โครงงานชั้นวางหนังสือจากไม้

วันนี้จะมาแนะนำไอเดียการทำ DIY งานประดิษฐ์ชั้นวางหนังสือที่สามารถประดิษฐ์ขึ้นมาเองได้ง่ายๆ จากไม่อัดที่สามารถซื้อหาได้ตามแถวบ้าน เผลอนำเศษไม้อัดมาประกอบรวมกันได้เลยไม่ต้องซื้อ ถือเป็นนำสิ่งของเหลือใช้มาดัดแปลงให้เกิดประโยชน์อีกทางนึง วัสดุอุปกรณ์ที่ต้องเตรียม กาวประสานไม้ มีหลายชนิด ลองสอบถามทางร้านก่อสร้างก็ค่ะ, ไม้อัดเลือกชนิดดังรูปตัวอย่างก็ได้ค่ะ, เลื่อยสำหรับเลื่อยไม้เพื่อตัดตามขนาดที่ต้องการ, แล็คเกอร์หรือสีทาไม้ ขั้นตอนการทำสามารถดูได้จากรูปตัวอย่างกันเลยจ้า ถ้าทำเสร็จแล้วอย่าลืมเอามาแชร์กันด้วยนะคะ ถูกใจกด LIKE กดแชร์กันได้เลยจ้า
โครงงานชั้นวางหนังสือจากไม้
DIY ชั้นวางหนังสือสุดเก๋ทำเองได้ไม่ต้องซื้อ

DIY ชั้นวางหนังสือสุดเก๋ทำเองได้ไม่ต้องซื้อ

โครงงานชั้นวางหนังสือจากไม้
ตัดไม้ให้ได้ขนาดตามที่ต้องการโดยวักจากความสูงองหนังสือ ให้ส่วนบนของหนังสือเสมอกัน
โครงงานชั้นวางหนังสือจากไม้
เลื่อยไม้เสร็๗แล้วเวลานำมาเรียงกันจะได้ลักษณ์ฟันปลาดังรูป ให้ใช้กาวประสานไม้ยึดติด
โครงงานชั้นวางหนังสือจากไม้
ลาทับด้วยแล็คเกอร์หรือสีทาไม้
โครงงานชั้นวางหนังสือจากไม้
DIY ชั้นวางหนังสือสุดเก๋ทำเองได้ไม่ต้องซื้อ

ขอขอบคุณ whollykao.com/2012/01/11/the-anthro-bookcase ที่แบ่งปันสิ่งดีๆ

DIY ชั้นวางหนังสือสุดเก๋ทำเองได้ไม่ต้องซื้อ


Related Posts Widget

โครงงานชั้นวางหนังสือจากไม้

Posted by AOM at23:05

โครงงานชั้นวางหนังสือจากไม้
โครงงานชั้นวางหนังสือจากไม้

ส่งอีเมลข้อมูลนี้BlogThis!แชร์ไปที่ Twitterแชร์ไปที่ Facebookแชร์ใน Pinterest

Labels: งานประดิษฐ์, ชั้นวางหนังสือทำเอง, DIY

โครงงานIs3 from Arisa Srising

โครงงานเรื่องชั้นวางรองเท้าจากไม้ไผ่ เป็นเรื่องที่พวกเราสนใจและทำได้เอง โดยการศึกษาวิธีการทำ จากผู้ชำนาญหรือผู้รู้เริ่องชั้นวางรองเท้าเป็นอย่างดี เพื่อที่จะได้มาลองประดิษฐ์ทำขาย เพื่อหารายได้เสริม จะได้ทำเวลาว่างให้เกิดประโยชน์  พวกเราจึงมีแนวคิดที่จะรวบรวมข้อมูลต่างๆ ของชั้นวางรองเท้า รวมไปถึงวิธีการทำแต่ละขั้นตอน จะได้เผยแผ่ต่อผู้อื่นได้ด้วย

กิตติกรรมประกาศ

  โครงงานเรื่องชั้นวางรองเท้าจากไม้ไผ่ สำเร็จลุล่วงได้ตามวัตถุประสงฆ์ โดยได้รับความอนุเคราะห์ให้คำปรึกษา จาก คุณครู เดือนฉาย ชารีผาย  และผู้มีความรู้เรื่องชั้นวางรองเท้าภายในหมู่บ้าน ที่คอยให้คำปรึกษาและคำแนะนำ จนสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี คณะผู้จัดทำขอขอบพระคุณ ณ โอกาสนี้

