ใบงาน เรื่อง อริยสัจ 4 เฉลย

ชุดกิจกรรม เรือ่ ง หลกั ธรรมอริยสัจ 4

สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม
กลมุ สาระการเรียนรสู ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท่ี 2

ชุดท่ี 1 ความรเู บอ้ื งตนเก่ยี วกับหลกั ธรรมอริยสจั 4

นายสุนทร วงศษ า
ตาํ แหนงครู วทิ ยฐานะครูชาํ นาญการ
โรงเรียนองคการบรหิ ารสว นจงั หวดั แพรเดนไชยวทิ ยา
สงั กัดองคก ารบรหิ ารสวนจงั หวัดแพร

กรมสง เสริมการปกครองทองถิ่น
กระทรวงมหาดไทย

คาํ นาํ

ชุดกจิ กรรม เรื่อง หลักธรรมอริยสจั 4 สาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม กลมุ สาระ
สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชน้ั มัธยมศึกษาปที่ 2 มจี าํ นวน 12 ชดุ ดังน้ี
หลกั ธรรมอริยสจั 4 (ความจริงอนั ประเสริฐ 4 ประการ)

ชุดท่ี 1 เร่ือง ความรูเบ้อื งตน เกย่ี วกบั หลักธรรมอรยิ สัจ 4
หมวดทุกข (ธรรมที่ควรรู)

ชุดท่ี 2 เร่อื ง ขนั ธ 5
ชดุ ที่ 3 เรอื่ ง หลักธรรม : นยิ าม 5
หมวดสมุทยั (ธรรมท่ีควรละ)
ชดุ ที่ 4 เรือ่ ง อกุศลวติ ก 3
หมวดนิโรธ (ธรรมท่คี วรบรรล)ุ
ชดุ ท่ี 5 เร่ือง ภาวนา 4
หมวดมรรค (ธรรมทีค่ วรเจรญิ )
ชดุ ท่ี 6 เร่อื ง สทั ธรรม 3
ชดุ ที่ 7 เรื่อง วฒุ ิธรรม 4
ชดุ ท่ี 8 เร่ือง พละ 5
ชุดที่ 9 เรือ่ ง อบุ าสกธรรม 5
ชุดที่ 10 เรื่อง การสงเคราะหบุตร
ชุดท่ี 11 เรอ่ื ง การสงเคราะหภ รรยาหรอื สามี
ชุดท่ี 12 เรื่อง ความสันโดษ
ชดุ กิจกรรมที่ศึกษาอยนู ี้เปน ชุดกจิ กรรมที่ 1 เรอื่ ง ความรเู บอื้ งตนเกยี่ วกบั อรยิ สจั 4
หวังเปน อยางยิ่งวา นักเรียนทุกคนคงจะไดร ับความรูแ ละความเพลิดเพลนิ ในการศึกษา สามารถ
พฒั นาการคิดอยางมวี ิจารณญาณ และปฏิบัตติ ามหลักธรรมเพ่อื การอยรู วมกนั อยา งสันตสิ ุข

สุนทร วงศษา
ตาํ แหนงครู วทิ ยฐานะครูชํานาญการ

สารบญั ข

เรอื่ ง หนา

คาํ นํา ก
สารบญั ข
คาํ แนะนําสําหรับครู 1
คาํ แนะนําสาํ หรบั นกั เรยี น 2
สาระสาํ คัญของชดุ กิจกรรม 3
แบบทดสอบกอนเรยี น 5
เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน 8
ใบความรู ความรเู บอื้ งตนเกยี่ วกบั หลักธรรมอรยิ สัจ 4 9
ใบกิจกรรมท่ี 1 15
ใบกจิ กรรมท่ี 2 17
ใบกิจกรรมท่ี 3 20
ใบกิจกรรมที่ 4 22
ใบกิจกรรมที่ 5 23
เฉลยใบกิจกรรมที่ 1 25
เฉลยใบกจิ กรรมที่ 2 26
เฉลยใบกิจกรรมท่ี 5 28
แบบทดสอบหลงั เรียน 30
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 33
บรรณานุกรม 36

1

คําแนะนาํ สําหรับครู

ชดุ กจิ กรรม เรอื่ ง หลกั ธรรมอรยิ สจั 4 ชดุ ท่ี 1 เรอื่ ง ความรูเบอ้ื งตนเก่ยี วกับ
หลักธรรมอรยิ สัจ 4 หนว ยที่ 2 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม
กลุมสาระการเรยี นรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน้ มธั ยมศึกษาปที่ 2 ท่ีเนนการฝก ทักษะ
กระบวนการคิดอยา งมวี จิ ารณญาณ

ครูควรปฏบิ ัตดิ งั นี้
1. ศกึ ษาชุดกิจกรรมคกู ับแผนการจัดการเรียนรูในเร่ืองเดียวกันมาลว งหนา
อยา งละเอยี ด
2. เตรยี มส่ืออปุ กรณก ารจดั กิจกรรมการเรยี นรู ท่จี ะตอ งใชทาํ กจิ กรรม
ในแตล ะครงั้ ใหพ รอมกอ น หากมปี ญ หาจะไดแ กไขกอ นการจดั กิจกรรมการเรียนรู
3. จัดกจิ กรรมโดยเนนการฝก ทักษะกระบวนการคดิ อยา งมีวจิ ารณญาณ เพอื่ ให
นักเรยี นเกดิ พัฒนาการทางดานตา งๆ เชน ทักษะการคดิ วิเคราะห มีวิจารณญาณ การเผชิญ
ปญ หา และการหาแนวทางในการแกปญ หาไดถูกตอ งเหมาะสม
4. ขณะปฏบิ ตั ิกจิ กรรมควรกระตุนใหนกั เรยี นไดเ รยี นรูอยา งตง้ั ใจ ครูสังเกต
และประเมนิ พฤติกรรมนกั เรยี นท้ังรายบุคคลและรายกลมุ เพอื่ ใหก ารจดั กิจกรรมการเรยี นรบู รรลุ
ตามจุดประสงคอยางมีคุณภาพ
5. เมื่อทาํ ใบกจิ กรรม และแบบบนั ทึกการคิดอยา งมีวจิ ารณญาณ ครบทกุ ขัน้ ตอน
แลว ใหน กั เรียนทาํ แบบทดสอบหลังเรยี นในกระดาษคําตอบ
6. ตรวจแนวคาํ ตอบใบกจิ กรรมจากใบเฉลยกจิ กรรม และแบบบนั ทกึ การคิด
อยา งมวี จิ ารณญาณ ตรวจกระดาษคําตอบของแบบทดสอบกอ นเรยี น หลงั เรียน เพื่อดูพฒั นา
การเรียนรูของนักเรียน ท้งั ดานผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นและทักษะการคดิ อยา งมวี จิ ารณญาณ
7. ครูคอยควบคุมการใชช ดุ กิจกรรมอยางระมดั ระวังและรวดเร็วทนั เวลา
8. เม่อื เสร็จส้นิ กิจกรรมการเรยี นรูในแตล ะครงั้ ครูควรเนนใหน ักเรียนเกบ็ สอื่
อปุ กรณใหเ ปน ระเบียบเรยี บรอย หากชาํ รุดกซ็ อมแซมเพ่อื เกบ็ ไวใ ชใ นครั้งตอไป

2

คาํ แนะนาํ สาํ หรบั นกั เรียน

ชดุ กจิ กรรมทีน่ ักเรยี นจะศกึ ษาตอไปนี้คือ ชดุ กิจกรรม เร่อื ง หลกั ธรรมอริยสัจ 4 ชดุ ท่ี 1
เรอ่ื ง ความรูเบ้ืองตนเกีย่ วกบั หลักธรรมอริยสจั 4 เปน ชดุ กิจกรรมท่เี นน กระบวนการใหน กั เรียน
ไดค ดิ และลงมอื ปฏิบัติกจิ กรรมตามกาํ หนดดว ยตนเองเพอื่ ใหเ กดิ ประโยชนส ูงสดุ นกั เรยี นควรปฏิบตั ิ
ตามคําช้แี จงตอ ไปน้ี

