ความร วมม อก นเป นท มการทำงานเป นท ม teams efforts

รายงานการศึกษา แนวทางการยกระดับคุณภาพ การผลิตและพัฒนาครูปฐมวัย ในสถาบันอุดมศึกษาของไทย สำนักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร รายงานการศึกษา แนวทางการยกระดบั คุณภาพการผลิตและพฒั นาครูปฐมวยั ในสถาบันอุดมศกึ ษาของไทย สำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ 370.7122 สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ส 691 ร รายงานการศึกษา แนวทางการยกระดับคณุ ภาพการผลิตและพัฒนาครูปฐมวัย ในสถาบนั อุดมศกึ ษาของไทย กรุงเทพฯ : สกศ., 2564. 350 หนา้ ISBN : 978-616-270-301-0 1. การผลติ และพัฒนาครปู ฐมวัย 2. ช่ือเร่อื ง รายงานการศึกษา แนวทางการยกระดบั คุณภาพการผลติ และพฒั นาครปู ฐมวยั ในสถาบันอุดมศกึ ษาของไทย ส่งิ พิมพ์ สกศ. อันดบั ที่ 21/2564 ISBN (e-Book) 978-616-270-301-0 พมิ พ์คร้ังท่ี 1 กนั ยายน 2564 จำนวน 2,000 เลม่ ผจู้ ัดพิมพ์เผยแพร ่ สำนักนโยบายการพฒั นาเด็กปฐมวัย สำนักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา 99/20 ถนนสุโขทยั เขตดสุ ิต กรุงเทพฯ 10300 โทร. 0 2668 7123 ตอ่ 2451, 2447 โทรสาร 0 2241 5152 Web site: http://onec.go.th พมิ พท์ ่ี บรษิ ัท พรกิ หวานกราฟฟิค จำกดั 90/6 ซอยจรญั สนิทวงศ์ 34/1 ถนนจรญั สนทิ วงศ์ แขวงอรณุ อมรนิ ทร์ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700 โทรศัพท์ 0 2424 3249, 0 2424 3252 โทรสาร 0 2424 3249, 0 2424 3252 ค ำ น ำ (ก) คำนำ “การลงทุนการศึกษาของเด็กปฐมวัย” เป็นการลงทุนด้านทรัพยากรมนุษย์ท่ีเน้นคุณค่า และมีผลตอบแทนระยะยาว กล่าวคือ เป็นการสร้างคนท่ีมีคุณภาพเพื่อพัฒนาประเทศในอนาคต ดงั นัน้ การจดั การศึกษาให้แกเ่ ดก็ ปฐมวยั มีพัฒนาการรอบด้านท้ังรา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์ สติปัญญา วินัย และสังคม ให้เหมาะสมกับวัยน้ัน รัฐจำเป็นต้องดำเนินการจัดหาและพัฒนา “ครูปฐมวัย มืออาชีพ” ที่มีคุณภาพท้ังด้านความรู้และทักษะความสามารถในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก มีจิตวิญญาณความเป็นครู มีความรัก ความเมตตา และความศรัทธาต่ออาชีพ ท้ังยังพร้อมเป็น ผู้สร้างสรรค์การจัดประสบการณ์การเรียนรู้อันหลากหลาย เพื่อเตรียมความพร้อมของเด็กปฐมวัย ใหไ้ ดเ้ รยี นรูแ้ ละปรบั ตวั ตามบริบทของสงั คมยุคดจิ ทิ ัลได้อยา่ งเหมาะสมตามพัฒนาการ การผลิตและการพัฒนาครูปฐมวัยให้เป็นบุคลากรด้านการศึกษาท่ีมีความรู้ความสามารถ ในการพัฒนาเดก็ ปฐมวัยให้เปน็ พลเมอื งคุณภาพของชาติ จำเป็นตอ้ งอาศัยความรว่ มมือจากสถาบนั การศึกษาที่ทำหน้าที่ในการผลิตและพัฒนาครูปฐมวัยทั้งจากภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อผลักดัน ให้เกิดกระบวนการผลิตและพัฒนาครูปฐมวัยท่ีมีเป้าหมายเชิงคุณภาพ และสอดคล้องกับมาตรฐาน วิชาชีพท้ังของประเทศไทยและมาตรฐานสากล รวมถึงยกระดับศักยภาพของครูและนักศึกษาคร ู ให้มีความพร้อมในการพัฒนาตนด้านองค์ความรู้ ด้านทักษะวิชาชีพ และด้านคุณธรรมจริยธรรม โดยที่รัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับนโยบาย ระดับพ้ืนที่ และระดับสถานศึกษา ร่วมเป็น กำลงั สำคญั ในการส่งเสริมสนบั สนนุ การผลติ และพัฒนาครปู ฐมวัยไทยมอื อาชพี ด้วยเหตุนี้ สำนักนโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย สังกัดสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ในฐานะฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการนโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย ภายใต้พระราชบัญญัติ การพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2562 ร่วมกับมหาวิทยาลัยสวนดุสิตได้ทำการศึกษาสภาพการผลิต และพฒั นาครปู ฐมวยั ในสถาบนั อดุ มศกึ ษา เพอ่ื วเิ คราะหส์ ภาพการผลติ และพฒั นาครใู นหลากหลายมติ ิ ของสถาบันการศึกษาซ่ึงมีความแตกต่างกันตามแต่ละภูมิภาค เช่น หลักสูตร ผู้เรียน ผู้สอน และปัจจัยสู่ความสำเร็จส่ิงสนับสนุน เป็นต้น ซึ่งผลการวิจัยได้นำไปสู่การกำหนดแนวทาง และข้อเสนอเชิงนโยบายในการยกระดับการผลิตและพัฒนาครูปฐมวัย ให้ได้ตามมาตรฐาน สถานพัฒนาเด็กปฐมวยั แห่งชาต ิ (ข) รายงานการศกึ ษา แนวทางการยกระดับคุณภาพการผลิตและพัฒนาครปู ฐมวยั ในสถาบนั อดุ มศกึ ษาของไทย สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ขอขอบคุณ ดร.พรชุลี ลังกา และคณะนักวิจัย จากมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ที่ได้ศึกษาวิจัยจนประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของโครงการ และ ขอขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่านที่ได้ร่วมให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพื่อให้รายงานการศึกษา วิจัยมีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น และหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงาน ทุกภาคส่วนที่มีภารกิจในการผลิตและพัฒนาครูปฐมวัย รวมถึงหน่วยงานด้านนโยบายและผู้ที่ม ี ส่วนเก่ียวข้องในการดูแลและพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัยท่ีจะได้นำข้อมูล องค์ความรู้ แนวทาง และข้อเสนอเชิงนโยบายการยกระดับการผลิตและการพัฒนาครูปฐมวัยไปประยุกต์ใช้และปรับปรุง การพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาปฐมวัยตามบริบทท่ีเหมาะสมต่อไป (นายอำนาจ วชิ ยานวุ ัต)ิ เลขาธกิ ารสภาการศึกษา บ ท ส รุ ป ผู้ บ ริ ห า ร (ค) บทสรปุ ผู้บรหิ าร เด็กปฐมวัยเป็นวัยท่ีสำคัญต่อการพัฒนาประเทศ เน่ืองจากเป็นการสร้างรากฐานในการ พฒั นาชีวติ ที่สำคัญซ่ึงจะส่งผลตอ่ ความเจรญิ กา้ วหน้าของประเทศในดา้ นอื่น ๆ ตามมา ในปจั จบุ นั ภาครัฐได้ให้ความสำคัญต่อการพัฒนาเด็กปฐมวัย โดยได้มีการจัดทำพระราชบัญญัติการพัฒนา เด็กปฐมวัย พ.