ข้อใดคือความปลอดภัยในการทำงานช่าง

1. ไม่ควรนำเครื่องมือช่าง ใส่ไว้ในกระเป๋าเสื้อหรือกระเป๋ากางเกงขณะปฏิบัติงานนั้นๆ เพราะปลายแหลมคมอาจทำอันตรายทั้งต่อตนเองและผู้อื่นได้

Show

2. ไม่หยอกล้อกันในขณะปฏิบัติงาน เพราะอาจทำให้ได้รับอันตรายจากเครื่องมือช่าง

3. ไม่นำเครื่องมือช่าง ที่ชำรุดมาใช้งาน เพราะเครื่องมือช่าง ที่ช้ารุดจะทำให้เกิดอุบัติเหตุทั้งต่อตนเองและผู้อื่นได้

4. เครื่องมือช่าง จะตัองมีอุปกรณ์ป้องกันอันตราย ให้ครบ ได้แก่ กระจกปัองกันประกายไฟ และน้ำหล่อเย็น ผู้ปฏิบัติงานจะตัองสามแว่นตา นิรภัยเพือป้องกันอันตราย

5. ควรทำการแต่งหน้าหินด้วยยอุปกรณ์การแต่งหน้าล้อหินเจียระไน หากเห็ ว่าด้านหน้าของล้อหินไม่เรียบ

6. ต้องแต่งกายให้เหมาะสม และรัดกุมในขณะปฏิบัติงาน อาจเกิดอันตรายจากเครื่องจักรหรือ เครื่องมือช่างหมุนดึงเข้า เครื่องได้เพราะการแต่งกายรุมร่าม

7. อย่าใช้มือจับชิ้นงานเจาะรูเพราะจะทำให้เกิดอันตรายจากแรงบิดของเครื่องเจาะต้องจับด้วยปากกาจับเจาะ

8. การใช้งานล้อหินเจียระไนที่แท่นรองรับงานและหน้าล้อหินเจียระไนต้องไม่ห่างมาก เพราะอาจทำให้เกิดอันตรายขึ้นได้ โดยระยะห่างระหว่างแท่นรองรับงานกับหน้าลัอเจียระไนตองไม่เกิน 3 มิลลิเมตร

9. ไม่สวมถุงมือหรือใช้ผ้าจับชินงานขณะปฏิบัติงาน เจียระไน เพราะล้อหินเจียรอาจดึงผ้าเข้าไปได้

10 ห้ามสวมรองเท้าแตะเข้ามาปฏิบัติงานในโรงงาน เพราะอาจทาให้เกิดอันตรายขึ้น

11. พื้นที่ปฏิบัติงานต้องสะอาด ไม่ปล่อยให้สกปรก รกรุงวัง ชงเป็นสาเหตุที่ ทำให้เกิด อันตรายต่อผู้ปฏิบัติงาน

12. พื้นที่ปฏิบัติงานต้องมีแสงสว่างเพียงพอ

13. ตรวจสอบความพร้อมของเครื่องจ้าริก่อนใช้งานทาครั้ง หากพบว่าเครื่องจักรชารุดห้ามใช้งานเด็ดขาด

14. อย่าจับเศษโลหะที่ถูกตัดเฉือนจากงานกลึงด้วยมือเปล่า เพราะจะทำให้เศษโลหะ

15. ไม่ควรใช้เครื่องมือผิดประเภท เพราะนอกจากจะทำให้เครื่องมือได้รับเสียหายแล้ว ยังอาจทำให้เกิดอันตรายกับผู้ปฏิบัติงานได้

16 การคลายนัตด้วยประแจ ควรด้เข้าหาตัวทุกครั้งเพอป้องกันการกระแทกที่รุนแรงขณะใช้ประแจ ถ้าเครื่องมือไม่สามารถดึงเข้าหาตัวได้เพราะพื้นที่จำกัด ให้ผลักด้ามประแจด้วยฝ่ามือ