1. ชดุ กิจกรรม เร่ือง ความรูเบ้ืองตนเก่ยี วกับหลกั ธรรมอรยิ สจั 4 นี้ ใชเวลา 1 ชั่วโมง
1. ศึกษาสาระสําคัญและจุดประสงคก ารเรยี นรู แลวจะทราบวา เมื่อจบบทเรยี นน้แี ลว
นักเรยี นจะสามารถทําอะไรไดบ าง
2. ทําแบบทดสอบกอนเรียนตามความเขาใจดวยความซือ่ สัตย
3. ศกึ ษาใบความรู และทําใบกิจกรรมเรือ่ ง ความรเู บื้องตน เกย่ี วกบั หลกั ธรรมอรยิ สัจ 4
4. นกั เรยี นแตล ะคนฝกทักษะกระบวนการคดิ อยางมวี ิจารณญาณในกิจกรรม ตามแนว
การสอนคดิ ของเพญ็ พิศุทธิ์ เนคมานุรักษ 3 ขนั้ ตอน ดงั นี้

4.1 ขั้นเสนองานหรอื สถานการณ
4.2 ขัน้ ฝกความสามารถในการคิด

4.2.1 ข้นั รวบรวมขอมลู
4.2.3 ขัน้ จัดระบบขอมลู
4.2.4 ขัน้ การตงั้ สมมุติฐาน
4.2.5 ขนั้ การสรุปอา งอิง
4.2.6 ขน้ั การสรปุ และตัดสนิ ใจ
4.3 ขั้นประเมินกระบวนการคิด
5. นักเรยี นแบง กลมุ กลมุ ละ 4 – 5 คน
6. นําผลการคดิ ของแตละคนมาเสนอตอกลมุ และสรุปเปนความคิดของกลุม
7. นาํ เสนอความคดิ ของกลุมหนาชน้ั เรยี น
8. นักเรยี นแตล ะกลุมรวมกนั อภิปรายและซกั ถามในกรณที ม่ี ีปญหาท่ีนําเสนอกับ
สถานการณไมส อดคลองกัน
9. นกั เรียนสนทนาถงึ วิธกี ารท่จี ะนาํ หลกั ธรรมอรยิ สจั 4 ไปประยุกตใ ชในชีวติ ประจาํ วนั
10. นักเรียนทําแบบทดสอบหลงั เรยี นในกระดาษคาํ ตอบ

3

สาระสําคัญของชุดกิจกรรม

1. สาระการเรียนรู
สาระที่ 1 ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม
มาตรฐาน ส 1.1 รูและเขา ใจประวตั ิความสําคญั ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนา

หรือศาสนาท่ีตนนบั ถือและศาสนาอ่นื มศี รัทธาที่ถกู ตอง ยดึ ม่ันและปฏบิ ัตติ ามหลักธรรม
เพอ่ื อยรู ว มกนั อยางสนั ตสิ ขุ

ตวั ชี้วดั
ส 1.1 ม 2/8 อธบิ ายธรรมคณุ และขอ ธรรมสาํ คญั ในกรอบอริยสัจ 4 หรือหลักธรรม

ของศาสนาทีต่ นนับถอื ตามท่ีกาํ หนด เหน็ คุณคา และนําไปพัฒนาแกป ญ หาของชุมชนและสังคม
ส 1.2 ม 2/11 วเิ คราะหการปฏิบัติตนตามหลกั ธรรมทางศาสนาที่ตนนับถอื เพ่ือการดาํ รงตน

อยา งเหมาะสมในกระแสความเปลยี่ นแปลงของโลก และการอยูร ว มกันอยา งสันติสขุ

2. สาระสําคัญ
หลกั ธรรมอรยิ สัจ 4 เปนหลกั ธรรมทีส่ อนใหมนุษยรูทุกข ทเ่ี กดิ แหงทกุ ข และขอ ปฏบิ ตั ิ

เพื่อใหถงึ ซึ่งความดับแหงทกุ ข

2. จุดประสงคการเรยี นรู
2.1 วิเคราะหอ งคป ระกอบของหลักธรรมอรยิ สัจ 4 ได
2.2 เลอื กใชหลกั ธรรมอริยสัจ 4 ในการแกปญ หาตามสถานการณได
2.3 มีทกั ษะกระบวนการคิดอยางมวี ิจารณญาณตามทก่ี าํ หนด

3. วธิ ีการเรยี นรู
3.1 อา นทําความเขาใจขอแนะนําการเรยี นรจู ากชดุ กจิ กรรมการเรียนรนู ใี้ หช ัดเจน
3.2 สรา งความรูสึกทดี่ ีใหก ับตนเองวา เปนผูมคี วามพรอ มท่จี ะเรยี นรทู กุ สง่ิ อยางสรา งสรรค
3.3 ปฏิบตั ติ ามกจิ กรรมที่เตรียมใหในชุดกิจกรรมตามลาํ ดับขน้ั ตอนอยางเครง ครดั

4

กอนศึกษาชดุ กิจกรรมชุดท่ี 1
ความรเู บ้อื งตนเกยี่ วกับหลกั ธรรมอรยิ สัจ 4
มาทําแบบฝก หัดกอนเรียนกนั กอ นนะขอรับ

5

แบบทดสอบกอนเรยี น

ชุดกิจกรรม เรอ่ื ง หลกั ธรรมอริยสจั 4 ชุดที่ 1 ความรเู บือ้ งตนเกีย่ วกบั หลักธรรมอริยสจั 4
ชนั้ มธั ยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนองคก ารบรหิ ารสวนจังหวัดแพรเดน ไชยวิทยา
.......................................................................................................................

คาํ ชแี้ จง ใหน กั เรียนทําเครื่องหมาย x ทับตัวอักษรหนาขอความที่เปน คําตอบทถ่ี ูกตอ งที่สดุ
เพยี งขอ เดยี ว

1. หลกั ธรรมอรยิ สัจ 4 นนั้ เปน ธรรมวา ดว ยเร่อื งเหตแุ ละผล ขอใดจดั อยใู นสวนของผล
ก. ทกุ ข - สมุทัย
ข. ทุกข - นิโรธ
ค. นโิ รธ – มรรค
ง. สมุทยั – มรรค

2. เพราะเหตใุ ดหลักธรรมคําสอนของพระพทุ ธเจาจึงมงุ ทสี่ อนใหม นษุ ยมีหลกั ท่ีพ่ึงทางใจ
ก. ตอ งการใหมนุษยย อมรบั ความจรงิ
ข. ตองการใหม นุษยนบั ถือพระพุทธศาสนา
ค. ตอ งการใหมนษุ ยอ ยูร วมกันอยา งมคี วามสขุ
ง. ตองการใหมนุษยมีความศรัทธานบั ถอื พระพุทธเจา

3. ความสขุ ของคฤหัสถหรอื ผูค รองเรือน ขอ ใดสาํ คญั ที่สุด
ก. มีทรพั ย
ข. ไมมหี นี้
ค. จา ยทรพั ย
ง. ประพฤตไิ มม โี ทษ

6

4. สมพรเกิดความทกุ ข อยากไดบานสวยๆ และรถยนตค ันใหม แสดงวา สมพร เกิดตัณหา
ประเภทใด

ก. ภวตัณหา
ข. วภิ วตัณหา
ค. การตณั หา
ง. ถกู ทุกขอ

5. ขอใดคอื คณุ ของอริยสจั
ก. สอนใหไ มป ระมาท
ข. สอนใหปลอยวาง
ค. สอนใหแ กปญหาดว ยตนเอง
ง. สอนใหเ ขา ใจความเปนจรงิ ของธรรมชาติ

6. บดิ า – มารดา เปนผมู พี ระคุณตอเรา ทาํ อยางไรจึงจะไดช ่ือวา ปฏบิ ตั ดิ ปี ฏบิ ตั ิชอบตอทานทั้งสอง
ก. ซ้อื ของมอบใหทา นในโอกาสตางๆ
ข. เช่อื ฟงและทาํ ตามท่ที า นอบรมสั่งสอน
ค. จัดพานดอกไมบชู าทา นในวนั พอ และวันแม
ง. ใหเ งนิ ทานใชจายทุกเดือน

7. การแกป ญ หาตามหลักธรรมอริยสจั 4 มลี กั ษณะอยางไร
ก. ปองกนั คนทงั้ หลายไมใ หเกิดความทุกข
ข. ชว ยสตั วท ง้ั หลายใหตอ สูก ับความทกุ ข
ค. ชวยคนทัง้ หลายใหหลุดพนจากความทกุ ข
ง. ชวยสัตวท้ังหายใหอดทนตอ ความทุกข

7

8. ขอใด คือ ความหมายของคําวา “นิโรธ”
ก. ความสูญสิ้น
ข. ความเสือ่ มสลาย
ค. ความดับสนิท
ง. ความดบั ทกุ ข

9. การที่เราสามารถกําหนดรูสาเหตุของปญ หาในชีวติ ของเราไดคอื ขอใดในอรยิ สัจ 4
ก. ทกุ ข
ข. สมทุ ัย
ค. นโิ รธ
ง. มรรค

10. สง่ิ ใดทม่ี นษุ ยไ มส ามารถหลกี พน ไดแ ตต อ งกาํ หนดรู ในอรยิ สัจ 4
ก. ทุกข
ข. สมุทยั
ค. นโิ รธ
ง. มรรค

เมอื่ ทําเสร็จเรยี บรอ ย
แลว ไปดูเฉลยใน
หนาถัดไปเลยคะ

8

เฉลยแบบทดสอบกอ นเรยี น

ชุดกิจกรรม เรอ่ื ง หลกั ธรรมอริยสัจ 4 ชดุ ท่ี 1 ความรเู บื้องตนเกย่ี วกบั หลกั ธรรมอรยิ สจั 4
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที่ 2 โรงเรยี นองคการบรหิ ารสว นจังหวดั แพรเดนไชยวิทยา

1. ข
2. ค
3. ก
4. ก
5. ง
6. ข
7. ค
8. ง
9. ข
10. ก

9

ใบความรู
ความรูเบอ้ื งตน เก่ียวกับหลักธรรมอรยิ สจั 4

ความสําคัญของพระพทุ ธศาสนา
พระพุทธศาสนาเปน ศาสนาท่ีบงั เกิดข้นึ เพอ่ื ชวยเหลอื มนุษยในโลกน้ี ใหหลุดพน จาก

ความทุกข เพราะมนษุ ยตองอยูเปนกลมุ ในสงั คมท่ีทุกคนยอมรับวาเปนสังคมที่มีความเจรญิ
รงุ เรอื ง เพียบพรอ มไปดว ยอปุ กรณอ ํานวยความสะดวกสบายในการดํารงชพี แตข ณะเดียวกัน
กเ็ กิดความไมสงบขาดความมน่ั คงดา นจิตใจ ขาดหลักท่พี ง่ึ ทางใจทําใหม ปี ญ หาตอ การดํารงชวี ติ
ของตนเองและสวนรวม

ท่ีมา : www.tlcthai.com

หลกั ธรรมคําสอนของพระพุทธเจาจึงมุงท่สี อนใหม นษุ ยม ีหลักทพ่ี ่ึงทางใจ และมแี นวทาง
ประพฤติปฏิบตั ทิ ่ีจะทาํ ใหเ กิดมงคลแกช ีวติ อันจะทาํ ใหม นษุ ยสามารถอยรู วมกันในสังคมดว ย
ความสงบสขุ และเจริญกา วหนา

10

พทุ ธธรรมเพ่อื ชวี ติ และสงั คม

พุทธธรรม เปน เครอ่ื งนาํ ทางในการดําเนนิ ชวี ิตธรรมทกุ ขอหากปฏิบัตติ ามอยา งจรงิ จัง
จะเปนประโยชนแ กช วี ิตอยางมากท้ังส้ิน พทุ ธธรรมนนั้ สอนทงั้ การดาํ เนนิ ชีวิตทจี่ ะทาํ ใหช วี ติ ตนมีคา
หรือเปนชวี ติ ทป่ี ระเสรฐิ ชวี ิตท่อี ยกู ับความเจริญและคุณธรรมและสอนการดาํ เนนิ ชีวติ ใหสงั คม
อยูร วมกันอยา งสามคั คี สงบ และเกิดประโยชนแกส ว นรวม

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนามเี ปน จาํ นวนมาก หลักธรรมทจ่ี ดั วา เปนแมบ ทของพุทธธรรม
ทั้งหมดไดแ ก อริยสัจ 4 ซง่ึ จะชวยใหเรามีความเขาใจความเปนจรงิ ของธรรมชาติ และรจู กั ชวี ติ
ของตนเองอยางแทจ ริง

ทม่ี า : www.sites.google.com

อริยสจั 4

อริยสจั แปลวา “ความจรงิ อนั ประเสริฐ หรอื ความจริงของพระอรยิ บคุ คล” หมายถงึ
ถาผใู ดสามารถรอู ริยสัจ 4 ดว ยปญ ญา ผนู น้ั ก็จะเปนพระอรยิ บุคคลและทท่ี ําใหเ ปนผูประเสรฐิ น้นั
กเ็ พราะในขณะทร่ี อู ริยสัจ 4 กิเลสท้ังหลายก็ถูกทําลายหายไปจากจิตของผนู น้ั ดวย คอื จติ จะมี
สภาพใส สะอาด บรสิ ทุ ธ์ิ พน จากสภาพสามญั ชนกลายเปนพระอริยบคุ คล หรอื เปนบุคคล
ท่ปี ระเสรฐิ อริยสัจดังกลา วนี้ เจาชายสทิ ธตั ถะทรงเปนผูคนพบหรอื ไดตรัสรูเปนบคุ คลแรก

11

ในโลก จึงทาํ ใหพระองคกลายเปน พระพุทธเจา หรือเปน บคุ คลผปู ระเสรฐิ กวา เทวดาและมนษุ ย
ทั้งหลาย

อรยิ สจั 4 จัดเปนหมวดธรรมทส่ี ําคัญมากของพระพทุ ธศาสนา เพราะเปน ท่ีสรุปรวม
ของพระธรรมคําสัง่ สอนทัง้ หมด หมายความวา พระธรรมคําสง่ั สอนของพระพทุ ธองค
ในพระไตรปฎ กทง้ั 3 คือ พระวินัยปฎ ก พระสุตตนั ตปฎกและพระอภธิ รรมปฎกนน้ั จะสรุป
รวมลงในอรยิ สจั 4 ทงั้ สนิ้

ความหมายของหลักธรรมอรยิ สัจ 4 แตล ะขอ เพ่ือจํางา ยจึงเปนตารางไดด งั น้ี

อรยิ สัจ 4 คาํ แปล คําขยายความ
1. ทกุ ข ความไมสบายกายไมส บายใจ จัดวา เปนทกุ ขเพราะมลี ักษณะเบียดเบยี น บบี คนั้
ทนไดยาก
2. สมทุ ัย เหตุใหทกุ ขเกดิ ไดแก ตัณหาความอยาก 3 อยา ง
3. นโิ รธ ความดบั ทุกข ไดแก การดบั ตณั หาใหส้ินไป
4. มรรค ขอ ปฏิบตั ใิ หถึงความดบั ทกุ ข ไดแก มรรค ๘ ประการ

ทุกข : ความทุกข

ทกุ ข คือ สง่ิ ท่เี บยี ดเบยี นบบี คนั้ ทําใหเกิดความไมสบายกาย ไมส บายใจ อนั เกิดจาก
รางกายหรือจิตใจ ถกู เบียดเบยี นแลว ทนไดยากหรอื ทนไมได จงึ ทาํ ใหเ กดิ เปนทกุ ข ยกตวั อยางเชน
เมือ่ นกั เรยี นเจบ็ ไขไดปว ย ปวดหวั ปวดฟน ปวดทองอยา งรนุ แรงจนทนไมได ทนไมไ หว จึงเกดิ
เปน ทกุ ขทางกาย