ศ. 2562 ซึ่งได้กำหนดไว้ในหมวด 1 มาตรา 5 เรื่องการพัฒนาเด็กปฐมวัย มีใจความว่า “ใหพ้ ฒั นาเดก็ ปฐมวยั ใหค้ รบ ทงั้ ดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ สงั คม และสติปัญญา ปลกู ฝงั คุณลักษณะท่ีดี มีคุณธรรม จริยธรรม การสร้างจิตสำนึกท่ีดีให้กับเด็กปฐมวัย รวมถึงผู้ดูแลเด็ก ต้องมีความรู้ ทักษะ และเจตคติท่ีดีในการพัฒนาเด็กปฐมวัย” และจากงานวิจัยหลายหน่วยงาน ระบุตรงกันว่าการพัฒนาเด็กในช่วง 0-6 ปี เป็นช่วงท่ีพัฒนาการทางสมองของเด็กจะเติบโต อย่างรวดเร็วถ้าเด็กได้รับการพัฒนาที่สอดคล้องต่อพัฒนาการ ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญต่อการเรียนรู ้ และการศกึ ษาต่อไปในอนาคต การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อศึกษาสภาพการผลิตและพัฒนาครูปฐมวัยในสถาบัน อุดมศึกษาของไทย เพื่อกำหนดแนวทางและข้อเสนอเชิงนโยบายในการยกระดับการผลิต และพฒั นาครปู ฐมวยั ในสถาบนั อดุ มศกึ ษาของไทยใหส้ ามารถดำเนนิ งานไดต้ ามมาตรฐานสถานพฒั นา เดก็ ปฐมวยั แหง่ ชาติ ซงึ่ ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ไดม้ กี ารเกบ็ ขอ้ มลู เชงิ ปรมิ าณและขอ้ มลู เชงิ คณุ ภาพ จากกลุ่มผู้ท่ีเกี่ยวข้องและมีส่วนได้ส่วนเสียในการผลิตและพัฒนาครูปฐมวัยในพ้ืนที่ 4 ภูมิภาค ได้แก่ ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง (รวมกรุงเทพฯ) และภาคใต้ ประกอบด้วย 1. ผบู้ รหิ ารและอาจารยใ์ นหลกั สตู รทผี่ ลิตครูปฐมวัย 2. นสิ ติ และนกั ศึกษาสาขาปฐมวัย 3. ผู้บริหาร โรงเรียน ครูพี่เลี้ยง นิสิตและนักศึกษาฝึกประสบการณ์ 4. ผู้ใช้บัณฑิต และ 5. ผู้ทรงคุณวุฒ ิ ด้านปฐมวัย ผู้แทนจากกระทรวงท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การผลติ และพัฒนาครปู ฐมวัย ในส่วนของข้อมูลเชิงปริมาณ กำหนดให้กลุ่มผู้ตอบแบบสอบถามเป็นผู้บริหารสถานศึกษา ครู และพเ่ี ลย้ี งเดก็ จาก 4 ภมู ภิ าค รวมจำนวนทงั้ สน้ิ 8,534 คน เครอื่ งมอื ทใี่ ชใ้ นการวจิ ยั ประกอบดว้ ย แบบสมั ภาษณ์ ประเดน็ การสนทนากลมุ่ แบบบนั ทกึ ขอ้ มลู แบบสอบถามสภาพการบรหิ ารและการจดั ประสบการณ์เรียนรู้สำหรับการพัฒนาเด็กปฐมวัยตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ส่วนข้อมูลเชิงปริมาณใช้การวิเคราะห ์ สถิติบรรยาย ได้แก่ ความถ่ี ร้อยละ ค่าเฉล่ีย และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และสถิติอ้างอิงใช้การ วิเคราะห์ค่าสถิติ One Way ANOVA, การวิเคราะห์ความสัมพันธ์และการวิเคราะห์องค์ประกอบ เชิงยนื ยนั (CFA) (ง) รายงานการศกึ ษา แนวทางการยกระดับคุณภาพการผลติ และพัฒนาครปู ฐมวัยในสถาบันอุดมศึกษาของไทย ผลการวจิ ัย พบวา่ 1. สภาพการผลติ ครูปฐมวัยในปจั จุบนั สถาบันผลิตครูปฐมวัยได้มีการปรับหลักสูตรโดยคำนึงถึงการเปล่ียนแปลงทางสังคม และผลกระทบจากสถานการณ์ภายนอก ส่งผลให้การพัฒนาหลักสูตรมุ่งเน้นผลิตครูในมิติใหม ่ ที่เน้นผลลัพธ์ โดยการผลิตบัณฑิตครูท่ีมีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู เพื่อให ้ นิสิตนักศึกษาครูปฐมวัยท่ีจบการศึกษามีความสามารถในการจัดการเรียนรู้มีความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์วิชาชีพ มีเจตคติท่ีดีต่อวิชาชีพ มีคุณธรรม และเป็นผู้มีจริยธรรมประพฤติปฏิบัติ ตามจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ รวมถึงสามารถสร้างความเชื่อม่ันศรัทธาในคุณภาพของการประกอบ วชิ าชีพ และสามารถทำงานร่วมกบั ผู้อ่ืนไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ เมอื่ พจิ ารณาสภาพการผลติ ครปู ฐมวยั ของสถาบนั อดุ มศกึ ษาในประเทศไทย จำแนกเปน็ 7 ดา้ น ดงั น ้ี ● ดา้ นท่ี 1 หลักสูตรครปู ฐมวัย ➢ โครงสร้างหลักสูตรในสถาบันผลิตครู ผลการศึกษา พบว่าสภาพการผลิต ครูปฐมวัยในแต่ละสถาบันผลิตครูในปัจจุบัน ได้มีการประกาศเปล่ียนหลักสูตรการศึกษาจาก 5 ปี เป็นหลักสูตร 4 ปี ซึ่งในสถาบันผลิตครูบางแห่งยังมีนักศึกษาครูหลักสูตร 5 ปี ท่ียังอยู่ในระหว่าง การศึกษา และต้องใช้เวลาอีก 3 ปี ท่ีนักศึกษากลุ่มน้ีจะสำเร็จการศกึ ษา จากการศกึ ษาโครงสร้าง หลักสูตรและจำนวนหน่วยกิต พบว่าภาพรวมของหลักสูตรผลิตครูปฐมวัย 4 ปี มีจำนวนหน่วยกิต เฉลี่ยประมาณ 139-141 หน่วยกิต แบ่งเป็นกลุ่มวิชาเอกเฉล่ีย 63 หน่วยกิต วิชาชีพครูเฉลี่ย 42 หน่วยกติ วชิ าการศึกษาทวั่ ไปเฉล่ยี 30 หน่วยกิต และวิชาเลอื กเสรี เฉลย่ี 6 หน่วยกิต การลดระยะเวลาการศึกษาลง 1 ปี จากการประกาศใช้หลักสูตรผลิตคร ู 4 ปี ทำให้แตล่ ะสถาบันผลิตครตู ้องมีการปรบั รายวิชาและบูรณาการการจดั การเรียนรู้ มีการจัดทมี ผู้สอนที่มีการบูรณาการองค์ความรู้เพ่ือประโยชน์ต่อตัวนักศึกษาครูอย่างสูงสุด ซ่ึงบางสถาบัน ผลิตครูได้มีการปรับหลักสูตรรายวิชาให้ค่อนข้างตอบโจทย์ต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เช่น รายวิชาการเกิดอย่างมีคุณภาพ สื่อดิจิทัลสำหรับครูปฐมวัย ฯลฯ นอกจากนี้ บางสถาบันผลิตคร ู ได้มีการปรับโครงสร้างหลักสูตรปฐมวัยเป็นวิชาเอกและมีวิชาโทเพื่อผลิตนักศึกษาท่ีมีศักยภาพ ท่หี ลากหลายและตรงตามความต้องการของสภาพสังคมในปัจจุบัน ➢ การฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ผลจากการศึกษา พบว่า การคัดเลือก โรงเรียนเพ่ือให้นักศึกษาไปฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูทุกสถาบันได้ยึดถือหลักเกณฑ์ของคุรุสภา เป็นลำดับแรก จากนั้นจะรับฟังความคิดเห็นของนักศึกษาและอาจารย์นิเทศก์ที่ได้สะท้อน ในปีการศึกษาที่ผ่านมาว่าเจอปัญหาใดบ้าง บางสถาบันการผลิตมีหลักเกณฑ์การคัดเลือกโรงเรียน ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูเพิ่มขึ้นมาในส่วนของการเช่ือมต่อระหว่างแนวคิดการจัดการเรียนร้ ู บ ท ส รุ ป ผู้ บ ริ ห า ร (จ) ของโรงเรียนกับหลักสูตรปฐมวัยซ่ึงต้องไปในทิศทางเดียวกัน สถาบันการผลิตครูทางภาคตะวันออก เฉียงเหนือก็จะมีเกณฑ์การพิจารณาเพ่ิมซึ่งเป็นในส่วนของระยะทางระหว่างโรงเรียนกับสถาบัน ผลติ ครู เพราะหากมรี ะยะทางทไ่ี กลมากเกนิ ไปจะมปี ญั หาการเดนิ ทางของนกั ศกึ ษาและอาจารยน์ เิ ทศก์ ➢ การปรับปรุงหลักสูตร ผลจากการศึกษา พบว่าทุกสถาบันการผลิตคร ู ได้มีการปรับหลักสูตรผลิตครู เดิมจาก 5 ปี เป็นหลักสูตร 4 ปี ในปี พ.ศ. 2562 โดยได้คำนึงถึง การมีส่วนร่วม ความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต ทิศทางการเปล่ียนแปลงทางสังคมโลก เทคโนโลย ี และบทบาทของภาษาองั กฤษตอ่ การเปน็ ครปู ฐมวยั โดยลกั ษณะการจดั รายวชิ าจะเนน้ การบรู ณาการ รายวิชาเข้าด้วยกันเพ่ือออกแบบและจัดทีมผู้สอนแบบบูรณาการ อาจารย์ประจำหลักสูตรมีการ สอบถามความต้องการจากผู้ใช้บัณฑิตเพื่อนำข้อมูลมาปรับปรุงหลักสูตรต่อไป ถึงแม้การปรับปรุง หลักสูตรจะให้ความสำคัญต่อการเปล่ียนแปลงทางสังคมโลก สถาบันผลิตครูส่วนใหญ่ยังคงมี การเน้นและวางฐานรากของการปลูกฝังให้นักศึกษาเกิดจิตวิญญาณความเป็นครู มีจิตเมตตา มีคุณธรรมจริยธรรมความเป็นครู ซ่ึงในหลักสูตรการผลิตครูปฐมวัย 4 ปี สถาบันผลิตครูบางแห่ง ได้ปรับรายวิชาใหม่เข้าไปอยู่ในหลักสูตร ซึ่งเป็นรายวิชาที่ทันสมัยต่อโลกยุคปัจจุบัน ตัวอย่างเช่น การเกิดอยา่ งมคี ณุ ภาพ สภาวการณพ์ อ่ แม่เล้ยี งเดย่ี ว ส่อื ดิจทิ ลั สำหรับครปู ฐมวัย เป็นต้น ● ด้านที่ 2 การบริหารจดั การของหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั ➢ โครงสรา้ งภาระหนา้ ทข่ี องบคุ ลากรในหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั ในหลกั สตู ร การศึกษาปฐมวัยของแต่ละสถาบันการผลิตครูมีลักษณะโครงสร้างภาระหน้าที่ของอาจารย ์ ในหลักสูตรที่ค่อนข้างเหมือนกัน คือมีหน้าท่ีที่แบ่งกันรับผิดชอบอย่างชัดเจน มีท้ังงานฝ่ายวิชาการ ฝึกประสบการณ์ งานกิจการนักศึกษา งานประกันคุณภาพ งานวิจัย และอาจารย์ผู้รับผิดชอบ หลกั สตู รจะมหี นา้ ทเ่ี ปน็ อาจารยท์ ป่ี รกึ ษาประจำชน้ั ปี ซง่ึ จากการสมั ภาษณพ์ บวา่ ลกั ษณะการแบง่ งาน จะกระจายความรับผิดชอบโดยใช้กลไกการประกันคุณภาพเป็นหลักแล้วมีการมอบให้อาจารย์ ในหลักสูตรฯ ดูแลรับผิดชอบงานในฝ่ายต่าง ๆ และมีกระบวนการกำกับติดตามจากอาจารย ์ ในหลกั สตู รดว้ ยกันเอง ➢ กระบวนการคัดเลือกนักศึกษาครูปฐมวัย สถาบันผลิตครูส่วนใหญ่ ใช้ระบบ TCAS ในการคัดเลือกนักศึกษา แต่ก็มีระบบทุน “ครูรักษ์ถ่ิน” ท่ีมีกระบวนการคัดเลือก นักศึกษาทุนสาขาปฐมวัย เป็นลักษณะเฉพาะของทุน ภาพรวมทั่วไปของการคัดเลือกสถาบัน ผลิตครูได้มีการใช้วิธีการสัมภาษณ์นักศึกษา มีการจัดสอบจากส่วนกลางบ้างในบางสถาบัน เช่น การสอบภาษาอังกฤษ สอบวิชาสาขาเฉพาะ ฯลฯ ซึ่งจากการสัมภาษณ์นักศึกษาได้เสนอแนะให้มี เคร่ืองมอื วัดความถนดั ความเป็นครปู ฐมวยั โดยเฉพาะ ➢ การบรหิ ารจดั การเรอ่ื งภาระงานของอาจารยใ์ นหลกั สตู ร ผลจากการศกึ ษา พบว่าภาพรวมของภาระงานอาจารย์ในหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัยของสถาบนั ผลิตครมู คี ่อนข้างมาก โดยเฉลี่ยจะมีภาระงานสอนคนละ 15-18 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ นอกจากน้ียังมีงานกิจกรรมโครงการ (ฉ) รายงานการศกึ ษา แนวทางการยกระดับคณุ ภาพการผลติ และพฒั นาครปู ฐมวัยในสถาบันอุดมศกึ ษาของไทย งานวิจัย งานประกันคุณภาพ การนิเทศนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู และงานส่วนกลาง ของคณะและมหาวิทยาลัย ด้วยภาระงานท่ีค่อนข้างมากจึงมีการบริหารจัดการรายวิชาหรือ ภาระงานต่าง ๆ ด้วยการประชุมแบ่งงานในหลักสูตรฯ เพ่ือเช่ือมโยงกับงานส่วนกลางที่อาจารย์ แต่ละคนรับผิดชอบ อีกท้ังมีการกำหนดผู้รับผิดชอบหลักในการประสานงานกับคณะอ่ืน ๆ เพื่อให้ ตารางสอนและตารางงานมีความเหมาะสมกบั ภาระงานของอาจารยแ์ ต่ละทา่ น ● ดา้ นท่ี 3 ข้อมูลสถาบนั การผลติ คร ู ภาพรวมของการก่อตั้งคณะศึกษาศาสตร์/ครุศาสตร์ ช่ือสถาบันการผลิตครูท่ีเก่าแก่ ที่สุดได้เปิดการเรียนการสอนมาเป็นระยะเวลา 114 ปี และสถาบันการผลิตครูที่ก่อต้ังล่าสุดได้เปิด การเรยี นการสอนมาเปน็ ระยะเวลา 14 ปี ในส่วนหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัยของสถาบันการผลติ ครู ท่ีเก่าแก่ที่สุดเปิดสอนมาเป็นระยะเวลา 80 ปี และสถาบันการผลิตครูท่ีเพ่ิงเปิดสอนล่าสุดเปิดสอน มาเป็นระยะ 1 ปี ภาวะการมงี านทำของบณั ฑิต ภาพรวมภาวะการมีงานทำของบัณฑิต พบว่าบัณฑิตท่ีจบในสาขาวิชาการศึกษา ปฐมวัยมีงานทำร้อยละ 100 แต่เมื่อพิจารณาการทำงานตรงตามสาขาวิชาพบว่าในปี พ.ศ. 2560 มจี ำนวนรอ้ ยละ 70.56 ปี พ.ศ. 2561 มจี ำนวนรอ้ ยละ 72.12 และในปี พ.ศ. 2562 มรี อ้ ยละ 69.48 จะเหน็ ไดว้ า่ จำนวนบณั ฑติ ทท่ี ำงานตรงตามสาขาวชิ ามจี ำนวนลดลง จากการสมั ภาษณผ์ มู้ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ ง พบว่าบณั ฑิตทีท่ ำงานไม่ตรงตามสาขาวชิ าทเ่ี รียน ซ่ึงเหตุผลหลกั คอื ไมต่ ้องการเป็นครอู นบุ าล ➢ ความพรอ้ มของสง่ิ สนับสนุนการผลติ ครู สถาบันผลิตครูมีความพร้อมด้านสิ่งสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ การจัด กิจกรรม มีห้องปฏิบัติการทางคอมพิวเตอร์ ห้องภาษา ห้องสมุด ห้องปฏิบัติการสอน มีโรงเรียน สาธิตท่ีเป็นเหมือนพ้ืนที่ฝึกประสบการณ์สอน แต่ละสถาบันการผลิตครูจะมีเครือข่ายความร่วมมือ ซึ่งเป็นท้ังหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ชุมชน เทศบาล มหาวิทยาลัยบางแห่งมีทุนสนับสนุน การศึกษา ➢ การสนบั สนนุ การผลติ ครจู ากมหาวิทยาลยั มหาวิทยาลัยมีการสนบั สนุนงานวิชาการ งานกิจการนักศกึ ษา งานวจิ ยั สื่อ แหล่งเรียนรู้ มีโครงการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ในเร่ืองการจัดการเรียนการสอน มีการสนับสนุน ในการทำหลกั สูตร การปรบั ปรงุ หลักสตู รมกี ารกำหนดนโยบายทใี่ หค้ วามสำคญั กบั การศกึ ษา ➢ จุดแขง็ ของสถาบันการผลิตคร ู จากการสัมภาษณ์ในมุมมองของอาจารย์ในสถาบันผลิตครูต่อจุดแข็ง ขององค์กร พบว่าอาจารย์ส่วนใหญ่มองว่าจุดแข็งของสถาบันผลิตครูท่ีตนสังกัดมีการทำงานอย่าง เปน็ ระบบ โดยมกี ารสนบั สนนุ จากทางผบู้ รหิ ารระดบั มหาวทิ ยาลยั และผบู้ รหิ ารคณะฯ มกี ารชว่ ยเหลอื ประสานงานคือ ทุกหนว่ ยร่วมมือกันทงั้ ในเรอ่ื งของการพฒั นานักศกึ ษาและพัฒนาอาจารย ์ บ ท ส รุ ป ผู้ บ ริ ห า ร (ช) ● ดา้ นท่ี 4 ขอ้ มูลอาจารย์ผู้สอน ภาพรวมของอาจารย์ผู้สอนในสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย พบว่าโดยเฉล่ียแต่ละ สถาบันมีอาจารย์ผู้สอนประมาณ 6 คน มีอาจารย์ผู้สอนจบการศึกษาในระดับปริญญาเอกเฉล่ีย ร้อยละ 27.66 และจบการศึกษาในระดับปริญญาโทเฉลี่ยรอ้ ยละ 72.34 ➢ ประสบการณ์การทำงาน งานวิจยั และผลงานทางวชิ าการของอาจารย ์ ภาพรวมอาจารย์ในสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัยมีประสบการณ์การทำงาน โดยเฉลี่ย 13 ปี และมีผลงานวิจัยย้อนหลัง 5 ปี โดยเฉล่ีย จำนวน 3 เรื่อง/คน และมีการตีพิมพ ์ ผลงานทางวิชาการย้อนหลัง 5 ปี โดยเฉลี่ย จำนวน 2 ฉบับ/คน ซึ่งจุดแข็งของอาจารย์ในสาขา วชิ าการศึกษาปฐมวัยในภาพรวม คือการทำงานรว่ มกนั ความเข้าใจกัน และการชว่ ยเหลอื กนั ทำให้ ภาพรวมของงานมีผลสำเร็จที่ดี ในส่วนจุดอ่อนของอาจารย์ในหลักสูตรคือเรื่องการขอตำแหน่ง ทางวชิ าการมนี อ้ ยทำใหต้ อ้ งมกี ารพฒั นาอาจารยใ์ หม้ กี ารขอตำแหนง่ ทางวชิ าการ การทำผลงานวจิ ยั และการเรยี นตอ่ ระดบั ปริญญาเอก ● ด้านที่ 5 ข้อมูลนกั ศึกษา ภาพรวมของคา่ เฉลยี่ จำนวนนกั ศกึ ษาสาขาวชิ าการศกึ ษาปฐมวยั ในแตล่ ะชน้ั ปี พบวา่ นักศึกษาในสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัยต้ังแต่ปี พ.ศ. 2560-2563 มีแนวโน้มเพ่ิมข้ึน โดยแต่ละ สถาบนั การผลติ ครปู ฐมวยั มนี ักศึกษาช้นั ปีที่ 1 จำนวน 67 คน นักศึกษาช้นั ปีท่ี 2 จำนวน 62 คน นักศึกษาชั้นปีท่ี 3 จำนวน 59 คน นักศึกษาชั้นปีท่ี 4 จำนวน 40 คน และนักศึกษาช้ันปีท่ี 5 จำนวน 78 คน การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในตัวนักศึกษาหลังเข้าเรียนในรายวิชาและได้ทำ กิจกรรมของหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พื้นฐานความรู้ ความสามารถ และคุณลกั ษณะของนักศกึ ษาตอนแรกเขา้ ในภาพรวม พบว่านักศึกษาส่วนใหญ่ชอบการเป็นครูปฐมวัยจากการมีประสบการณ์เลี้ยงน้อง เลี้ยงหลาน หรือ มีประสบการณ์จากในโรงเรียนท่ีพ่อแม่สอนอยู่เป็นทุนเดิม ทำให้นักศึกษากลุ่มน้ีรู้ถึงความชอบ ความสนใจของตัวเอง และมีนักศึกษาส่วนหน่ึงท่ียังไม่สามารถบอกได้ว่าตนเองถนัดหรือชอบอะไร ท่ตี ดั สินใจเรยี นครู เนื่องจากสว่ นหนง่ึ เปน็ เพราะความต้องการของผู้ปกครอง เม่ือให้นักศึกษาสะท้อนการเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนในตัวนักศึกษาหลังเข้าเรียน ในรายวชิ าและไดร้ ับกิจกรรมของหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พบว่ากจิ กรรมการเรยี นโครงการต่าง ๆ ที่ทางหลักสูตรฯ และคณะจัดทำให้นักศึกษาเกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น ได้ฝึกฝน ได้เรียนรู้ มีประสบการณ์จริงในโรงเรียนทำให้นักศึกษาสามารถนำความรู้ทางทฤษฎีไปใช้ในการปฏิบัติงาน จริงไดโ้ ดยมอี าจารย์เปน็ พ่ีเลี้ยงในการให้คำแนะนำและประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ านของนกั ศกึ ษา (ซ) รายงานการศกึ ษา แนวทางการยกระดบั คณุ ภาพการผลติ และพัฒนาครูปฐมวยั ในสถาบนั อุดมศกึ ษาของไทย ● ดา้ นท่ี 6 สภาพปัญหาการผลติ ครปู ฐมวยั สภาพปญั หาการผลติ ครปู ฐมวยั ของสถาบนั อดุ มศกึ ษาจำแนกได้ ดังนี ้ สภาพปัญหาท่ีเกิดจากหน่วยงานระดับนโยบาย พบว่าในมุมมองของกลุ่ม ผู้ให้ข้อมูลมีความเห็นว่าความไม่ต่อเนื่องของนโยบายการผลิตครูที่มีการเปลี่ยนแปลงค่อนข้างบ่อย และขาดความชัดเจนในการปฏิบัติ ทำให้วัตถุประสงค์การผลิตครูปฐมวัยของสถาบันผลิตครู กบั ความตอ้ งการใชค้ รใู นโรงเรยี นไมส่ อดคลอ้ งกนั เชน่ สถาบนั ผลติ ครสู ว่ นใหญผ่ ลติ ครปู ฐมวยั ทม่ี งุ่ เนน้ การเป็นครูที่สามารถส่งเสริมพัฒนาการของผู้เรียนอย่างสมวัย เพื่อเตรียมความพร้อมของผู้เรียน แต่ในสภาพการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนระดับช้ันอนุบาลเน้นการอ่านเขียน นอกจากนั้นยังพบ ปัญหาในเร่ืองของการรับรองหลักสูตรครู 4 ปี จากหน่วยงานส่วนกลางท่ียังไม่ได้ข้อสรุปชัดเจน และขาดระบบกลไกการประเมนิ ตดิ ตาม สภาพปัญหาที่เกิดจากหน่วยงานผลิตครู พบว่าในมุมมองของกลุ่มผู้ให้ข้อมูล เห็นว่าสภาพปัญหาของสถาบันผลิตครู คืออาจารย์ผู้สอนในสาขาปฐมวัยมีภาระงานสอนมาก และจำนวนอาจารย์ค่อนข้างน้อยเม่ือเทียบกับจำนวนนักศึกษา เน่ืองจากสถาบันผลิตครูมีปัญหา ในการของการคัดเลือกอาจารย์เข้ามาเป็นอาจารย์ประจำเพราะมีผู้จบและผ่านเกณฑ์การคัดเลือก ค่อนข้างน้อย อีกท้ังปัจจุบันหลักสูตรผลิตครูมาปรับลดเหลือ 4 ปี ทำให้เกิดปัญหาในการจัด รายวิชาและการจดั อาจารยล์ งไปนเิ ทศช่วงฝึกประสบการณข์ องนักศึกษา สภาพปญั หาทเ่ี กดิ จากหนว่ ยงานผใู้ ชค้ รู รวมทงั้ ในมมุ มองทางสงั คม เรอื่ งการยอมรบั จากสังคมในด้านศักยภาพของครูปฐมวัยมีค่อนข้างน้อย เนื่องจากว่าสังคมยังมองว่าการจัด การศึกษาระดับปฐมวัยใครก็ทำได้ สอนง่าย เรียนง่าย จึงทำให้คนบางส่วนมองว่านักศึกษาท่ีเรียน สาขาปฐมวัยเป็นกลุ่มคนเรียนไม่เก่ง หรือแม้แต่ในโรงเรียนหรือศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบางแห่งผู้บริหาร มองวา่ ในระดบั ช้นั อนบุ าลหรือเด็กเล็กใครก็สอนได้ สภาพปญั หาโดยรวมของสถาบนั ผลิตครูปฐมวัย สรุปได้ ดงั นี้ 1) มิติผู้เรียน พบว่าผู้เรียนส่วนใหญ่มีการตัดสินใจเลือกสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย เพราะเข้าใจว่าเป็นสาขาท่เี รยี นงา่ ยทีส่ ดุ เมือ่ เทียบกบั สาขาอ่นื ๆ ทางดา้ นการศึกษา ทำให้นักศกึ ษา บางส่วนไม่ได้อยากเป็นครูแต่ที่เลือกเรียนเพราะครอบครัวอยากให้เป็นครู หรือนักศึกษาบางคน มีคุณสมบัติที่ไม่เหมาะกับการเป็นครูปฐมวัย แต่ด้วยสภาพของข้อจำกัดของจำนวนการรับให้ถึงเป้า ของสถาบันการผลิตครูทำให้หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยต้องรับนักศึกษาเข้าเรียน อย่างในบางปี การศึกษาตวั เลอื กหรอื จำนวนคนสมัครเขา้ ศึกษาในหลักสูตรมีน้อย ทำให้นักศึกษาทีถ่ ูกรับเข้าศึกษา มีพ้ืนฐานท่ีแตกต่างกันมากพอควร ไม่ว่าจะเป็นพ้ืนฐานความสามารถ ความรักในวิชาชีพคร ู ฐานะความเปน็ อยู่ของครอบครวั และความสามารถในการเขา้ ถงึ เทคโนโลยี เป็นต้น 2) มติ อิ าจารย์ พบวา่ ภาระงานของอาจารยห์ ลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั มคี อ่ นขา้ งมาก ในเกอื บทกุ สถาบันการผลิตครู ทำใหจ้ ำนวนอาจารย์มีนอ้ ยเมอ่ื เทียบกบั จำนวนนกั ศกึ ษา อกี ทงั้ ยังมี บ ท ส รุ ป ผู้ บ ริ ห า ร (ฌ) ภาระงานอ่ืน ๆ ท่ีอาจารย์ในระดับอุดมศึกษาต้องรับผิดชอบ เช่น งานวิจัย งานประกัน กิจกรรม โครงการพฒั นานักศกึ ษาตามหลกั สูตร งานบริการวิชาการ และงานระดับคณะ/ระดับมหาวิทยาลยั นอกจากน้ียังมีสถาบันการผลิตครูบางแห่งขาดแคลนอาจารย์สาขาปฐมวัยเนื่องจากคนจบสาขา ปฐมวัยท่ีผ่านเกณฑ์การคัดเลือกมีค่อนข้างน้อย หรือบางสถาบันผลิตครูขาดอาจารย์ท่ีมีคุณภาพ ในการจดั การเรียนร้ตู ามหลกั สตู รผลิตครู 4 ปี และ 3) มิติส่ิงสนับสนุน พบว่าในบางสถาบันมีการสนับสนุนด้านหนังสือ/ตำราค่อนข้าง น้อย หรือในด้านการอบรมพัฒนาอาจารย์ที่ได้รับการสนับสนุนค่อนข้างน้อยจากทางคณะ หรือมหาวิทยาลัย นอกจากน้ียังมีปัญหาเรื่องคุณภาพของโรงเรียนเครือข่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพ และแนวทางการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรใู้ นชนั้ เรยี นทไี่ มต่ รงตามความตอ้ งการของสถาบนั ผลติ คร ู หรือบางโรงเรียนมีคุณภาพแต่ติดอยู่ท่ีระยะทางค่อนข้างไกลซ่ึงจะทำให้มีปัญหาในการเดินทาง ไปนิเทศ สภาพปญั หาการผลิตครู จำแนกตามประเภทของสถาบนั ดังนี ้ สภาพปัญหาของวิทยาลัยชุมชนที่ผลิตครูปฐมวัย พบว่าเหตุผลของผู้เรียน ส่วนใหญ่ท่ีตัดสินใจเลือกเรียนสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัยหลักสูตรอนุปริญญา เน่ืองจากมองว่าเป็น สาขาท่ีเรียนง่ายหรือมีโอกาสได้เข้าศึกษาต่อมากกว่าสาขาอ่ืน เม่ือเรียนจบสามารถเปล่ียนไป