17. ขณะปฏิบัติงานเจาะสายตาตองมองที่ชิ้นงานเพราะถ้าไม่มีสมาธิในขณะ ปฏิบัติงานจะทำให้ได้รับอันตรายในขณะปฏิบัติงานได้


อุปกรณ์ป้องกันอันตรายสำหรับเครื่องมือช่างในการปฏิบัติงาน

อุปกรณ์ปัองกันอันตรายเป็นอุปกรณ์ที่ผู้ปฏิบัติงานสวมใส่ขณะปฏิบัติงาน เพื่อปัองกันอันตรายทีอาจเกิดขึ้นจากสภาพ และสิ่งแวดล้อมการทำงาน การใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลเป็นวิธีหนึ่งในหลายวิธีการป้องกันอันตรายจากการทำงาน ซึ่งมีหลายชนิด  

ข้อใดคือความปลอดภัยในการทำงานช่าง

1. อุปกรณ์ป้องกันศีรษะหรือหมวกนิรภัย สวมไว้เพื่อปังกันศีรษะจากการถูกชนหรือกระแทก แต่หมวกนิรภัยนี้จะไม่สามารถรับแรงกระแทกอย่างรุนแรงจากวัตถุที่ตกจากที่สูงมากระทบต่อศีรษะได้อย่างสมบูรณ์เหมาะเฉพาะสำหรับป้องกันศีรษะจากการได้รับบาดเจ็บในกรณีที่มีวัสดุเล็กๆ ต่กใส่ เช่น นอต ท่อนไม้ และท่อนเหล็กเป็นตัน

 อุปกรณ์ป้องกันใบหน้าและดวงตา ช่วยป้องานอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากวัตถุ สารเคมีเคมีกระเด็นเข้าตาหรือใบหน้า หรือป้องกันรังสีที่ทำลายดวงตา แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ

ข้อใดคือความปลอดภัยในการทำงานช่าง

1. แว่นตาป้องกันเศษโลหะ สำหรับป้องกันอันตรายที่เกิดขึ้นกับดวงตา เช่น งานสกัด งานเจียระไน และป้องกันเศษโลหะกระเด็นเข้าตาในขณะกลึงชินงาน

ข้อใดคือความปลอดภัยในการทำงานช่าง

2. กระบังป้องกันใบหน้า เป็นวัสดุโค้งครอบใบหน้า เพื่อป้องกันใบหน้าและลำคอจากการกระเด็นหรือกระแทกของวัตถุหรือสารเคมี

ข้อใดคือความปลอดภัยในการทำงานช่าง

3. หน้ากากเชื่อมโลหะเป็นหน้ากากที่ใช้ในการเชื่อมไฟฟ้า มีรูปร่างและแบบที่แตกต่างกัน หน้ากากเชื่อมมีหน้าที่ป้องกันใบหน้าและดวงตาเพื่อป้องกันเเสงจ้า รังสีจากการเชื่อม และจากการกระเด็นของโลหะทำจากวัสดุทนความร้อน ไม่ติดไฟ และมีน้ำหนักเบา

ข้อใดคือความปลอดภัยในการทำงานช่าง

4. อุปกรณ์ป้องกันหู เป็นอุปกรถโที่สวมใส่เพื่อปังกันความดังของเสียงทีจะมากระทบต่อแกัวหูในสภาพแวดล้อมที่มีเสียงดังเกินกว่า 90 เดซิเบล การสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันหุจะสามารถลดเสียงได้ประมาณ 20-30 เดซิเบล

ข้อใดคือความปลอดภัยในการทำงานช่าง

5. อุปกรณ์ป้องกันล้าตัว เป็นชุดที่สามใส่เพื่อป้องกันอันตรายจากการทำงานในที่ที่มีความรัอนสูงหรือมีลูกไฟกระเด็น เป็นตัน

ข้อใดคือความปลอดภัยในการทำงานช่าง

6.อุปกรณ์ป้องกันมือ ในการปฏิบัติงานอุตสาหกรรมทุกลักษณะตัองใช้มือในการปฏิบัติงาน เพือป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นบนมือจึงควรสวมถุงมือขณะปฏิบัติงาน ถุงมือทำจากวัสดุได้หลายชนิด และแต่ละชนิดมีคุณสมบัติเฉพาะตัว จึงควรเลือกถุงมือให้เหมาะสมกับลักษณะงาน

ข้อใดคือความปลอดภัยในการทำงานช่าง

7.อุปกรณป้องกันเท้า ใช้สวมใส่ในโรงงานเพื่อปัองกันอวัยวะส่วนเท้าไม่ให้สัมผัสกับอันตรายจากการปฏิบัติงานที่มีความร้อนหรือของ มีคม ที่อาจเกิดขึ้นกับเท้า

ความปลอดภัยในการทำงาน Occupational health and safety ความปลอดภัยในการทำงานทุกองค์กรถือเป็นหัวใจหลักในการดำเนินธุรกิจอย่างยั่งยื่น

ความปลอดภัยในการทำงาน หรือ เรียกกันได้อีกอย่างคือ ความปลอดภัยอาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทำงาน (OHS) เป็นสหสาขาวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย สุขภาพ ของพนักงานในองกรค์ ป้องไม่ให้ลูกจ้างได้รับอันตราย อุบัติเหตุหรือผลกระทบจากการทำงาน

ทั่วโลกมีผู้เสียชีวิตกว่า 2.78 ล้านคนอันเป็นผลมาจากการเกิดอุบัติเหตุจากการทำงานหรือโรคที่เกี่ยวข้องกับการทำงาน ส่งผลให้ทุกๆ 15 วินาที จะมีผู้เสียชีวิต 1 ราย และ มีการบาดเจ็บที่ไม่ถึงขั้นเสียชีวิตอีก 375 ล้านคนต่อปี ทำให้องค์กรดังกล่าวนั้นต้องศูนย์เสียพนักงานและเงินชดเชยต่างๆเป็นจำนวนมากต่อการเกิดอุบัติเหตุในแต่ละครั้ง

ข้อใดคือความปลอดภัยในการทำงานช่าง

องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) และองค์การอนมัยโลก WHO ได้จำกัดความร่วมกันถึงวัตถุประสงค์และขอบเขตของการดำเนินงานด้านความปลอดภัย 3 หลักที่ในองค์กรนั้นควรจัดให้มี

1.มีการส่งเสริมด้านสุภาพของพนักงาน

2.มีการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทำงานให้พื้นที่การทำงานนั้นเกิดความปลอดภัย

3.มีการเสริมสร้างวัฒธรรมด้านความปลอดภัยในการทำงานภายในองค์กร และ สนับสนุนในทุกๆด้านที่เกี่ยวข้องกับการทำงานให้ปลอดภัยโดยให้พนักงานทุกคนนั้นมีส่วนร่วม มีการออกนโยบายจากผู้บริหารเพื่อแสดงจุดยืนด้านความปลอดภัยขององค์กร มีการสนับสนุนในด้านการฝึกอบรมความปลอดภัย

อันตรายจากการทำงาน Workplace hazards

แม้ว่าการทำงานจะให้ผลประโยชน์กับนายจ้างและทางเศษรกิจอื่นๆอย่างมากมาย แต่การทำงานก็แฝงไปด้วยอันตรายในสถานที่ทำงานที่มากมายด้วยเช่นกัน หรือที่เรียกว่า สภาพการทำงานที่ไม่ปลอดภัย เช่น สารเคมี สารก่อให้เกิดภูมิแพ้ สารชีวภาพ อันตรายจากการรับสัมผัสสารเคมีอันตรายในที่ทำงาน ได้แก่ สารพิษต่อระบบประสาท สารเคมีที่ทำมีผลต่อภูมิคุ้มกัน สารเคมีที่ทำลายผิวหนัง สารเคมีประเภทก่อมะเร็ง สารก่อโรคหอบหืด เป็นต้น ปัจจัยอันตรายทางกายภาพ สภาพการทำงานด้านการยศาสตร์ อันตรายการจากสูญเสียการได้ยินจากเสียงดังซึ่งพบบ่อยที่สุดในประเทศสหัฐอเมริกาโดยมีพนักงานประมาณ 22 ล้าน คนที่สัมผัสกับเสียงดังเกิดมาตรฐาน

พื้นฐานเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงาน

สิ่งที่ต้องคำนึงถึงเสมอในการปฏิบัติงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในโรงงานคือความปลอดภัย โดยเฉพาะการผลิตในภาคอุตสาหกรรมซึ่งมีความเสี่ยงที่จะได้รับ อันตรายจากการทำงานสูง  หากป้องกันไม่รัดกุมไม่เพียงพออาจก่อให้เกิดความเสียหายทั้งผู้ปฏิบัติงาน วัตถุดิบและเครื่องจักรในการผลิต อุบัติเหตุส่วนใหญ่เกิดขึ้นจากการรู้เท่าไม่ถึงการณ์ และความประมาทของผู้ปฏิบัติงานเอง นอกจากนี้แล้วสภาพแวดล้อม ในการทำงาน เช่น การวางผังโรงงาน เครื่องจักร อากาศ แสงสว่าง หรือเสียงก็อาจก่อให้เกิดอันตรายได้ หากสิ่งเหล่านั้นมีความบกพร่องและผิดจากมาตรฐานที่กำหนดไว้ก็อาจเกิดอุบัติเหตุได้ทุกเมื่อเช่นกัน

ดังนั้นความปลอดภัยในการทำงานจึงถือเป็นหัวใจสำคัญของการทำงาน เมื่อมีความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้องแล้วนั้น โอกาสที่จะประสบอันตรายในขณะทำงานย่อมลดน้อยลงตามไปด้วย

ความปลอดภัยในการทำงาน คือ การมีสภาพการณ์ที่ปลอดภัยพนักงานที่ทำงานปราศจากการอุบัติเหตุต่างๆ ที่ส่งผลให้เกิดการบาดเจ็บต่อร่างกาย ชีวิต หรือทรัพย์สินในขณะที่ปฏิบัติงาน

อุบัติเหตุ คือ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างไม่คาดคิดมาก่อน และ เมื่อเกิดขึ้นแล้วทำให้ส่งผลกระทบต่อการทำงาน ทำให้ทรัพย์สินเสียหายหรือ บุคคลได้รับบาดเจ็บ

การเกิดอุบัติเหตุมักเกิดจากสาเหตุที่สำคัญอยู่ 3 ประการ คือ

1. สภาพการณ์ หรือเครื่องมือเครื่องจักร อุปกรณ์ ไม่ปลอดภัย (hard ware) เช่น เครื่องจักรหรืออุปกรณ์มีการชำรุด มีพื้นที่หรือบริเวณทำงานที่เป็นอันตราย

2. วิธีการทำงานไม่ปลอดภัย (soft ware) เช่น ไม่มีการกำหนดขั้นตอนการทำงาน ไม่มี WI

3. ตัวบุคคลประมาท (human ware) พนักงานไม่มีความระมัดระวัง ทำงานด้วยความประมาท ชอบเสี่ยง ไม่ทำตามกฎระเบียบ เป็นต้น

จากข้อ 3. อุบัติเหตุที่เกิดจากการกระทำที่ไม่ปลอดภัยเป็นสาเหตุใหญ่ที่ก่อให้เกิดอุบัติเหตุ คิดเป็น 85% ของการเกิดอุบัติเหตุทั้งหมด การกระทำที่ไม่ปลอดภัย ได้แก่

