วนของซอฟต์แวร์ที่มีหน้าที่ทำให้การดำเนินงาน ในการสื่อสารข้อมูลเป็นไปตามโปรแกรมที่กำหนดไว้ ตัวอย่างเช่น TCP/IP เป็นต้น

ตัวอย่างของการสื่อสารข้อมูล

        "เอได้โทรไปคุยกับบีที่ประเทศจีน เรื่องที่บีจะมาถ่ายทำภาพยนต์ในประเทศไทยสัปดาห์หน้า" 

การคุยโทรศัพท์ระหว่างเอและบี เป็นตัวอย่างหนึ่งของการสื่อสาร ซึ่งมี

        สื่อกลาง คือ สัญญานโทรศัพท์

        ข้อมูล คือ ข้อมูลข่าวสารที่ทั้งสองได้คุยกันเรื่องที่บีจะมาถ่ายภาพยนต์ในสัปดาห์หน้า

        โปรโตคอล คือ ภาษา เพราะทั้งสองคนอาจจะไม่สามารถสื่อสารถึงกันเข้าใจได้ เนื่องจากพูดกันคนละภาษาโพรโทคอลจึงเปรียบเสมือนการบังคับให้ทั้งสองคนนั้นใช้ภาษากลาง ซึ่งอาจจะเป็นภาษาอะไรก็ได้ที่ทั้งสองคน เข้าใจได้ ดังนั้นคนทั้งสองคนนี้จึงจะสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ 

ทิศทางการส่งข้อมูล(Transmission Mode)

        ทิศทางการสื่อสาร แบ่งการสื่อสารข้อมูลตามทิศทางการส่งข้อมูล (Transmission Mode) ได้ 3 รูปแบบ ดังนี้

1.การสื่อสารข้อมูลทิศทางเดียว (Simplex Transmission) เป็นการสื่อสารข้อมูลที่มีผู้ส่งข้อมูลทำหน้าที่ส่งแต่เพียงผู้เดียว และผู้รับทำหน้าที่ รับข้อมูลแต่เพียงอย่างเดียว เช่น การส่งอีเมล การใช้บริการรับฝากข้อความ ข้อดีคือ ไม่มีข้อจำกัดทางด้านเวลา แต่ผลเสียคือผู้รับข้อมูลอาจ ไม่ได้รับข้อมูลที่ส่งไป และผู้ส่งข้อมูลจะไม่ทราบว่าผู้รับได้รับหรือไม่ ตัวอย่างการสื่อสารข้อมูลทิศทางเดียว เช่น การฟังวิทยุ การดูโทรทัศน์ และการฟังเสียงประกาศ

2.การสื่อสารข้อมูลสองทิศทางสลับกัน (Half-Duplex Transmission) เป็นการสื่อสารข้อมูลที่ผู้สื่อสารจะผลัดกันเป็นผู้รับและผู้ส่งข้อมูล โดยในขณะที่มีการสื่อสารข้อมูล ผู้รับข้อมูลจะต้องรอให้ผู้ส่งส่งข้อมูลเสร็จสิ้นก่อนจึงจะสามารถส่งข้อมูลได้ การสื่อสารข้อมูลประเภทนี้ นิยมใช้ในเฉพาะกลุ่ม ได้แก่วิทยุสื่อสาร (Radio Communication)

3.การสื่อสารข้อมูลสองทิศทางพร้อมกัน (Full-Duplex Transmission) ผู้สื่อสารสามารถส่งข้อมูลโต้ตอบกันได้ทันทีโดยไม่ต้องรอให้ผู้ส่งข้อมูล เสร็จก่อน ตัวอย่างการสื่อสารข้อมูลสองทิศทางพร้อมกัน เช่น การคุยโทรศัพท์ การแชท

ข้อใด ไม่ใช่ องค์ประกอบ ของการสื่อสาร ข้อมูล
 
ข้อใด ไม่ใช่ องค์ประกอบ ของการสื่อสาร ข้อมูล
 

            ชนิดของสัญญาณ

ข้อใด ไม่ใช่ องค์ประกอบ ของการสื่อสาร ข้อมูล

สัญญาณข้อมูล(Data Signal) แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้

        1.สัญญาณแอนะล็อก (Analog Signal) มีลักษณะเป็นสัญญาณต่อเนื่องในรูปแบบคลื่น สามารถแทนลักษณะของสัญญาณได้ด้วยรูปกราฟคลื่นไซน์ (Sine Wave) ตัวอย่างของสัญญาณแอนะล็อก เช่น สัญญาณเสียงในสายโทรศัพท์และสัญญาณเสียงจากสถานีวิทยุ

        2.สัญญาณดิจิทัล (Digital Signal) มีลักษณะเป็นสัญญาณไม่ต่อเนื่องในรูปแบบกราฟสี่เหลี่ยม (Square Graph) มีคุณภาพและแม่นยำกว่า สัญญาณแอนะล็อก 


                การถ่ายโอนข้อมูล

เป็นการส่งสัญญาณออกจากเครื่องและรับสัญญาณเข้าไปในเครื่อง การถ่ายโอนข้อมูลสามารถจัดจำแนกได้ 2 แบบ คือ การถ่ายโอนข้อมูลแบบขนานและการถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรม