คําที่ประกอบด้วย พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์

คําที่ประกอบด้วย พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์

คําที่ประกอบด้วย พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์

คําที่ประกอบด้วย พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์
การประสมอักษร  หมายถึง  การนำสระ  พยัญชนะ  และวรรณยุกต์มาประกอบเข้าด้วยกันเป็นพยางค์  แต่ละพยางค์อาจมีความหมายสมบูรณ์เป็นคำก็ได้  หรืออาจไม่มีความหมายเป็นเพียงส่วนของคำก็ได้  เช่น 
กะ                           เป็นคำพยางค์เดียว              หมายถึง                                กำหนด  คะเน  ประมาณ 
กะลา                      เป็นคำสองพยางค์               หมายถึง                                ส่วนแข็งที่หุ้มเนื้อมะพร้าว 
กะลาสี                   เป็นคำสามพยางค์               หมายถึง                                ลูกเรือ 
กัลยาณี                   เป็นคำสี่พยางค์                   หมายถึง                                นางงาม  หญิงงาม 
กัลปาวสาน           เป็นคำห้าพยางค์                  หมายถึง                                ที่สุดแห่งระยะเวลาอันยาวนาน
 
คําที่ประกอบด้วย พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์
คำในภาษาไทยอาจประกอบด้วยคำพยางค์เดียวหรือหลายพยางค์ก็ได้   ดังตัวอย่างข้างต้นพยางค์หนึ่งๆ   นั้นจะต้องมีส่วนประกอบอย่างน้อยที่สุด  ๓  ส่วนขึ้นไป  คือ  เสียงพยัญชนะ  เสียงสระและเสียงวรรณยุกต์  แต่บางพยางค์อาจมีส่วนประกอบอื่น  เช่น  เสียงพยัญชนะท้ายหรือเสียงพยัญชนะตัวสะกด  หรืออาจมีตัวการันต์เพิ่มขึ้นก็ได้ 
การประสมอักษรในที่นี้จะแบ่งออกเป็นคำพยางค์เดียวกับคำมากพยางค์ 
คำพยางค์เดียว 
คําที่ประกอบด้วย พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์
คำพยางค์เดียว  อาจประกอบด้วยเสียงพยัญชนะ  เสียงสระ  และเสียงวรรณยุกต์  ซึ่งจัดเป็นพยางค์ที่เล็กที่สุด  แต่พยางค์โดยทั่วไปนั้นจะประกอบด้วยเสียงพยัญชนะต้น  เสียงสระ  เสียงพยัญชนะท้ายหรือเสียงพยัญชนะสะกด  และเสียงวรรณยุกต์   แต่ในระบบการเขียนยังมีเสียงพยัญชนะท้ายพยางค์ที่ไม่ออกเสียง  หรือตัวการันต์เพิ่มขึ้น 
การประสมตัวอักษรแทนเสียงในภาษาไทยมี  ๔  วิธีด้วยกัน   คือ
คําที่ประกอบด้วย พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์
1. การประสมสามส่วน  คือ  การประกอบพยางค์ด้วยพยัญชนะต้น   สระ  และวรรณยุกต์  ซึ่งอาจเป็นวรรณยุกต์มีรูปหรือไม่มีรูปก็ได้  การประสมสามส่วนตรงกับการประสมอักษรในแม่  ก  กา  เช่น

คําที่ประกอบด้วย พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์
ค้า  เป็นการประสมอักษรสามส่วน  ดังนี้ 
คําที่ประกอบด้วย พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์
ค             เป็นพยัญชนะต้น 
คําที่ประกอบด้วย พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์
อา           เป็นสระ 
คําที่ประกอบด้วย พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์
อ้             เป็นวรรณยุกต์  รูปโท  เสียงตรี 
คําที่ประกอบด้วย พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์
เช่า          เป็นการประสมอักษรสามส่วน  ดังนี้ 
คําที่ประกอบด้วย พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์
ช             เป็นพยัญชนะต้น 
คําที่ประกอบด้วย พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์
เอา          เป็นสระ 
คําที่ประกอบด้วย พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์
อ่             เป็นวรรณยุกต์  รูปเอก  เสียงโท