– การทำงานข้ามขั้นตอน หรือ ลัดขั้นตอน
– ความประมาท พลั้งเผลอ เหม่อลอย
– การมีนิสัยชอบเสี่ยง หรือเจตนาหลีกเลี่ยงเพื่อความสะดวกสบาย
– ไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบความปลอดภัยในการทำงาน
– ปฏิบัติงานโดยไม่ส่วมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคค PPE
– ใช้เครื่องมือไม่เหมาะสมหรือผิดประเภท , ดัดแปลงหรือแปลงสภาพเครื่องมือ เครื่องจักร
– การทำงานโดยสภาพร่างกายหรือจิตใจไม่ปกติ ไม่พร้อมปฏิบัติงาน
– ทำงานด้วยความรีบร้อน เร่งรีบ เป็นต้น

การป้องกันอุบัติเหตุ ตามหลักการของ safety มีด้วยกัน 3 วิธีคือ

  1. การป้องกันหรือแก้ไขที่แหล่งกำเนิดอันตราย source เป็นแก้ไขแก้ที่ดีที่สุด ตามหลักวิศวกรรม Engineering เพราะได้ทำการจัดการที่ต้นเหตุของปัญหาด้วยการออกแบบให้เครื่องจักรหรือสถานที่เกิดความปลอดภัยมากขึ้น แต่การแก้ไขด้วยวิธีนี้มักใช้งบประมาณและต้นทุนมาก เสียเวลา และ ทรัพยากรค่าใช้จ่ายสูง หรือ การแก้ไขทำได้ยาก จึงไม่เป็นที่นิยมมากนัก ส่วนใหญ่เราจะเห็นบริษัทหรือโรงงานใหญ่ๆที่ให้ความสำคัญด้าน safety จริงๆจึงจะยอมลงทุนแก้ไขด้วยวิธีการนี้
  2. การป้องกันที่ทางผ่าน Path เป็นการตัดแยกให้แหล่งอันตรายกับคนทำงานแยกออกจากกันอย่างสิ้นเชิง ยกตัวอย่างเช่น การทำงานกับเครื่องจักรที่มีจุดหนีบ การแก้ไขคือให้ทำการเอาเครื่องกำบังมาครอบเอาไว้เพื่อป้องกันไม่ให้มือของพนักงานสามารถเข้าไปอยู่ในบริเวณจุดหนีบได้ เป็นต้น
  3. การแก้ไขที่ตัวบุคคล Receivers เป็นวิธีการแก้ไขที่สามารถทำได้โดยง่ายและรวดเร็วประหยัด ทำให้ส่วนใหญ่จะจบด้วยการที่ให้พนักงานทำงานอย่างระมัดระวัง หรือ สวมใส่ PPE แต่การแก้ไขด้วยวิธีนี้ข้อเสียคือมีความปลอดภัยน้อยที่สุดใน 3 วิธีที่กล่าวมาและบ่อยครั้งอุบัติเหตุก็ยังคงเกิดอยู่ซ้ำตามเดิม

การป้องกันอุบัติเหตุและทำงานให้เกิดความปลอดภัยนั้นยังสามารถทำได้ด้วยวิธีอื่นเข้ามาช่วย เช่น