ทำงานในศูนย์เด็กเล็กหรือโรงเรียนอนุบาลได้ ซึ่งนักศึกษาส่วนใหญ่จบจากการศึกษานอกระบบ (กศน.) มีเพียงบางส่วนที่จบปริญญาตรีสาขาอ่ืน ๆ แต่อยากเปลี่ยนสายงานมาเป็นพ่ีเล้ียงเด็ก ด้วยเหตุนี้ความต้องการของผู้เรียนต่อสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัยในแต่ละปีจึงมีจำนวนผู้สมัครเรียน มากกว่าสาขาอื่น ๆ โดยเฉพาะในพื้นท่ี 3 จังหวัดชายแดนใต้ท่ีมีประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนา อิสลามซ่ึงไม่มีการคุมกำเนิด ทำให้จำนวนอัตราการเกิดของเด็กเพ่ิมสูงขึ้น ส่งผลให้คนในพ้ืนท่ีมี ความสนใจเข้าศึกษาในหลักสูตรอนุปริญญาสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัยจำนวนมาก เพราะมีโอกาส ท่ีจบการศึกษาแล้วมีโอกาสได้งานทำสูง อย่างไรก็ตามเมอ่ื วเิ คราะหถ์ งึ จำนวนอาจารยก์ บั ภาระงาน พบว่าอาจารย์ในวิทยาลัยชุมชนมีภาระงานค่อนข้างหนักเนื่องจากจำนวนอาจารย์ที่น้อยเมื่อ เทียบกับจำนวนนักศึกษา ดังนั้นสภาพปัญหาเรื่องจำนวนอาจารย์กับภาระงานที่มากจึงเป็นปัญหา การผลิตครูปฐมวัยในวิทยาลยั ชุมชน สภาพปัญหาในส่วนของมหาวิทยาลัยของรัฐท่ีผลิตครูปฐมวัย พบว่าอาจารย ์ ผู้สอนในสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัยมีภาระงานมากเนื่องจากมีทั้งงานสอน กิจกรรมโครงการ งานวิจัย งานบริการวิชาการ งานประกันคุณภาพ งานวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาระดับปริญญาโท และปริญญาเอก นอกจากน้ีจำนวนอาจารย์สาขาปฐมวัยค่อนข้างน้อยเมื่อเทียบกับจำนวนนักศึกษา และภาระงาน เน่ืองจากสถาบันผลิตครูมีปัญหาในการคัดเลือกอาจารย์เข้ามาเป็นอาจารย์ประจำ เพราะมีผูจ้ บและผ่านเกณฑ์การคดั เลือกคอ่ นขา้ งนอ้ ย อกี ท้งั ปัจจบุ นั หลักสูตรผลติ ครูปรบั เหลอื 4 ปี ทำให้การจัดรายวิชาและการจัดอาจารย์ลงไปนิเทศช่วงฝึกประสบการณ์รายปีให้กับนักศึกษา มปี ัญหา (ญ) รายงานการศกึ ษา แนวทางการยกระดับคุณภาพการผลติ และพัฒนาครปู ฐมวัยในสถาบันอุดมศกึ ษาของไทย สภาพปัญหาในส่วนของมหาวิทยาลัยราชภัฏที่ผลิตครูปฐมวัย พบว่าเป็นเร่ือง คุณภาพของนักศึกษาท่ีรับเข้ามาศึกษาต่อเนื่องจากกระบวนการคัดเลือกไม่สามารถใช้เกณฑ ์ ที่เข้มข้นได้เพราะจำนวนผู้สมัครกับจำนวนรับใกล้เคียงกัน ทำให้สถาบันผลิตครูส่วนใหญ่ต้องมี กิจกรรมเสริมเพ่ือพัฒนานักศึกษาครู นอกจากน้ีจะเป็นปัญหาเร่ืองการหาโรงเรียนฝึกประสบการณ์ วิชาชีพครูที่มีคุณภาพและไม่ไกลจากมหาวิทยาลัยเพราะอาจารย์จะมีปัญหาเรื่องการเดินทาง เมือ่ ต้องไปนเิ ทศนกั ศกึ ษา ซง่ึ ในปัญหาน้ีส่วนใหญจ่ ะพบในภาคเหนอื และภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ● ดา้ นที่ 7 ปจั จัยทส่ี ่งผลตอ่ การผลิตครูปฐมวยั ปัจจัยท่ีส่งผลต่อการผลติ ครปู ฐมวยั แบ่งเป็น 4 ดา้ น ประกอบด้วย 1. ปัจจยั ด้านบุคลากรที่ทำหน้าทีส่ อน - คุณภาพของอาจารย์ผู้สอน (ความรู้ ความสามารถ วิทยฐานะทางวิชาการ วฒุ กิ ารศึกษา) - ภาระงานอาจารย์ 2. ปัจจัยด้านผู้เรียน - คณุ ภาพผ้เู รียน (ทัศนะคติ แรงจูงใจ เป้าหมายในการเรียน) - ความสามารถในการพัฒนาตนเองของผเู้ รียนผ่านการทำกิจกรรมต่าง ๆ - สถานะทางเศรษฐกจิ ของผเู้ รียน 3. ปจั จัยดา้ นหลักสูตรและการจัดการเรยี นการสอน - สือ่ เทคโนโลยี วัสดุ อปุ กรณ์ทใี่ ชป้ ระกอบการสอน - เอกสาร/หนังสือ/ตำรา/งานวิจัย และอื่น ๆ เพอื่ ใหผ้ ู้เรยี นไดค้ น้ ควา้ - แหลง่ เรียนรู/้ สถานศกึ ษาสำหรบั ฝกึ ประสบการณท์ ี่มีคณุ ภาพ - งบประมาณในการจดั การเรียนการสอน - ความรคู้ วามเขา้ ใจในการจดั การศกึ ษาปฐมวยั ของครู ผบู้ รหิ าร และสถานศกึ ษา 4. ปัจจัยดา้ นสภาพสังคม เศรษฐกิจ และคา่ นิยมทางสังคม - ความคาดหวงั ของผู้ปกครองในปัจจบุ ันทีต่ อ้ งการใหบ้ ตุ รหลานรบั ราชการครู - การเปลี่ยนแปลงของนโยบายของรัฐบาลในการปฏิรูประบบการผลิตครูให้มี คุณภาพ - ความตอ้ งการใช้บัณฑิตลดลง (ตลาดแรงงาน และอัตราการบรรจรุ าชการ) - อัตราการเกิดของเด็กในปัจจุบันลดลง - ผลกระทบของการแพร่ระบาดของโรคติดต่อ เช่น การแพร่ระบาดของโรค ตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (Covid 19) บ ท ส รุ ป ผู้ บ ริ ห า ร (ฎ) ● ดา้ นท่ี 8 แนวทางสู่ความสำเรจ็ แนวทางสู่ความสำเร็จในการผลิตครปู ฐมวยั มีดังน้ี - มหาวิทยาลยั มกี ารช่วยเหลอื ในการพัฒนาหลกั สูตรการผลติ ครปู ฐมวยั - ผ้บู ริหาร ครู โรงเรียนเครอื ข่ายมสี ่วนร่วมเสนอแนะเรือ่ งของการผลิตหลกั สูตร เพ่อื ออกแบบรายวิชา ในการสอนที่ทันต่อการเปลย่ี นแปลงของผู้เรยี นในปจั จบุ นั - มหาวิทยาลัยมีอัตลักษณ์จุดเน้นการผลิตครูปฐมวัยมาแต่ในอดีตทำให้ได้รับ ความไวว้ างใจตอ่ ผู้ปกครอง - ศิษย์เกา่ ให้การสนบั สนุนกิจกรรมหลักสูตรการผลิตครูปฐมวยั 1. ผลการศึกษาสภาพการพัฒนาครูปฐมวัยในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย (In-Service Training) พบวา่ ในดา้ นหลกั สูตรการพฒั นาครูปฐมวัย สว่ นใหญ่เป็นหลกั สูตรฝึกอบรมระยะสั้น ที่ใช้เวลาประมาณ 1-3 วัน และเป็นการอบรมแบบบรรยายร่วมกับปฏิบัติการแต่ในปัจจุบัน สืบเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid 19) ส่งผลให ้ รปู แบบการจดั หลกั สตู รในการพฒั นาครปู ฐมวยั เปน็ แบบออนไลนเ์ พมิ่ มากขน้ึ ทง้ั การอบรมใหค้ วามร ู้ การนิเทศติดตาม และประเมินผลผ่านโปรแกรมต่าง ๆ เช่น Zoom, Microsoft Teams, Facebook Live และอนื่ ๆ จะเห็นได้วา่ ในปัจจุบนั มชี ่องทางในการอบรมเพม่ิ มากข้นึ และมหี ัวข้อ ในการอบรมสำหรับครูปฐมวัยที่หลากหลาย เช่น การจัดประสบการณ์การเรียนรู้สำหรับเด็กในยุค New Normal โลกเปล่ียนครูปรับ และจิตวิทยาการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนเข้าใจเด็กปฐมวัยที่มี ความต้องการท่ีแตกต่างผ่านการสังเกตอย่างใคร่ครวญ เป็นต้น ซึ่งหลักสูตรการอบรมเพ่ือพัฒนา ครูปฐมวัยแบบออนไลน์มีท้ังแบบเสียค่าใช้จ่ายและไม่เสียค่าใช้จ่าย ส่งผลให้ครูปฐมวัยมีช่องทาง ในการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง แต่จากการศึกษาประเด็นการพัฒนาครูในสถานพัฒนาเด็ก ที่อยู่ต่างสังกัดกันยังพบความแตกต่างกันในมิติของโอกาสในการพัฒนาครูปฐมวัยที่อาจเกิดมาจาก ความไม่เพียงพอในด้านปัจจัยสนับสนุน งบประมาณ และมีผู้บริหารบางส่วนยังไม่เข้าใจถึง ความจำเป็นในการพัฒนาครูปฐมวัย ในส่วนของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยที่สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) และสงั กัดกระทรวงการอุดมศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (อว.) (โรงเรียนสาธิต) จะมีโอกาสและมีปัจจัยสนับสนุนการพัฒนาครูปฐมวัย มากกว่าสงั กัดอืน่ ๆ ผลจากการศึกษา 2. ความต้องการของครูปฐมวัยในการพัฒนาตนเอง พบว่าครูปฐมวัยส่วนใหญ ่ มีความต้องการพัฒนาตนเองในประเด็นด้านเทคนิคการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียนแบบ Active Learning การวดั ประเมินพฒั นาการผเู้ รียนตามชว่ งวยั การจัดกจิ กรรม Coding ความรพู้ น้ื ฐานของ กลุ่มเด็กท่ีมีความต้องการพิเศษ การจัดการกับสภาวการณ์ฉุกเฉินหรือโรคระบาด ความรู้เบื้องต้น สำหรบั การปอ้ งกนั โรคระบาด และทักษะการสอื่ สารระหวา่ งผู้ปกครองชุมชน ซง่ึ รูปแบบการพฒั นา (ฏ) รายงานการศกึ ษา แนวทางการยกระดับคุณภาพการผลติ และพฒั นาครูปฐมวยั ในสถาบันอุดมศึกษาของไทย ตนเองที่ครตู ้องการเปน็ แบบการอบรมทม่ี ีพ่เี ลยี้ งหรือโค้ช ทีจ่ ะคอยเปน็ ผู้ใหค้ ำปรึกษาเพ่ือนำสง่ิ ท่ไี ด้ จากการอบรมมาปฏบิ ตั โิ ดยมผี คู้ อยชแ้ี นะและประเมินผลการปฏบิ ตั งิ าน 3. สภาพการพัฒนาครูปฐมวัยในปัจจุบัน พบว่าครูปฐมวัยในหน่วยงานต้นสังกัด ท่ีต่างกันล้วนได้รับการพัฒนาท้ังในเรื่องของความรู้ความเข้าใจ การเสริมสร้างสมรรถนะในการจดั กิจกรรมการพัฒนาผู้เรียนปฐมวัย แต่มีบางส่วนที่มีปัญหาในเรื่องของส่ิงสนับสนุนทั้งงบประมาณ อัตรากำลัง และภาระงานทม่ี าก ทำให้การพฒั นาตนเองของครปู ฐมวัยไมเ่ ปน็ ไปตามความตอ้ งการ 4. โดยสภาพปญั หาในการพฒั นาครปู ฐมวยั พบวา่ ภาระงานทม่ี ากและจำนวนครปู ฐมวยั ในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยท่ีค่อนข้างน้อยเป็นอุปสรรคต่อการไปเข้าร่วมการพัฒนา นอกจากนั้น ยังพบว่ามีผู้บริหารส่วนหนึ่งที่ยังไม่เข้าใจในบทบาทหน้าท่ีของครูปฐมวัยซึ่งยังเข้าใจว่าเด็กปฐมวัย สอนง่ายไม่ต้องอบรมก็สอนได้ ทำให้ครูส่วนหน่ึงไม่ได้รับการสนับสนุนให้ไปเข้าร่วมการพัฒนา นอกจากนั้นยังมีความแตกต่างในเร่ืองของความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถของครูปฐมวัยจบใหม่ ท่จี บต่างสถาบันการผลติ ครู 5. โดยปัจจัยท่ีส่งผลต่อการพัฒนาครูปฐมวัย คือการได้รับสนับสนุนจากผู้บริหาร การมี เครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนาครูปฐมวัยท่ีช่วยเหลือกัน ภาระงานของครู งบประมาณ ส่ิงสนับสนุนการพัฒนาและการมีพ่ีเล้ียงหรือโค้ชในการพัฒนาเป็นสิ่งท่ีสำคัญ เพราะทำให้ครูเกิด ความมั่นใจและหากพบปัญหายงั มพี ีเ่ ลีย้ งหรอื โคช้ ท่ีสามารถขอคำปรึกษาได ้ ผลการศึกษาสภาพการบริหารและการจัดประสบการณ์เรียนรู้สำหรับการพัฒนา เด็กปฐมวัยตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ พบว่าสภาพการบริหารและการจัด ประสบการณ์เรียนรู้สำหรับการพัฒนาเด็กปฐมวัยโดยรวมมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.30 มีส่วนเบ่ียงเบน มาตรฐานเท่ากบั 0.51 อยใู่ นระดบั มาก และเมอ่ื พิจารณารายมาตรฐานพบว่า มาตรฐานด้านท่ี 1 การบริหารจัดการ มคี า่ เฉล่ยี เท่ากับ 4.21 อยู่ในระดับมาก มสี ว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.54 เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าการจัดการเพ่ือส่งเสริมสุขภาพและการเรียนรู้มีค่าเฉล่ียสูงสุด (M=4.26 SD=0.60) รองลงมาคือการบริหารจัดการบุคลากรทุกประเภทตามหน่วยงานท่ีสังกัด (M=4.23 SD=0.65) การบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ (M=4.21 SD=0.63) การส่งเสริมการม ี ส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน (M=4.18 SD=0.63) และการบริหารจัดการสภาพแวดล้อม เพอ่ื ความปลอดภยั มคี า่ เฉลยี่ ตำ่ สดุ (M=4.17 SD=0.62) ตามลำดบั มาตรฐานดา้ นท่ี 2 คร/ู ผดู้ แู ลเดก็ ให้การดแู ลและจดั ประสบการณ์เรยี นรแู้ ละการเล่นเพอ่ื พฒั นาเด็กปฐมวยั มีค่าเฉลย่ี เทา่ กบั 4.39 อยู่ในระดับมาก มีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.53 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าการส่งเสริม พฒั นาการดา้ นรา่ งกายและดแู ลสขุ ภาพมคี า่ เฉลยี่ สงู สดุ (M=4.47 SD=0.55) รองลงมาคอื การสง่ เสรมิ พฒั นาการ ดา้ นอารมณ์ จติ ใจ สงั คม ปลูกฝงั คุณธรรมและความเป็นพลเมืองดี (M=4.43 SD=0.56) การส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา ภาษา และการสื่อสาร (M=4.38 SD=0.57) การดูแลและ บ ท ส รุ ป ผู้ บ ริ ห า ร (ฐ) พัฒนาเด็กอย่างรอบด้าน (M=4.34 SD=0.57) และการส่งเสริมเด็กในระยะเปล่ียนผ่านให้ปรับตัว สู่การเชื่อมตอ่ ในขน้ั ถัดไปมคี า่ เฉล่ียต่ำสดุ (M=4.29 SD=0.66) ตามลำดบั ➢ ผลการเปรยี บเทยี บสภาพการบรหิ ารและการจดั ประสบการณเ์ รยี นรสู้ ำหรบั การพัฒนาเด็กปฐมวัย จำแนกตามสังกัด สังกัดท่ีแตกต่างกันมีค่าเฉล่ียสภาพการบริหารและ การจดั ประสบการณเ์ รยี นรสู้ ำหรบั การพฒั นาเดก็ ปฐมวยั โดยรวมทกุ มาตรฐานและทกุ ขอ้ แตกตา่ งกนั อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 โดย ในมาตรฐานด้านที่ 1 สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ ส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) กรุงเทพมหานคร (กทม.) และโรงเรียนสาธิตมีค่าเฉล่ียมาตรฐาน ดา้ นที่ 1 การบริหารจัดการสูงกวา่ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน (สพฐ.) กับองค์กร ปกครองส่วนท้องถ่ิน (อปท.) ส่วน มาตรฐานด้านท่ี 2 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษา เอกชน (สช.) กรงุ เทพมหานคร (กทม.) และโรงเรยี นสาธติ มคี า่ เฉลยี่ มาตรฐานดา้ นท่ี 2 คร/ู ผดู้ แู ลเดก็ ให้การดูแลและจัดประสบการณ์เรียนรู้และการเล่นเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยสูงกว่าสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน (สพฐ.) องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน (อปท.) สถานรบั เล้ียงเดก็ และอน่ื ๆ ➢ ผลการเปรยี บเทยี บสภาพการบรหิ ารและการจดั ประสบการณเ์ รยี นรสู้ ำหรบั การพัฒนาเด็กปฐมวัยจำแนกตามภาค พบว่าภาคท่ีแตกต่างกันมีค่าเฉลี่ยสภาพการบริหารและ การจดั ประสบการณเ์ รยี นรสู้ ำหรบั การพฒั นาเดก็ ปฐมวยั โดยรวมทกุ มาตรฐานและทกุ ขอ้ แตกตา่ งกนั อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมาตรฐานด้านที่ 1 ภาคกลางและภาคตะวันออก มคี า่ เฉล่ยี มาตรฐานดา้ นที่ 1 การบริหารจดั การสงู กวา่ ภาคเหนอื สว่ นภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือและ ภาคกลางค่าเฉลี่ยมาตรฐานด้านที่ 1 การบริหารจัดการสูงกว่าภาคตะวันออกและภาคใต้อย่างม ี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มาตรฐานด้านที่ 2 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคกลาง มีค่าเฉลี่ยมาตรฐานด้านท่ี 2 ครู/ผู้ดูแลเด็กให้การดูแลและจัดประสบการณ์เรียนรู้และการเล่นเพ่ือ พัฒนาเด็กปฐมวัยสูงกว่าภาคตะวันออกและภาคใต้ ส่วนภาคกลางมีค่าเฉลี่ยมาตรฐานด้านท่ี 2 ครู/ผู้ดูแลเด็กให้การดูแลและจัดประสบการณ์เรียนรู้และการเล่นเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยสูงกว่า ภาคเหนอื และภาคเหนอื มคี า่ เฉลย่ี มาตรฐานดา้ นที่ 2 คร/ู ผดู้ แู ลเดก็ ใหก้ ารดแู ลและจดั ประสบการณ ์ เรียนรู้และการเลน่ เพอ่ื พฒั นาเดก็ ปฐมวยั สูงกวา่ ภาคใต้ ➢ ผลการเปรยี บเทยี บสภาพการบรหิ ารและการจดั ประสบการณเ์ รยี นรสู้ ำหรบั การพัฒนาเด็กปฐมวัย จำแนกตามวุฒิการศึกษา วุฒิการศึกษาที่แตกต่างกันมีค่าเฉลี่ยสภาพ การบริหารและการจัดประสบการณ์เรียนรู้สำหรับการพัฒนาเด็กปฐมวัยโดยรวม ทุกมาตรฐานและ ทุกข้อแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 วุฒิการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรีมีค่าเฉลี่ย การบริหารจัดการสภาพแวดล้อมเพื่อความปลอดภัยสูงกว่าปริญญาตรีและปริญญาโทข้ึนไป ส่วนวุฒิการศึกษาปริญญาโทขึ้นไปมีค่าเฉล่ียการบริหารจัดการสภาพแวดล้อมเพ่ือความปลอดภัย สูงกว่าปริญญาตรอี ยา่ งมนี ยั สำคญั ทางสถิตทิ ่รี ะดับ .05 มาตรฐานดา้ นท่ี 2 วุฒิการศึกษาปริญญาโท (ฑ) รายงานการศึกษา แนวทางการยกระดับคณุ ภาพการผลิตและพัฒนาครปู ฐมวยั ในสถาบนั อุดมศกึ ษาของไทย ขึ้นไปมีค่าเฉล่ียมาตรฐานด้านที่ 2 ครู/ผู้ดูแลเด็กให้การดูแลและจัดประสบการณ์เรียนรู้และ การเลน่ เพอื่ พฒั นาเดก็ ปฐมวยั ตำ่ กวา่ ปรญิ ญาตรแี ละปรญิ ญาตรอี ยา่ งมนี ยั สำคญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดบั .05 ➢ ผลการเปรยี บเทยี บสภาพการบรหิ ารและการจดั ประสบการณเ์ รยี นรสู้ ำหรบั การพฒั นาเดก็ ปฐมวยั จำแนกตามประสบการณท์ ำงาน พบวา่ ประสบการณก์ ารทำงานทแ่ี ตกตา่ งกนั มีค่าเฉลี่ยสภาพการบริหารและการจัดประสบการณ์เรียนรู้สำหรับการพัฒนาเด็กปฐมวัยโดยรวม ทุกมาตรฐานและทุกขอ้ แตกต่างกนั อย่างมนี ยั สำคญั ทางสถิตทิ ี่ระดับ .05 มาตรฐานดา้ นท่ี 1 พบว่า ประสบการณท์ ำงาน 16 ปี ขนึ้ ไป มคี า่ เฉลยี่ มาตรฐานดา้ นที่ 1 การบรหิ ารจดั การสงู กวา่ ประสบการณ ์ ทำงานต่ำกว่า 5 ปี 6-10 ปี และ 11-15 ปีอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 มาตรฐานที่ 2 ประสบการณ์ทำงาน 16 ปีข้ึนไป มีค่าเฉล่ียมาตรฐานด้านท่ี 2 ครู/ผู้ดูแลเด็กให้การดูแลและจัด ประสบการณเ์ รยี นรแู้ ละการเลน่ เพอื่ พฒั นาเดก็ ปฐมวยั สงู กวา่ ประสบการณท์ ำงานต่ำกว่า 5 ปี และ 6-10 ปอี ย่างมนี ัยสำคัญทางสถิติท่รี ะดับ .05 3. แนวทางการยกระดบั การผลติ และการพฒั นาครปู ฐมวยั ในสถาบนั อดุ มศกึ ษาของไทย ใหส้ ามารถดำเนนิ งานได้ตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแหง่ ชาติ มีดังนี้ 3.1 แนวทางการยกระดบั การผลติ ครปู ฐมวยั ในสถาบนั อดุ มศกึ ษาของไทย (Pre-Service Training) ใหส้ ามารถดำเนนิ งานไดต้ ามมาตรฐานสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั แหง่ ชาติ ประกอบดว้ ย 7 ดา้ น ดงั น้ี 1) ดา้ นการยกระดบั วชิ าชพี ครปู ฐมวยั ควรมกี ารจดั ทำมาตรฐานวชิ าชพี ครปู ฐมวยั และพี่เลี้ยงเด็กระดับชาติ มาตรฐานผู้บริหารสถานศึกษาสำหรับการจัดการศึกษาระดับปฐมวัย ระดับชาติควรจัดให้มีใบประกอบวิชาชีพครูปฐมวัยและพ่ีเลี้ยงเด็กทุกสังกัดโดยเฉพาะ ควรมี การจัดระบบกลไกการประเมินรับรองคุณภาพของสถานศึกษาท่ีจัดการศึกษาปฐมวัย และมีระบบ กลไกการตดิ ตามคณุ ภาพการผลิตครปู ฐมวัยจากหนว่ ยงานส่วนกลางระดับประเทศ 2) ด้านนโยบายการผลิตครูปฐมวัยสู่มาตรฐานสากล ควรกำหนดนโยบายผลิต ครูปฐมวัยสู่มาตรฐานสากลที่มาจากการมีส่วนร่วมของทุกสังกัดที่เก่ียวข้องกับเด็กแรกเกิดถึง 6 ปี นโยบายการผลติ ครปู ฐมวยั ทมี่ าจากสว่ นกลางระดบั ประเทศควรมคี วามตอ่ เนอื่ งและมคี วามสอดคลอ้ ง กับมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ และควรมีการจัดทำมาตรฐานอาจารย์มืออาชีพ สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัยส่วนกลางระดับชาติเพื่อสร้างการรับรู้ถึงจุดเน้นของนโยบายการผลิต ครูปฐมวยั กับทุกสถาบันการผลิต 3) ด้านการยกระดับคุณภาพสถาบันการผลิตครูปฐมวัยตามอัตลักษณ์ ควรมี การสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างสถาบันการผลิตครูท้ังในประเทศและต่างประเทศ มีการจัด ระบบเครอื ขา่ ยสถาบนั ในการผสานความรว่ มมอื ผลติ ครปู ฐมวยั ควรมกี ารสง่ เสรมิ การผลติ ครปู ฐมวยั ตามอัตลักษณ์ของแต่ละสถาบันการผลิตและลักษณะเฉพาะของท้องถ่ิน มีการปรับเปล่ียนรูปแบบ/ บ ท ส รุ ป ผู้ บ ริ ห า ร (ฒ) วิธีการจัดการเรียนรู้เพ่ือให้สอดรับกับนโยบายการผลิตครูปฐมวัยของชาติ และควรมีกิจกรรม การสรา้ งแรงบันดาลใจในการเป็นครปู ฐมวัยสำหรบั นกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในพน้ื ที ่ 4) ด้านหลักสูตรการผลิตครูปฐมวัยที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก ควรมีการปรับปรุงหลักสูตรโดยคำนึงถึงการเปล่ียนแปลงโครงสร้างทางสังคมและการปรับตัวเพ่ือ การอยู่ร่วมกัน โดยเน้นการสร้างการมีประสบการณ์จริงจากกิจกรรมหลักของหลักสูตรการผลิต ครปู ฐมวยั ควรมกี ารออกแบบรายวชิ าทท่ี นั ตอ่ การนำไปใชใ้ นสภาวการณท์ างสงั คมทเ่ี ปลยี่ นแปลงไป และควรมีการเพิ่มกิจกรรมเสริมหลักสูตรท่ีสะท้อนถึงการปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครูปฐมวัย และการเตรียมความพร้อมเขา้ สูเ่ ส้นทางวชิ าชพี ครูปฐมวยั 5) ด้านการเสริมสร้างสมรรถนะอาจารย์ผู้สอนครูสู่ระดับสากล ควรมีการสร้าง ระบบเครือข่ายการเรียนรู้ทางวิชาชีพของกลุ่มอาจารย์สาขาการศึกษาปฐมวัยท้ังในประเทศและ ต่างประเทศควรมีระบบการพัฒนาอาจารย์สาขาการศึกษาปฐมวัยสู่การพัฒนาวิชาชีพในระดับ สากลในเรื่องของการพฒั นาทางวิชาการและงานวจิ ยั 6) ด้านการเสริมสร้างสมรรถนะนิสิต/นักศึกษาครูปฐมวัยสู่เส้นทางครูมืออาชีพ ควรมีระบบการวัดประเมินความถนัดความเป็นครูปฐมวัย ควรมีช่องทางการพัฒนาความถนัด ด้านอ่ืน ๆ ให้กับนักศึกษาครูปฐมวัย ควรมีระบบเครือข่ายนักศึกษาครูปฐมวัยเชิงพ้ืนที่และระดับ ประเทศ และมรี ะบบกลไกการติดตามเพอ่ื