   2. การประสมสี่ส่วน  คือ  การประสมพยางค์ด้วยพยัญชนะต้น  สระ  พยัญชนะท้ายพยางค์  หรือ  พยัญชนะสะกด  และวรรณยุกต์  เช่น

คําที่ประกอบด้วย พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์
พัด           เป็นการประสมอักษรสี่ส่วน   ดังนี้ 
คําที่ประกอบด้วย พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์
พ             เป็นพยัญชนะต้น 
คําที่ประกอบด้วย พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์
อะ           เป็นสระ   เปลี่ยนรูปเป็น 
คําที่ประกอบด้วย พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์
ด             เป็นพยัญชนะท้ายพยางค์หรือพยัญชนะสะกด 
คําที่ประกอบด้วย พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์
อิ             เป็นวรรณยุกต์  ไม่มีรูป  เสียงตรี 
คําที่ประกอบด้วย พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์
บ้าน        เป็นการประสมอักษรสี่ส่วน   ดังนี้ 
คําที่ประกอบด้วย พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์
บ             เป็นพยัญชนะต้น 
คําที่ประกอบด้วย พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์
อา           เป็นสระ 
คําที่ประกอบด้วย พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์
น             เป็นพยัญชนะท้ายพยางค์หรือพยัญชนะสะกด 
คําที่ประกอบด้วย พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์
อ้             เป็นวรรณยุกต์  รูปโท  เสียงโท

      3. การประสมสี่ส่วนพิเศษ  คือ  การประกอบพยางค์ด้วยพยัญชนะต้น  สระ  พยัญชนะ  ท้ายพยางค์ที่ไม่ออกเสียงหรือตัวการันต์  และวรรณยุกต์  การประสมสี่ส่วนพิเศษเป็นการประสมอักษรแม่  ก  กา  เช่น

คําที่ประกอบด้วย พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์
เล่ห์         เป็นการประสมอักษรสี่ส่วนพิเศษ  ดังนี้ 
คําที่ประกอบด้วย พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์
ล             เป็นพยัญชนะต้น 
คําที่ประกอบด้วย พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์
เอ            เป็นสระ 
คําที่ประกอบด้วย พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์
ห์             เป็นพยัญชนะท้ายพยางค์ที่ไม่ออกเสียงหรือตัวการันต์ 
คําที่ประกอบด้วย พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์
อ่             เป็นวรรณยุกต์  รูปเอก  เสียงโท

       4. การประสมห้าส่วน   คือ  การประกอบพยางค์ด้วยพยัญชนะต้น   สระ  พยัญชนะท้ายพยางค์หรือพยัญชนะสะกด  พยัญชนะท้ายพยางค์ที่ไม่ออกเสียงหรือตัวการันต์  และวรรณยุกต์  เช่น

คําที่ประกอบด้วย พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์
รักษ์         เป็นการประสมอักษรห้าส่วน  ดังนี้ 
คําที่ประกอบด้วย พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์
ร              เป็นพยัญชนะต้น 
คําที่ประกอบด้วย พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์
อะ           เป็นสระ   เปลี่ยนรูปเป็น 
คําที่ประกอบด้วย พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์
ก             เป็นพยัญชนะท้ายพยางค์หรือพยัญชนะสะกด 
คําที่ประกอบด้วย พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์
ษ์             เป็นพยัญชนะท้ายพยางค์ที่ไม่ออกเสียงหรือตัวการันต์

               

ในการประสมอักษรนั้น  คำพยางค์เดียวอาจมีการประสมสามส่วน  ประสมสี่ส่วน  ประสมสี่ส่วนพิเศษ  หรือการประสมห้าส่วนก็ได้  ซึ่งขึ้นอยู่กับส่วนประกอบของพยางค์นั้น ๆ