ในบางครงั้ นกั เรียนเกดิ อารมณเศรา หดหู หรอื เกิดอาการกระวนกระวายใจ
เพราะถกู ดา บา ง เพราะผดิ หวังทีท่ าํ อะไรไมไ ดต ามใจบาง จึงเกิดเปน ทกุ ขทางใจ

ความทุกขท างกายและความทุกขท างใจท้ัง 2 ประการน้ี จัดเปนความทกุ ขพื้นฐาน
ที่เกดิ ขึน้ ประจาํ วนั ซึ่งทุกคนตา งก็รจู กั ดแี ละเคยประสบกนั มาแลว แตค วามทุกขท ี่พระพทุ ธเจา
ทรงคนพบในทุกขอ รยิ สัจนั้นยังมคี วามหมายกวาง ครอบคลุมไปถงึ ลกั ษณะไมคงท่ี มีความแปรปรวน
ในส่ิงท่ีทัง้ ปวงดวย ซึง่ ไดแบงออกเปน 2 กลุมใหญๆ ดังน้ีคือ

12

1. สภาวทกุ ข คอื ทุกขประจาํ สภาวะ หมายถงึ ความทุกขท ีม่ ีประจาํ อยูในสภาพ
รา งกายของคนเรา เริม่ ตงั้ แตเ กดิ มามชี ีวิตจนถงึ ตาย

2. ปกิณณกทกุ ข แปลวา “ทุกขเ ลก็ ๆ นอยๆ” หมายถึง ความทกุ ขท ี่จรมาจาก
ทอ่ี ่นื โดยเกิดขนึ้ เปน ครงั้ คราวตามเหตุการณแ ละสิ่งแวดลอ มของชีวิต มีนอยบา งมากบา งผลดั เปลยี่ น
กันไปในแตละบคุ คล

การทีพ่ ระพทุ ธองคทรงส่ังสอนใหชาวพทุ ธไดรูจกั กบั ตวั ความทกุ ขเหลา นั้น มิได
หมายความวาพระองคท รงสอนใหเ รามองโลกในแงร า ย แตทรงสั่งสอนใหม องโลกตามความเปนจรงิ
คอื ใหรจู กั กบั ความเปน จริงของโลก เพ่ือประสงคจะใหชาวพทุ ธไมประมาทพรอมท่จี ะเผชิญหนา
กบั ความเปน จริงและสามารถท่จี ะหาวิธีแกไขปญหาชวี ติ ของตนไดทุกโอกาส

สมุทัย : เหตุใหท กุ ขเ กิด

สมุทัย แปลวา “เหตใุ หทกุ ขเ กิด” หมายความวา ความทุกขทงั้ หมดในอรยิ สจั
ขอ ที่ 1 เหลา นัน้ มไิ ดเ กิดข้ึนมาลอยๆ จะตอ งมีสาเหตุบางอยา งทท่ี ําใหทกุ ขเกดิ ขน้ึ พระพทุ ธองค
นอกจากจะทรงรูจ กั ตัวความทกุ ขอ ยางแจมแจง แลว ยงั ทรงรสู กึ ถึงสาเหตุอนั แทจ รงิ ทีท่ ําใหเกิด
ความทกุ ขนัน้ ดวย โดยพระพุทธองคทรงชว้ี า ตัณหา คือความอยากเกินพอดที ีม่ อี ยใู นจติ ใจ
น่ันเอง เปนตวั เหตุใหเ กดิ ความทุกข ตัณหานน้ั มีอยู 3 ประการคือ

๑. กามตัณหา คอื ความอยากไดอยา งโนนอยา งนี้ ซึง่ เกิดจากตา หู จมูก ล้ิน
กาย และใจ เชน ตาเหน็ รปู สวยงาม ก็เกดิ ความอยากได อยากไดบา นสวยๆ ราคาแพง อยากได
เสอื้ ผาสวยๆ อยากไดร ถยนตค นั งาม เปน ตน ความอยากทํานองน้ีเปนความอยากในส่งิ ท่รี ักใคร
และนา พอใจ เปนความอยากท่ไี มรูจบ เมอื่ ไมไ ดต ามความประสงคก็จะเกิดทกุ ข

2. ภวตัณหา คอื ความยากเปนอยา งโนน อยา งน้ี เปน ความอยากไดใ นตําแหนง
ฐานะที่สูงขน้ึ ตามทตี่ นรักใครและพอใจ เชน อยากเปน ขาราชการในตาํ แหนงสงู ๆ อยากเปน
มหาเศรษฐแี ละอยากเปน บุคคลทีม่ ชี ือ่ เสยี ง เปน ตน เมอ่ื ไมไดดังใจปรารถนาก็เปนทุกข

13

3. วิภวตัณหา คอื ความอยากไมเ ปน ความอยากไมม ี จดั เปนความอยาก
ทป่ี ระกอบกับความเบ่ือหนา ยในสภาพทเี่ ปนอยใู นปจ จบุ ัน โดยตองการจะหลกี หนีใหพ นจาก
สภาพน้ันไป เชน อยากไมเ ปน คนโง อยากไมเปน คนพิการ และอยากไมเ ปน คนยากจน เปน ตน
ซึ่งความอยากไมเ ปนน้ถี าไมเปน ไปตามทตี่ นตอ งการแลว ก็จะทาํ ใหเ กิดทุกข เชนเดียวกนั

ตัณหา คือ ความอยากท้งั 3 ประการน้ี ถาอยากจนเกินพอดี คอื ไมไ ดค ํานงึ ถงึ
ความเปนไปไดหรอื เปน ไปไมได ควรหรอื ไมค วร เปนตน ยอมทําใหเ กิดเปนทุกขทั้งส้นิ

นโิ รธ : ความดับทุกข

นโิ รธ แปลวา “ความดับทุกข” หมายถึง ความรูหรอื ปญญาทีท่ าํ ใหจ ิตใจของบคุ คล
สามารถละตัณหาได หรือสามารถทาํ ลายตณั หาใหห มดไปจากจติ ใจและจิตทบี่ รรลนุ ิโรธแลว จะมี
ลกั ษณะสงดั จากกเิ ลส ไมยดึ ม่นั ในตวั ตน รวมไปถงึ ไมโลภ ไมโ กรธ ไมหลงอกี ดวย คงเหลือแต
ธรรมชาตขิ องความสงบสุขอยา งย่ิง ซ่งึ ทางพระพุทธศาสนาเรียกสภาวะอยา งน้วี า “นพิ พาน”

มรรค : ขอ ปฏบิ ตั ิใหถ งึ ความดบั ทุกข

มรรค แปลวา “ขอปฏบิ ตั ิใหถ งึ ความดับทกุ ข” หมายถงึ อรยิ มรรค หรอื หนทาง
อันประเสรฐิ ซง่ึ ประกอบดว ยองค 8 ประการคอื

๑. ความเหน็ ชอบ (สัมมาทิฏฐิ) หมายถึง การรูเหน็ ในอริยสจั 4 อยางถกู ตอ ง
ชัดเจนดวยปญญา เชน รูวาทุกขอ ยางไร รูวา ตัณหาเปนเหตุใหเ กดิ ทกุ ขอ ยา งไร รวู าจะดับทุกข
ไดเพราะการดับตณั หา และรูวา อรยิ มรรค คือทางใหถึงการดบั ตัณหาได

2. ความดํารชิ อบ (สัมมาสงั กัปปะ) หมายถึง ความคดิ ชอบ เชน มคี วามคิด
หาหนทางทีจ่ ะหลีกออกจากกาม ไมล ุม หลงมวั เมาอยูก ับ รปู เสียง กล่นิ รส สมั ผัส
มีความคิดทจี่ ะไมพยาบาทปองรายผูอื่น และไมคิดทาํ รา ยเบยี ดเบียนผูอื่น