ที่มาและความสำคัญ

ในโรงเรียนทุกคนมักจะถอดรองเท้าไม่เป็นระเบียบ อยู่กระจัดกระจาย พวกเราจึงมีแนวคิด ที่จะทำ ชั้นวางรองเท้าขึ้นมา เพื่อให้ทุคน วางรองเท้าให้เป็นระเบียบ เรียบร้อย มีความสวยงามในการวางรองเท้า พวกเราจะได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

การศึกษาการทำชั้นวางหนังสือ เป็นการนำสิ่งที่ใกล้ตัวมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ เป็นการฝึกใช้ความคิดสร้างสรรค์ เพื่อที่จะนำมาพัฒนาเป็นอาชีพเสริมได้

ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน

1.ได้ศึกษาการทำชั้นวางหนังสือ

2.ได้ศึกษาการประกอบไม้ให้เป็นชิ้นเป็นอัน

3.นำมาพัฒนาให้เกิดรายได้

ข้อเสนอแนะ

จากการศึกษาโครงงานการทำชั้นวางหนังสือ สามารถพัฒนาเป็นอาชีพเสริมได้

บัญชีรายรับ-รายจ่าย

รายจ่ายรายจ่ายวัน

เดือน

ปี

รายการจำนวน

เงิน

วัน

เดือน

ปี

ลำ

ดับ

รายการจำ

นวน

ราคา/

หน่วย

จำ

นวนเงิน

หมายเหตุ11/1/54เก็บเงินสมาชิกในกลุ่มคลละ 40 บ./คน

(มี 10 คน)

400 บ.11/1/541.ซื้อไม้

ตะปู

รวมรายจ่าย

เหลือ

10ชิ้น

20ตัว

 

360บ.

40บ.

 

 

 

 

400บ.

 

 

 

บทที่ 2

Posted: กุมภาพันธ์ 19, 2011 in Uncategorized

0

บทที่ 2

การศึกษาเอกสารอ้างอิง

ไม้อัด (Plywood)

เป็นผลิตภัณฑ์ ที่คงใช้พื้นฐานทางวัตถุดิบธรรมชาติ โดยถูกพัฒนากรรมวิธีการผลิต ขึ้นมาเพื่อตอบสนองการใช้ไม้จริง (Solid Wood) ที่มีขนาดหน้ากว้างมากๆ ที่ปัจจุบันการเจริญเติบโตของป่าไม้ในประเทศไทย ไม่ทันต่อการตอบสนองในการใช้งาน จึงต้องมีการพัฒนาการใช้ต้นไม้ ที่มีหน้ากว้างขนาดเล็ก, เป็นไม้ทั่วไป ที่มีการเจริญเติบโตรวดเร็ว และหาได้ง่าย นำมาดัดแปลง เพื่อใช้งานแทน ไม้อุตสาหกรรมต่างๆ ที่นับวันเริ่มหาได้ยากขึ้นทุกทีภายในประเทศ ต้องพึ่งพาการนำเข้าจากประเทศเพื่อนบ้านแทน โดยส่วนใหญ่ที่ใช้กันอยู่ปัจจุบัน จะไม่ได้เป็นขนาดที่ระบุแน่นอน เท่ากับขนาดความหนาของไม้อัดนั้นๆ ที่ใช้กันอยู่ เพราะขนาดของไม้อัด ขึ้นอยู่กับคุณภาพ และโรงไม้แต่ละโรงที่ผลิตออกมา เพราะฉะนั้นการเรียกไม้อัด บางครั้ง จึงต้องมีการเรียกคุณภาพของไม้กำกับไว้ด้วย เช่นไม้อัดบางนา 10 มม.ความหนาของไม้อัดในตลาดทั่วไป โดยทั่วไปที่นิยมเรียกกัน จะมีความหนาอยู่ที่ 3, 4, 6, 10, 12, 15 และ 20 มม