คำมากพยางค์ 
คำมากพยางค์  คือ  การนำพยางค์ตั้งแต่สองพยางค์ขึ้นไปมารวมกัน  มีความหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง  ซึ่งอาจประกอบเป็นคำสองพยางค์  สามพยางค์  สี่พยางค์  หรือมากกว่าก็ได้ 
ในการประสมอักษรของคำมากพยางค์  จะต้องแยกออกเป็นพยางค์ ๆ แล้วประสมอักษรแต่ละพยางค์เช่นเดียวกับคำพยางค์เดียว  เช่น 
ซื่อสัตย์  แยกเป็น  ๒  พยางค์  คือ  ซื่อ , สัตย์  ประสมอักษรได้ดังนี้
ซื่อ          เป็นการประสมอักษรสามส่วน   ดังนี้ 
ซ             เป็นพยัญชนะต้น 
อือ           เป็นสระ 
อ่             เป็นวรรณยุกต์  รูปเอก  เสียงโท 
สัตย์        เป็นการประสมอักษรสามส่วน  ดังนี้ 
ส             เป็นพยัญชนะต้น 
อะ           เป็นสระ  เปลี่ยนรูปเป็น  อั 
ต             เป็นพยัญชนะท้ายพยางค์หรือพยัญชนะสะกด 
ย์              เป็นพยัญชนะท้ายพยางค์ที่ไม่ออกเสียงหรือตัวการันต์

หมายเหตุ   การประสมอักษรที่สระเป็นสระเกิน  ถ้าพิจารณาเฉพาะรูปสระแล้วก็เป็นการประสมสามส่วน  เช่น  ตำ  :  ต  พยัญชนะต้น  อำ                สระ  วรรณยุกต์   ไม่มีรูป  เสียงสามัญ  ถ้าพิจารณาเฉพาะเสียงสระก็เป็นการประสมสี่ส่วน  คือ  อำ  สระอะ  ม  พยัญชนะสะกด

คําที่ประกอบด้วย พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์

คําที่ประกอบด้วย พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์


คําที่ประกอบด้วย พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์

http://stu.rbru.ac.th/~s5415262006/N9.html

คําที่ประกอบด้วย พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์

พยัญชนะ + สระ + วรรณยุกต์เรียกว่าอะไร

๑. พยางค์ คือ เสียงที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่ง ๆ จะมีความหมายหรือไม่มีความหมายก็ได้ องค์ประกอบของพยางค์ประกอบด้วย พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ เรียกว่า ประสม ๓ ส่วน ประสม ๔ ส่วน ได้แก่ พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ ตัวสะกด ประสม ๔ ส่วนพิเศษ ได้แก่ พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ ตัวการันต์ ประสม ๕ ส่วน ได้แก่ พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ ตัวสะกด และ ...

พยัญชนะที่อยู่หลังตัวสะกดเรียกว่าอะไร

พยัญชนะท้าย พยัญชนะท้าย หรือตัวสะกดตัวสะกด เป็นพยัญชนะที่ใช้บังคับเสียงท้ายคำ บางมาตราใช้ตัวสะกดตรงตามมาตรา บางมาตราใช้ตัวสะกดไม่ตรงตามมาตรา มีทั้งหมด 9 มาตรา มาตราตัวสะกดที่ใช้ตัวสะกดตัวเดียวตรงตามมาตรามี 4 มาตรา

สระวรรณยุกต์มีอะไรบ้าง

- เสียงสระ คือ สระอะ (ทะ) และสระอา (หาน) - เสียงวรรณยุกต์ คือ เสียงสามัญ (ทะ) และเสียงจัตวา (หาน) - เสียงพยัญชนะท้ายพยางค์ คือ หาน ซึ่งตรงกับมาตราตัวสะกด แม่ กน

พยัญชนะต้นประสม มีอะไรบ้าง

แม่กน ได้แก่ น ญ ณ ร ล ฬ แม่กง ได้แก่ ง แม่กก ได้แก่ ก ข ค ฆ แม่กม ได้แก่ ม แม่กด ได้แก่ ด จ ช ซ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ด ถ ท ธ แม่เกย ได้แก่ ย แม่กบ ได้แก่ บ ป พ ฟ ภ แม่เกอว ได้แก่ ว เป็นตัวการันต์ คือ พยัญชนะที่อยู่ท้ายแต่ไม่ออกเสียงส่วนมากมาจากภาษาอื่น