14

3. การพดู ชอบ (สมั มาวาจา) หมายถึง เวนจากการพดู เทจ็ เวนจากการพดู
สอเสียดเวนจากการพดู คาํ หยาบ และเวนจากการพดู เพอเจอ เหลวไหลไรสาระ

4. การกระทําชอบ (สัมมกมั มนั ตะ) หมายถงึ เวน จากการฆา สัตว เวนจากการ
ลกั ทรัพย เวน จากการประพฤติผดิ ในกาม

5. การเล้ียงชวี ติ ชอบ (สัมมาอาชีวะ) หมายถงึ มคี วามเพียรระวังไมผ ิดกฎหมาย
และศลี ธรรม

6. ควรเพียรชอบ (สัมมาวายามะ) หมายถงึ มีความเพียรระวังไมใ หค วามชวั่ เกดิ ขนึ้
ในตน เพียรละความชั่วทเี่ กดิ ข้นึ แลว ใหห มดไป พากเพียรทําความดใี หเกดิ ขน้ึ และเพยี รพยายาม
รกั ษาความดีทีมอี ยแู ลวใหคงอยู

7. ความระลึกชอบ (สมั มาสติ) หมายถงึ ความมีสติระลึกถงึ ความเปน ไปไดข อง
สภาพรางกาย ระลกึ ถึงความเปน ไปของเวทนา (ขณะมีอารมณ) วาเปนสุข เปน ทุกข หรือเฉยๆ
ระลึกถงึ ความเปนไปของจติ วา เศราหมองเพราะกเิ ลสชนดิ ใด จิตทผ่ี องใสเพราะเหตุใด รวมไปถึง
การระลึกถงึ ความดี ความชั่ว หรอื ความไมด ไี มชัว่ ท่ีเกิดขึ้นในจิตของตน

8. การตั้งจิตใหช อบ (สมั มาสมาธิ) หมายถงึ การทาํ จติ ใหเ ปน สมาธิ เริ่มตง้ั แต
การทาํ จิตใหส งบช่ัวขณะ (ขณิกสมาธิ) การทาํ จติ ใหสงบเกอื บจะแนว แน (อุปจารสมาธ)ิ ทําจิตให
สงบในข้ันแนวแน (อปั ปนาสมธิ) หรอื ขน้ั เขา ฌานสมาบัติ

เมอ่ื ศกึ ษาเนื้อหาเสรจ็
เรียบรอ ยแลวไปเริม่ ทํา

กจิ กรรมกนั เลยคะ

15

ใบกิจกรรมท่ี 1
ความรเู บ้อื งตนเกี่ยวกบั หลกั ธรรมอริยสจั 4

จุดประสงคการเรยี นรู
วเิ คราะหอ งคป ระกอบของหลักธรรมอริยสัจ 4 ได

คาํ ช้แี จง
ใหน ักเรยี นวเิ คราะหอ งคป ระกอบของหลกั ธรรมอริยสจั 4 ตามที่กาํ หนดดังตอไปน้ี

(ขอ ละ 2 คะแนน)
...........................................................................................................................................................

1. อรยิ สจั 4 ประกอบดว ยหลกั ธรรมขอ ใดบาง
ตอบ.............................................................................................................................................

2. การท่มี นุษยมีการเบยี ดเบียน บบี คน้ั ซ่ึงกนั และกนั จนทําใหทนตอ สภาวะน้ันทนไดย าก จดั เปน
องคป ระกอบขอ ใดของหลักธรรมอรยิ สจั 4

ตอบ............................................................................................................................................

3. สมุทัย เหตแุ หง ความทกุ ข ไดแก ตณั หา 3 ประการ คือ
3.1 กามตณั หา หมายถงึ ........................................................................................................
3.2 ภวตัณหา หมายถึง .........................................................................................................
3.3 วภิ วตณั หา หมายถงึ ........................................................................................................

4. การดับตณั หาใหสิ้นไป จัดเปนองคประกอบในขอใดของหลักธรรมอรยิ สัจ 4
ตอบ...........................................................................................................................................

16

5. หากมีเหตกุ ารณท ท่ี ําใหเกดิ ทุกข นกั เรียนจะมขี อ ปฏิบัตใิ หถงึ ความดับทกุ ข ไดอยางไรบา ง
ตอบ............................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

ขอใหต ้งั ใจทํากิจกรรม
ดวยความซอ่ื สัตยน ะขอรับ

17

ใบกจิ กรรมที่ 2
ความรูเบ้อื งตนเกี่ยวกับหลักธรรมอริยสัจ 4

จดุ ประสงคก ารเรียนรู เลือกใชห ลักธรรมอริยสัจ 4 ในการแกป ญหาตามสถานการณไ ด
คาํ ช้แี จง ใหนักเรยี นนําหลกั ธรรมอริยสจั 4 มาอธบิ ายภาพตามสถานการณท ก่ี ําหนด

(ขอละ 5 คะแนน)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..
1. บุคคลในภาพมีแนวปฏบิ ัติตามหลกั ธรรมอริยสัจ 4 อยา งไรบาง

ทมี่ า : www.newmystorygu.blogspot.com

ตอบ.................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................

18

2. จากสถานการณตอไปนี้ นกั เรียนคดิ วา บคุ คลในภาพมกี ารดําเนินชวี ิตโดยขาดหลกั อิทธบิ าท 4
ขอใดบาง

ท่มี า : http://www.sanook.com/hot/category/news/

ตํารวจรวบตัว 2 โจร โดยท้ังสองถูกตงั้ ขอหากระทาํ ผิดฐานรว มกันชิงทรัพยผูอ ืน่
ในเวลากลางคืน หรอื โดยรว มกระทําความผดิ ดว ยกันต้งั แตส องคนขนึ้ ไป โดยใชยานพาหนะ
เพื่อการกระทําผดิ เพื่อใหพ น จากการจับกมุ รว มกันขม ขนื กระทาํ ชาํ เราผูอ่นื โดยผูอ น่ื นั้น
อยใู นภาวะที่ไมส ามารถขดั ขนื ได โดยรว มกันกระทําความผดิ ลกั ษณะเปน การโทรมหญิง พาคนอืน่
ไปเพ่อื การอนาจาร โดยใชอาํ นาจขเู ขญ็ ใชก ําลังประทุษรายหรือใชว ธิ ขี มขนื ใจ

(พิจารณาคําตอบของนกั เรยี นโดยใหอยใู นดลุ ยพนิ จิ ของครผู สู อน)
ตอบ
..............................................................................................................................................................
............................................................................................... ......................................... .....................
..............................................................................................................................................................

19

แบบบนั ทกึ การคิดเปนรายบคุ คล

1. กาํ หนดปญ หา 2. รวบรวมขอ มูล
................................................................... ...................................................................
................................................................... ...................................................................
................................................................... ...................................................................
................................................................... ..................................................................
................................................................... ...................................................................

3. จัดระบบขอ มลู 4. ตง้ั สมมุติฐานของปญหา
................................................................... ...................................................................
................................................................... ...................................................................
................................................................... ...................................................................
................................................................... ..................................................................
................................................................... ...................................................................

5. สรปุ อางอิง 6. สรปุ และตัดสนิ ใจ
................................................................... ..................................................................
................................................................... ...................................................................
................................................................... ...................................................................
................................................................... ...................................................................
................................................................... .................................... ..............................