  • การปฏิบัติตามกฎระเบียบข้อบังคับในสถานประกอบการอย่างเคร่งครัด
  • ใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล PPE ตลอดระยะเวลาที่ปฏิบัติงาน
  • ติดตั้งการ์ดเครื่องจักร                                                                          
  • สวมใส่เครื่องแต่งกาย และแบบฟอร์มที่เหมาะสมกับลักษณะงาน ไม่ใส่เครื่องประดับ หรือ ปล่อยผมยาวขณะทำงานกับเครื่องจักร
  • จัดให้มีแสงสว่างภายในโรงงานที่เพียงพอตามมาตรฐานพิจารณาในด้านตำแหน่งที่ตั้งที่เหมาะสมของระบบโครมไฟฟ้า เพื่อให้ความเข้มส่องสว่างบนโต๊ะทำงานที่เพียงพอและไม่เกิดเงาหรือแสงสะท้อน รวมทั้งการเลือกชนิดของหลอดไฟที่เหมาะสมกับสภาพการทำงาน
  • พื้นที่ทำวานมีการระบายอากาศ พิจารณาของการไหลเวียนอากาศเข้าออกจากบริเวณทำงาน รวมทั้งคุณภาพของอากาศด้วย อาทิ ความชื้นสัมพัทธ์อุณหภูมิอากาศ ปริมาณฝุ่นละออง กลิ่นควันพิษที่มีอยู่ในอากาศนั้น
  • การจัดสถานที่ทำงานให้ถูกสุขลักษณะ หรือทำ 5ส ในบริษัทอย่างจริงจัง เป็นต้น

สรุป: ความปลอดภัยในการทำงานเป็นหน้าที่ที่ทุกคนต้องช่วยกันทำให้เกิดความปลอดภัยในองค์กรของเราโดยไม่โยนให้เป็นหน้าที่ความรับผิดชอบของใครคนใดคนหนึ่งเพื่อให้เรานั้นทำงานและกลับบ้านได้อย่างปลอดภัย

ข้อใดคือความปลอดภัยในการทํางาน

ความปลอดภัยในการทำงาน (Occupational Safety and Health) หมายถึง สภาพการทำงาน ที่ปลอดภัยจากอุบัติการณ์ (Incident) ซึ่งจะรวมถึงอุบัติเหตุ (Accident) และเหตุการณ์เกือบเกิดอุบัติเหตุ (Near miss) พร้อมทั้งไม่เกิดโรคจากการทำงาน

เครื่องและอุปกรณ์ที่ปลอดภัยในการปฏิบัติงานช่างมีอะไรบ้าง

อุปกรณ์เซฟตี้ที่จำเป็นต้องใช้ในการทำงาน.
รองเท้าเซฟตี้ รองเท้าเซฟตี้ ถือได้ว่าเป็นอุปกรณ์เซฟตี้ที่มีความสำคัญไม่น้อยทีเดียว ทั้งการทำงานในโรงงาน คลังสินค้า หรืองานที่มีการใช้งานเครื่องมือช่าง เพราะช่วยป้องกันได้ครอบคลุมหลายประเภท แบ่งได้ตามลักษณะงาน ดังนี้ ... .
ถุงมือ ... .
หมวกนิรภัย ... .
แว่นตา ... .
ที่อุดหูและที่คลอบหู ... .
หน้ากาก ... .
เข็มขัดพยุง.

การทำงานช่างควรคำนึงถึงสิ่งใด

การทำงานงานช่างทุกประเภทต้องมีแนวทางการดำเนินงาน ดังนี้ 2.1.ศึกษาข้อมูลการทำงานของเครื่องมือ เครื่องใช้ ศึกษาคำแนะนำหลักความปลอดภัยในการทำงาน 2.2.วางแผนการดำเนินงาน การบำรุงรักษา การซอมแซม การติดตั้งและการผลิตคำนึงถึงการใช้เทคโนโลยี ทรัพยากร พลังงานและวิธีการใช้วัสดุ อุปกรณ์อย่างเหมาะสม

การปฏิบัติตนในขณะปฏิบัติงานช่างในบ้านข้อใดเกิดความปลอดภัยมากที่สุด

การปฏิบัติตนในขณะปฏิบัติงานช่างในบ้านข้อใดเกิดความปลอดภัยมากที่สุด ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ เครื่องมือช่างก่อนใช้งาน ทำความสะอาดสถานที่ปฏิบัติงานทั้งก่อนและหลัง สวมผ้าปิดจมูกทุกครั้ง เพื่อป้องกันฝุ่นละออง