ลักษณะทั่วไปของไม้อัด

1. มีความแข็งแรงทนทานสูง มีความคงตัวไม่ยืดหด และแตกง่าย
2. สามารถตอกตะปูหรือใช้ตะปูควงขันใกล้ขอบแผ่น หรือทุกส่วนได้รอบด้าน
3. สามารถตัด เลื่อย และฉลุได้ง่าย ไม่แตกหัก สามารถโค้งงอได้โดยไม่ฉีกหัก
4. เป็นฉนวนกันความร้อนได้ดี
5. สามารถเก็บความร้อน และเสียงได้ดีกว่าไม้ธรรมดา
6. สามารถรับน้ำหนักได้ในอัตราที่สูงกว่าไม้ธรรมดา
7. ไม้อัดจากลาว จะมีสีแดงกว่าจากอินโดนีเซีย และมาเลเซีย ซึ่งส่วนใหญ่จะ

กรรมวิธีในการผลิตไม้อัด

1. เริ่มจากกระบวนการนำซุง เปิดปีกไม้ โดยเครื่องเลื่อยสายพาน คือการตัดเปลือกนอกออก ให้เหลือเนื้อไม้ตามหน้าตัดซุง เป็นสี่เหลี่ยม

2. ส่งซุงเข้าต้ม เพื่อให้ไม้นิ่ม และดำเนินการสไลด์ตามแนวยาวตามขนาดท่อนซุง ออกมาเป็นแผ่นเยื่อไม้บางๆ (ซึ่งเรียกได้อีกอย่างว่าวีเนียร์) ความหนาอยู่ที่ประมาณ 0.8 -1.2 มม.

3. นำวีเนียร์ที่ได้ ผ่านเครื่องตัด เพื่อตัดริมขอบวีเนียร์ ให้เป็นเส้นตรง และตัดความยาวที่เกินมากไป

4. (ขั้นตอนนี้ โดยส่วนมาก จะใช้เฉพาะเกรด B ขึ้นไป ถ้าเป็นเกรดต่ำๆ หน่อย จะอาศัยวางเรียงกันโดยไม่ทำตามขั้นตอนนี้) นำวีเนียร์ ที่ตัดริม มาเย็บให้ติดกัน โดยใช้กระดาษกาวสำหรับปิดวีเนียร์ หรืออาจจะใช้เครื่องเย็บวีเนียร์ ที่เป็นลักษณะใช้เส้นกาวเย็บแทนเส้นด้าย จนได้หน้ากว้างประมาณ 1240 มม.,ความยาวประมาณ 2450 มม. และ หน้ากว้างประมาณ 2450 มม., ความยาวประมาณ 1240 มม.

5. นำวีเนียร์ที่ได้ ทากาวลาเท็กซ์อุตสาหกรรม  โดยมาวางเป็นชั้นๆ สลับลายตามแนวขวางลาย และตามแนวขนานลาย ( ที่ต้องวางสลับลายระหว่างชั้นเช่นนี้ เพื่อให้เกิดการดึงตัวระหว่างผิวภายในที่เท่ากันทั้ง 2 ด้าน ไม่ให้เกิดการบิดตัวโก่งงอ เมื่อทำเป็นแผ่นสำเร็จ ) จนได้ความหนาที่ต้องการ แต่จะวางทับเป็นชั้นเลขคี่เสมอ ถ้าเป็นไม้อัดเกรดดีหน่อย มักจะวางชั้นให้ได้ความหนาเกินขนาดที่ต้องการไว้ก่อน

6. นำวีเนียร์ที่วางเสร็จแล้ว ขึ้น Hot Press (เครื่องอัดแรงดันสูง  เครื่องนี้จะเป็นเครื่องอัดทับ ขนาดใหญ่ ที่มีแผ่นความร้อน ถ่ายผ่านจากบอยล์เลอร์ เข้ามา ปรับตั้งอุณหภูมิได้เกิน 100 องศาขึ้นไป ) อัดทับลงไป เพื่อให้แผ่นวีเนียร์อัดประสานติดกัน พร้อมเนื้อกาว

 

( การอัดทับลงไป ทำให้เกิดการยุบตัวของเนื้อวีเนียร์ ซึ่งคำนวนเป็นค่ายุบตัวมาตรฐานค่อนข้างยาก สำหรับวัตถุดิบทางธรรมชาติ ทำให้แผ่นไม้อัดที่ผลิตออกมา ค่าความหนาไม่ค่อยคงที่)