(พจิ ารณาบนั ทกึ ของนกั เรยี นโดยใหอยูในดลุ ยพินิจของครผู สู อน)

20

ใบกจิ กรรมท่ี 3
ความรเู บอ้ื งตนเกย่ี วกับหลักธรรมอริยสจั 4

คาํ ชีแ้ จง เมือ่ นักเรยี นทาํ กจิ กรรมตามใบกิจกรรมที่ 2 เรยี บรอ ยแลว ใหนกั เรยี นเขากลมุ
ตามท่กี าํ หนดไว กลุม ละประมาณ 4 – 5 คน แลวทาํ กจิ กรรมดังตอ ไปน้ี

1. นกั เรียนแลกเปลยี่ นผลการคิดของตนกับสมาชกิ ในกลมุ โดยแตล ะคนอานรายงานผล
การปฏิบตั งิ านของตนจากใบงานที่ 1 ใหส มาชกิ ในกลุมฟง ขณะทสี่ มาชิกคนหนึง่ กาํ ลงั เสนอ
ผลการคดิ ใหส มาชิกที่เหลือฟง พรอ มทั้งจดบันทกึ ประเดน็ สําคัญไวในการะดาษที่แจกให

2. เม่ือแลกเปลี่ยนผลการปฏบิ ตั งิ านกนั ครบทุกคนในกลมุ แลว ใหแตล ะคนเปรียบเทยี บวา
ผลการคิดของสมาชกิ แตละคนในกลุมนัน้ เหมือนหรือแตกตา งกนั อยางไร พรอมทงั้ พิจารณาดวยวา
ทาํ ไมผลการคิดของเพอื่ นจงึ เหมือนหรือแตกตา งจากเรา

3. ใหแ ตล ะคนนําผลการคดิ ของตนนัน้ เสนอตอกลุม อกี คร้ัง แลว ชว ยกันอภิปรายภายในกลุม
เพือ่ หาขอ สรปุ ท่ีสมเหตุสมผลท่ีสุด

ขอใหโชคดีนะขอรบั

21

แบบบนั ทึกการคิดเปนรายกลมุ

1. บนั ทกึ ของ 2. บันทึกของ
................................................................... ...................................................................
................................................................... ...................................................................
................................................................... ...................................................................
................................................................... ..................................................................
................................................................... ...................................................................

3. บันทกึ ของ 4. บันทึกของ
................................................................... ...................................................................
................................................................... ...................................................................
................................................................... ...................................................................
................................................................... ..................................................................
................................................................... ...................................................................

5. บันทึกของ ผลสรุปของกลุม
................................................................... ..................................................................
................................................................... ...................................................................
................................................................... ...................................................................
................................................................... ...................................................................
................................................................... ..................................................................

(พิจารณาบนั ทกึ ของนกั เรยี นโดยใหอ ยูในดุลยพนิ จิ ของครผู ูสอน)

22

ใบกิจกรรมที่ 4
ความรเู บ้ืองตนเก่ยี วกบั หลกั ธรรมอริยสจั 4

คําชแ้ี จง ใหนักเรยี นแตล ะกลมุ นําเสนอผลการสรุปของกลมุ ยอ ยตอกลุมใหญ โดยใหแตละคน
พิจารณาและอภปิ รายรวมกันเกยี่ วกับขอสรปุ และเหตุผลของแตละกลมุ อกี ครั้ง

1. อะไรนา จะเปน ขอสรปุ ท่ีสมเหตุสมผล
2. นักเรยี นไดเปลย่ี นแปลงขอ สรุปในแตล ะประเด็นของนักเรียนบางหรือไม เพราะเหตุใด
3. จากกจิ กรรมครั้งนีน้ ักเรยี นไดข อ คิดอะไรบาง

เกง จังนะขอรับ

(พจิ ารณานาํ เสนอผลการสรปุ ของนักเรยี นแตล ะกลุม โดยใหอ ยูในดุลยพนิ ิจของครผู ูสอน)

23

ใบกจิ กรรมที่ 5
ความรเู บือ้ งตน เก่ยี วกบั หลกั ธรรมอริยสจั 4

จดุ ประสงคการเรยี นรู มที ักษะกระบวนการคดิ อยางมวี จิ ารณญาณตามทก่ี ําหนด
คาํ ชี้แจง พิจารณาเหตุการณตอไปนี้ แลว ตอบคาํ ถาม ขอ 1 – 4 (ขอละ 1 คะแนน)
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

หัวใจคําสอนของพระพุทธเจา อยทู อี่ รยิ สัจ 4 ประการ (จตฺตาริ อรยิ สจฺจานิ) ซ่งึ พระพทุ ธเจา
ทรงแสดงไวในปฐมเทศนาแกส หายเกา ของพระองคคอื เบญจวัคคีย ท่ีปาอสิ ปิ ตนะ
(ปจ จบุ ันเรียกวาสารนาถ) ใกลเ มอื งพารณสี ในพระธรรมเทศนากณั ฑน้ดี งั ทม่ี หี ลกั ฐานในคมั ภีร
ดงั้ เดิมน้นั พระองคไ ดท รงแสดงอรยิ สัจ 4 ประการไวเ พียงยน ยอ แตในคัมภีรท างพุทธศาสนา
รุนแรกๆ มหี ลายแหง ทไ่ี ดอ ธิบายอริยสจั 4 ประการนซ้ี ้ําแลว ซาํ้ อีก พรอมดวยรายละเอียด
มากมาย และหลายแงห ลายทาง ถา ศึกษาอริยสัจ 4 โดยอาศยั หลกั ฐานอา งองิ และคาํ อธบิ าย
(จากคมั ภีร) เหลา น้ี เรากจ็ ะไดเร่อื งราวท่ีดีและถูกตองแหง คาํ สอนอันเปน แกนของพระพทุ ธองค
ตรงตามคัมภีรดง้ั เดิม (พุทธทาสภกิ ขุ (22 พฤษภาคม 2531)

ทม่ี า : http://www.easyinsurance4u.com

1. นักเรียนคิดวาคําพดู นี้นา เชอ่ื ถือหรอื ไม เพราะเหตใุ ด (วัดความนา เช่ือถือของแหลงขอ มูล
และการสงั เกต)

ก. นาเชอื่ ถอื เพราะเปนการบรรยายธรรมของทานพุทธทาสภกิ ขุ
ข. ไมน าเช่ือถอื เพราะไมใชแ หลงขอ มูลปฐมภูมิ
ค. ไมแ นใ จ เพราะไมไ ดรบั ฟง โดยตรง

24

2. นักเรียนคิดอยางไรกับ เหตกุ ารณด งั กลาว (วัดดา นอุปนัย)
ก. คัดคา น
ข. สนบั สนุน
ค. ไมเ กีย่ วขอ งกนั

3. สรปุ ไดว า “อริยสจั 4 ควรศึกษาจากแหลงใด (วดั ดานนิรมัย)
ก. อาศัยหลักฐานอา งองิ และคาํ อธิบายจากคมั ภรี 
ข. ฟงเทศนาจากพระสงฆท ่ีมีช่อื เสียง
ค. อานจากหนงั สอื เผยแพรธ รรมะ

4. ขอใดเปน เหตุใหห ลักธรรมอริยสัจ 4 เปนหลักธรรมท่ีเผยแผอ ยา ง (วัดดา นการระบุขอ ตกลง
เบือ้ งตน)

ก. พระสงฆท มี่ ีชอ่ื เสียงนยิ มนาํ มาเทศนา
ข. เปน หัวใจคาํ สอนของพระพทุ ธเจา
ค. งายตอ การเผยแพรศาสนา

เกณฑก ารใหคะแนน คอื ตอบถกู ได 1 คะแนน ตอบผดิ ได 0 คะแนน

25

เฉลยใบกจิ กรรมที่ 1
ความรเู บ้ืองตนเกีย่ วกับหลกั ธรรมอริยสจั 4

จุดประสงคก ารเรยี นรู วิเคราะหอ งคป ระกอบของหลกั ธรรมอรยิ สัจ 4 ได

คําชีแ้ จง ใหน กั เรยี นวิเคราะหองคประกอบของหลกั ธรรมอริยสัจ 4 ตามทก่ี ําหนดดังตอไปน้ี
(ขอ ละ 2 คะแนน)

...........................................................................................................................................................

1. อรยิ สัจ 4 ประกอบดวยหลักธรรมขอใดบาง
ตอบ ทกุ ข สมุทยั นิโรธ มรรค

2. การที่มนุษยมกี ารเบยี ดเบยี น บบี คั้น ซึ่งกนั และกนั จนทําใหทนตอ สภาวะนัน้ ทนไดย าก จดั เปน
องคป ระกอบขอใดของหลักธรรมอริยสจั 4

ตอบ ทกุ ข

3. สมทุ ัย เหตแุ หง ความทุกข ไดแ ก ตัณหา 3 ประการ คอื
3.1 กามตณั หา หมายถงึ ความอยากในสง่ิ ทร่ี ักใคร และนา พอใจ เปนความอยากทไ่ี มรูจบ
3.2 ภวตณั หา หมายถึง อยากไดใ นตําแหนงฐานะทส่ี งู ข้ึนตามท่ีตนรักใครแ ละพอใจ
3.3 วภิ วตณั หา หมายถึง ความอยากทปี่ ระกอบกับความเบ่อื หนา ยในสภาพทเี่ ปน อยู

ในปจ จุบัน

4. การดบั ตัณหาใหส้นิ ไป จัดเปน องคประกอบในขอใดของหลักธรรมอริยสจั 4
ตอบ การดับทกุ ข

5. หากมเี หตุการณท ที่ าํ ใหเกดิ ทุกข นักเรียนจะมีขอ ปฏิบัติใหถ งึ ความดับทกุ ข ไดอยางไรบาง
ตอบ ขอปฏบิ ตั ิใหถึงความดบั ทกุ ข” หมายถงึ อริยมรรค หรอื หนทาง อนั ประเสรฐิ

ซึ่งประกอบดว ยองค 8 ประการ

26

เฉลยใบกจิ กรรมที่ 2
ความรเู บื้องตน เกยี่ วกับหลกั ธรรมอรยิ สจั 4

จดุ ประสงคก ารเรียนรู เลือกใชหลักธรรมอรยิ สัจ 4 ในการแกปญ หาตามสถานการณไ ด
คาํ ชีแ้ จง ใหน ักเรยี นนาํ หลกั ธรรมอริยสจั 4 มาอธิบายภาพตามสถานการณท ่ีกาํ หนด

(ขอ ละ 5 คะแนน)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..
1. บคุ คลในภาพมแี นวปฏบิ ัตติ ามหลักธรรมอรยิ สัจ 4 อยางไรบา ง

ทมี่ า : www.newmystorygu.blogspot.com

ตอบ บคุ คลในภาพเปนผูทม่ี ีการประพฤติปฏบิ ัตทิ ่ีจะทําใหเ กิดมงคลแกช วี ิต ทาํ บุญเปน นจิ
นอกจากนัน้ ยงั ประพฤตปิ ฏบิ ตั เิ ปนแบบอยางทดี่ ีใหกับลกู หลาน ไดล ะแลวซึง่ ความไมสบายกาย
ไมสบายใจ ซงึ่ เปน ตน เหตใุ หทุกขเกิด ใชธ รรมะเพ่อื ดบั ความทุกข จึงทําใหบ้นั ปลายของชีวติ
มคี วามสขุ การสขุ ใจ

27

2. จากสถานการณตอ ไปนี้ นักเรียนคิดวา บคุ คลในภาพมีการดําเนินชีวิตโดยขาดหลกั อิทธบิ าท 4
ขอ ใดบา ง

ท่มี า : http://www.sanook.com/hot/category/news/

ตาํ รวจรวบตัว 2 โจร โดยท้งั สองถูกตงั้ ขอหากระทําผิดฐานรวมกนั ชงิ ทรัพยผ ูอนื่
ในเวลากลางคนื หรือโดยรวมกระทําความผดิ ดวยกันต้งั แตส องคนข้ึนไป โดยใชยานพาหนะ
เพอื่ การกระทําผิด เพ่อื ใหพ น จากการจับกุม รว มกนั ขม ขนื กระทําชาํ เราผอู ่นื โดยผูอื่นนนั้
อยูใ นภาวะทไ่ี มสามารถขัดขนื ได โดยรวมกันกระทําความผดิ ลกั ษณะเปน การโทรมหญิง พาคนอ่ืน
ไปเพอ่ื การอนาจาร โดยใชอํานาจขูเ ข็ญใชก าํ ลงั ประทษุ รา ยหรือใชวธิ ขี ม ขนื ใจ
ตอบ บุคคลในภาพดําเนนิ ชวี ิตโดยขาดหลักอิทธิบาท 4 ในขอท่ี 2 สมทุ ัย คือ ตณั หา
ความอยากเกินพอดที ีม่ อี ยูใ นจติ ใจนนั่ เอง จนทาํ ใหข าดความยัง้ คิด เห็นผิดเปน ชอบถึงกับกอ
อาชญากรรมข้นึ จนเปนตวั เหตุใหเกิดความทกุ ข

(พจิ ารณาคาํ ตอบของนักเรยี นโดยใหอยใู นดลุ ยพนิ จิ ของครูผสู อน)

28

เฉลยใบกจิ กรรมที่ 5
ความรูเบอื้ งตนเกยี่ วกบั หลกั ธรรมอริยสจั 4

จดุ ประสงคการเรียนรู มีทกั ษะกระบวนการคิดอยางมวี จิ ารณญาณตามที่กาํ หนด

1. ก
2. ข
3. ก
4. ข

ถกู ตอ งนะขอรบั

29

แบบประเมินกระบวนการคดิ

คําส่งั ใหน กั เรยี นประเมินวา ในการทํากจิ กรรมคร้งั น้ี นักเรยี นมพี ฤติกรรมตามรายการตอ ไปน้หี รือไม

รายการประเมิน ใช ไมใช

1. อา นบทความท้ังหมดกอ นระบุประเด็นปญหา

2. พจิ ารณาแหลงท่ีมาของขอมลู

3. พจิ ารณาความเชื่อถอื ของแหลง ขอ มลู

4. จําแนกขอ มูลทร่ี วบรวมไดว า ขอมูลใดเปนขอเท็จจริงขอ มูลใดเปน ความคิดเหน็

5. พิจารณาทางเลอื กในการแกป ญ หาวา มที างใดบา ง โดยพจิ ารณาจากขอ มลู

6. พิจารณาขอเสนอของคนอนื่ วามขี อ มูลสนับสนุนหรอื ไม

7. พิจารณาขอเสนอของคนอน่ื วา ขัดแยงกบั ขอทีป่ รากฏหรอื ไม

8. รบั ฟง ขอ สรุปและเหตุผลของผอู ื่น

9. เปรยี บเทียบขอ สรปุ และเหตุผลของตนเองกบั คนอืน่

10. ลงสรปุ โดยพจิ ารณาจากขอเท็จจริง

11. ลงสรปุ โดยพจิ ารณาจากขอ มลู ทม่ี าจากแหลงนาเช่อื ถือ

12. มน่ั ใจในขอ สรปุ ของตนเองมากข้นึ เมื่อไดร ับขอมูลสนับสนุน

30

แบบทดสอบหลังเรยี น

ชุดกิจกรรม เร่ือง หลกั ธรรมอริยสจั 4 ชดุ ท่ี 1 ความรูเ บ้ืองตนเกี่ยวกับหลกั ธรรมอรยิ สจั 4
ช้นั มัธยมศกึ ษาปที่ 2 โรงเรียนองคก ารบรหิ ารสว นจงั หวดั แพรเ ดนไชยวิทยา
................................................................................................... ..................

คาํ ชี้แจง ใหนกั เรยี นทําเครอื่ งหมาย x ทบั ตวั อกั ษรหนาขอความทีเ่ ปนคาํ ตอบทถี่ กู ตอ งท่สี ดุ
เพยี งขอ เดยี ว

1. ขอ ใดคอื คุณของอริยสัจ
ก. สอนใหไ มป ระมาท
ข. สอนใหปลอ ยวาง
ค. สอนใหแ กป ญหาดว ยตนเอง
ง. สอนใหเขา ใจความเปนจรงิ ของธรรมชาติ

2. หลกั ธรรมอริยสัจ 4 น้นั เปน ธรรมวาดว ยเร่ืองเหตุและผล ขอ ใดจัดอยใู นสวนของผล
ก. ทุกข - สมุทัย
ข. ทุกข - นโิ รธ
ค. นโิ รธ – มรรค
ง. สมุทัย – มรรค

3. เพราะเหตใุ ดหลักธรรมคําสอนของพระพุทธเจา จึงมุงทสี่ อนใหมนุษยมหี ลกั ทพ่ี ึ่งทางใจ
ก. ตองการใหมนษุ ยย อมรบั ความจริง
ข. ตอ งการใหม นุษยนบั ถือพระพทุ ธศาสนา
ค. ตอ งการใหม นุษยอยรู ว มกนั อยา งมีความสุข
ง. ตองการใหมนษุ ยมีความศรัทธานบั ถอื พระพทุ ธเจา

31

4. การท่ีเราสามารถกําหนดรูสาเหตขุ องปญ หาในชวี ติ ของเราไดคือขอใดในอริยสจั 4
ก. ทกุ ข
ข. สมุทัย
ค. นโิ รธ
ง. มรรค

5. ความสขุ ของคฤหัสถหรอื ผคู รองเรือน ขอ ใดสําคญั ทสี่ ดุ
ก. มีทรพั ย
ข. ไมมหี นี้
ค. จายทรัพย
ง. ประพฤติไมมโี ทษ

6. สมพรเกิดความทกุ ข อยากไดบ านสวยๆ และรถยนตค นั ใหม แสดงวา สมพร เกิดตณั หา
ประเภทใด

ก. ภวตัณหา
ข. วิภวตัณหา
ค. การตณั หา
ง. ถูกทกุ ขอ

7. ขอใดคอื คณุ ของอริยสัจ
ก. สอนใหไมป ระมาท
ข. สอนใหป ลอยวาง
ค. สอนใหแกป ญหาดวยตนเอง
ง. สอนใหเ ขาใจความเปน จรงิ ของธรรมชาติ

8. บดิ า – มารดา เปนผมู พี ระคุณตอเรา ทําอยางไรจึงจะไดชือ่ วาปฏบิ ัตดิ ีปฏิบตั ิชอบตอ ทานท้ังสอง
ก. ซื้อของมอบใหทานในโอกาสตา งๆ
ข. เช่อื ฟงและทาํ ตามทีท่ า นอบรมสง่ั สอน
ค. จัดพานดอกไมบูชาทา นในวันพอและวนั แม
ง. ใหเ งินทา นใชจา ยทุกเดือน

32

9. การแกปญหาตามหลักธรรมอริยสัจ 4 มลี กั ษณะอยางไร
ก. ปอ งกันคนทง้ั หลายไมใหเ กดิ ความทุกข
ข. ชว ยสตั วท้งั หลายใหต อสูกับความทกุ ข
ค. ชวยคนทง้ั หลายใหหลุดพน จากความทุกข
ง. ชว ยสตั วทั้งหายใหอดทนตอ ความทกุ ข

10. ขอใด คือ ความหมายของคาํ วา “นิโรธ”
ก. ความสูญสนิ้
ข. ความเสือ่ มสลาย
ค. ความดบั สนิท
ง. ความดบั ทุกข

33

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน

ชุดกิจกรรม เรื่อง หลกั ธรรมอริยสัจ 4 ชดุ ท่ี 1 ความรเู บ้อื งตน เก่ียวกับหลกั ธรรมอรยิ สัจ 4
ชัน้ มธั ยมศึกษาปท ี่ 2 โรงเรียนองคก ารบรหิ ารสวนจังหวัดแพรเ ดนไชยวทิ ยา

1. ง
2. ข
3. ค
4. ข
5. ก
6. ก
7. ง
8. ข
9. ค
10. ง

34

กระดาษคําตอบแบบทดสอบกอ นเรียน
เรอ่ื ง หลกั ธรรมอรยิ สจั 4

ชอ่ื – สกลุ .........................................................................ช. ้นั .......................เลขที่.................

คําชีแ้ จง ใหนกั เรียนทาํ เครื่องหมาย x ทับตัวอกั ษรหนาขอความทเี่ ปน คาํ ตอบที่ถกู ตองทสี่ ุด
เพยี งขอ เดยี ว

ขอ ก ขคง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

เกณฑก ารประเมนิ ผล ผลการประเมิน
ไดค ะแนน 9 – 10 ประเมินอยูในเกณฑดมี าก ทาํ ได. .....................................คะแนน
ไดคะแนน 7 – 8 ประเมนิ อยใู นเกณฑด ี ประเมนิ อยใู นเกณฑ..........................
ไดคะแนน 5 – 6 ประเมินอยูในเกณฑพอใช ลงชอ่ื ...................................ผูประเมนิ
ไดคะแนน ตํ่ากวา 4 ประเมินอยใู นเกณฑป รบั ปรุง
(.........................................)
วนั ท่ี ............/................/................

35

กระดาษคาํ ตอบแบบทดสอบหลังเรียน
เรื่อง หลกั ธรรมอรยิ สัจ 4

ชือ่ – สกุล .........................................................................ช. ัน้ .......................เลขท.่ี ................
คาํ ชีแ้ จง ใหน ักเรยี นทําเครื่องหมาย x ทบั ตวั อักษรหนา ขอ ความทเี่ ปนคําตอบทถี่ กู ตอ งท่ีสุด

เพยี งขอเดียว

ขอ ก ข คง
1
2 ผลการประเมิน
3 ทําได......................................คะแนน
4 ประเมนิ อยใู นเกณฑ..........................
5 ลงช่อื ...................................ผปู ระเมิน
6
7 (.........................................)
8 วันที่ ............/................/................
9
10

เกณฑการประเมนิ ผล
ไดค ะแนน 9 – 10 ประเมินอยูในเกณฑด มี าก
ไดคะแนน 7 – 8 ประเมินอยูในเกณฑด ี
ไดค ะแนน 5 – 6 ประเมินอยูในเกณฑพอใช
ไดคะแนน ตา่ํ กวา 4 ประเมินอยใู นเกณฑปรบั ปรุง

36

บรรณานุกรม

พระระพนิ พทุ ธสิ าโร และคณะ. ชุดกจิ กรรมการพฒั นาการคิดวิเคราะห เสรมิ สรางคุณธรรม
จริยธรรม และคานยิ มท่ีดงี าม ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม กลุม สาระการเรียนรู
สังคม ศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชนั้ มัธยมศึกษาปท่ี 2. กรงุ เทพมหานคร :
พัฒนา คณุ ภาพวิชาการ, 2550.

พระระพนิ พทุ ธสิ าโร และวรี ชาติ นม่ิ อนงค. หนังสือเรียนสาระการเรยี นรพู ืน้ ฐาน ศาสนา
ศลี ธรรม จรยิ ธรรม กลมุ สาระการเรยี นรูสังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม
ชั้นมธั ยมศึกษาปที่ 2. พมิ พคร้ังท่ี 3. พัฒนาคณุ ภาพวิชาการ, 2550.

เพลนิ จติ ต เวฬุวรรณวรกลุ การพัฒนาทกั ษะกระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ โดยใช
ชดุ กจิ กรรม เรอ่ื ง หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 5
วิทยานพิ นธปรญิ ญาครศุ าสตรม หาบัณฑติ สาขาหลกั สูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลยั
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบุรี, 2550.

เวป็ ไซตทอี่ า งถึง
http://sites.google.com วนั ท่สี ืบคน 18 เมษายน 2558
http://tlcthai.com วันทส่ี ืบคน 21 เมษายน 2558
http://newmystorygu.blogspot.com วนั ท่สี บื คน 21 เมษายน 2558
http://www.sanook.com/hot/category/news/ วันท่ีสืบคน 19 เมษายน 2558