การพฒั นานกั ศึกษาครูปฐมวยั ทส่ี ำเรจ็ การศกึ ษา 7) ดา้ นการสง่ เสรมิ สงิ่ สนบั สนนุ การผลติ ครอู ยา่ งบรู ณาการ ควรมรี ะบบเครอื ขา่ ย โรงเรียนที่มีคุณภาพสำหรับส่งนักศึกษาไปฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูท่ีมีมาตรฐาน ควรมีการจัด สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ท่ีนักศึกษาครูปฐมวัยสามารถใช้ฝึกปฏิบัติและฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ในยุคดิจิทัล ควรมีการส่งเสริมสนับสนุนการเข้าถึงโอกาสทางการเรียนรู้ของกลุ่มนักศึกษาครูที่มี ความเหลื่อมล้ำ 3.2 แนวทางการยกระดับการพัฒนาครูปฐมวัยในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย (In-Service Training) ให้สามารถดำเนินงานได้ตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย แห่งชาติ ประกอบด้วย 4 ด้าน ดงั นี้ 1) ด้านนโยบายการพัฒนาครูปฐมวัยสู่ความเป็นเลิศ ควรมีนโยบายการพัฒนา ครูปฐมวัยท่ีส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาชีพ และมีความต่อเน่ืองของการพัฒนาตามมาตรฐาน สมรรถนะครูปฐมวัยกลางของประเทศโดยมีระบบกลไกการติดตามผลการพัฒนาครูปฐมวัยจาก หน่วยงานกลางของประเทศ และควรมีหน่วยงานกลางของจังหวัด/พ้ืนท่ีในการขับเคลื่อนนโยบาย การพฒั นาครปู ฐมวยั ไปส่กู ารปฏิบตั ิ 2) ด้านความมั่นคงก้าวหน้าทางวิชาชีพครูปฐมวัย ควรมีระบบการสร้าง แรงจูงใจในการพัฒนาตนเองในเส้นทางวิชาชีพ จากองค์กรหรือหน่วยงานระดับประเทศ เช่น (ณ) รายงานการศึกษา แนวทางการยกระดบั คณุ ภาพการผลติ และพัฒนาครปู ฐมวยั ในสถาบันอดุ มศกึ ษาของไทย การให้รางวัล การเชิดชูเกียรติ โดยมีระบบการเปรียบเทียบเส้นทางความก้าวหน้าทางวิชาชีพ ของครูปฐมวัยท่ีอยู่ต่างสังกัด และควรมีการสนับสนุนทุนการศึกษาในระดับปริญญาโท-เอก เพอื่ ความก้าวหน้าทางวิชาชพี ของครปู ฐมวยั 3) ด้านรูปแบบการพัฒนาครูปฐมวัยสู่ความเป็นเลิศ ควรมีการสร้างเครือข่าย การพัฒนาทางวิชาชีพครูปฐมวัยที่มาจากหน่วยงานส่วนกลาง มีระบบการพัฒนาครูปฐมวัย โดยสถาบันผลิตครูในพื้นท่ีเป็นศูนย์กลาง มีการส่งเสริมพัฒนาครูปฐมวัยต้นแบบสู่ความเป็นเลิศ ในระดับสากลโดยจัดหลักสูตรการพัฒนาครูปฐมวัยสำหรับการ Re-Skills และ Up-Skills ตามความจำเป็นของแต่ละบุคคล และควรมีระบบธนาคารหน่วยกิตที่ให้ครูได้สะสมจำนวนช่ัวโมง การพฒั นาตนเองเพื่อเส้นทางความกา้ วหนา้ ทางวิชาชีพ 4) ด้านการส่งเสริมส่ิงสนับสนุนการพัฒนาครูสู่ความเป็นเลิศ ควรมีการจัดสรร ทุนการศึกษาสำหรับครูปฐมวัยในการศึกษาในระดับท่ีสูงข้ึนต่อไป ทุนสำหรับครูปฐมวัยในการ เข้ารับการพฒั นาตนเองทางวชิ าชีพ และทนุ สำหรบั การผลิตนวัตกรรมเพ่อื ใช้ในการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้และพัฒนาเด็กปฐมวัย มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศกลางของประเทศท่ีรวบรวมข้อมูล ทางวิชาการท่ีเก่ียวข้องกับการดูแลพัฒนาและจัดประสบการณ์การเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย และควรมหี นว่ ยงานกลางของประเทศทด่ี แู ลดา้ นการวจิ ยั และพฒั นานวตั กรรมดา้ นการศกึ ษาปฐมวยั และสง่ ตอ่ ข้อมูลให้กบั ครูปฐมวัยทั่วประเทศ 4. ขอ้ เสนอเชงิ นโยบายการผลติ และพฒั นาครปู ฐมวยั ในสถาบนั อดุ มศึกษาของไทย 4.1 ข้อเสนอเชิงนโยบายการผลิตครูปฐมวัยในสถาบันอุดมศึกษาของไทย (Pre-Service Training) ให้สามารถดำเนินงานได้ตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย แหง่ ชาติ มดี ังนี้ 1) หน่วยงานระดับนโยบาย ควรจัดให้มีหน่วยงานกลางของประเทศท่ีมีหน้าท่ี กำหนดมาตรฐานคุณภาพการผลิตครูปฐมวัยที่นำไปสู่มาตรฐานสากลโดยมีระบบกลไกการประเมิน คุณภาพสถาบันผลิตครูปฐมวัยท่ีมีความต่อเนื่องและสอดคล้องกับมาตรฐานสถานพัฒนา เดก็ ปฐมวยั แหง่ ชาติ และมเี ครอ่ื งมอื วดั ความถนดั ความเปน็ ครปู ฐมวยั ทเ่ี ปน็ มาตฐานกลางของประเทศ 2) หน่วยงานระดับพ้ืนท่ี ควรมีรูปแบบการส่งเสริมและสนับสนุนสถาบันผลิต ครูปฐมวัยให้สามารถดำเนินงานตามภารกิจและผลิตครูปฐมวัยได้ตามกรอบสมรรถนะครูปฐมวัย ท่ีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เน้นการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการพัฒนาการผลิต ครูปฐมวัย และมีคณะกรรมการส่วนกลางจัดทำกรอบอัตรากำลังครูปฐมวัยทุกสังกัดเชิงพื้นท ่ี เพ่อื วางแผนในการผลติ ครูปฐมวยั 3) สถาบันผลิตครู ควรมีศูนยก์ ลางเครือข่ายสถาบนั ผลติ ครเู ชงิ พื้นที่ทีร่ ่วมผลิตครู แบบบูรณาการจากการมีส่วนร่วมของพื้นท่ี มีศูนย์พัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการด้านการศึกษา ปฐมวัย มีหลักสูตรปริญญาหรือประกาศนียบัตรสาขาการบริหารสถานพัฒนาเด็ก เพ่ือเป็นช่องทาง บ ท ส รุ ป ผู้ บ ริ ห า ร (ด) ในการพัฒนาผู้บริหารสถานพัฒนาเด็กให้เป็นไปตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กแห่งชาติ และควรมี การจดั ทำกรอบสมรรถนะอาจารย์สาขาวิชาการศึกษาปฐมวยั ส่คู วามเปน็ เลศิ ระดบั สากล 4) สถานศึกษา ควรมีรูปแบบการพัฒนาครูปฐมวัยท่ีบูรณาการร่วมกับสถาบัน ผลิตครูปฐมวัย และมีศูนย์พัฒนาส่งเสริมสมรรถนะครูพี่เลี้ยงในสถานพัฒนาเด็กเพื่อการฝึก ประสบการณ์วิชาชีพคร ู 4.2 ข้อเสนอเชิงนโยบายการพัฒนาครูปฐมวัยในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย (In-Service Training) ใหส้ ามารถดำเนนิ งานไดต้ ามมาตรฐานสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั แหง่ ชาต ิ มดี ังน ้ี 1) หน่วยงานระดับนโยบาย ควรจัดให้มีหน่วยงานกลางที่ทำหน้าที่รับผิดชอบ หลักระดับชาติเพ่ือกำหนดทิศทางแนวทาง แผนกลยุทธ์ มาตรฐานสมรรถนะครูปฐมวัยตาม มาตรฐานสากล มาตรฐานการประเมนิ ผลการพฒั นาครปู ฐมวยั ตามมาตรฐานสถานพฒั นาเดก็ แหง่ ชาต ิ ควรจัดตั้งหน่วยงานกลางระดับชาติที่มีหน้าที่ส่งเสริมสนับสนุนและติดตามผลการดำเนินงาน ตามมาตรฐานสถานพฒั นาเดก็ ในทุกสังกดั 2) หน่วยงานระดับพ้ืนท่ี ควรมีการจัดต้ังศูนย์การพัฒนาครูปฐมวัยสู่ความ เป็นเลิศเชิงพื้นที่โดยมีความร่วมมือกับสถาบันผลิตครู และสถานพัฒนาเด็กทุกสังกัด ส่งเสริม และสนับสนุนสถานพฒั นาเด็กปฐมวัยในพื้นท่ีให้สามารถดำเนนิ งานตามภารกิจและกรอบสมรรถนะ เด็กปฐมวัยได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีระบบสนับสนุน กำกับ ติดตาม ประเมิน และพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาปฐมวัยของสถานพัฒนาเด็กในพ้ืนที่ โดยเน้นการมีส่วนร่วม ของภาคีเครอื ข่ายหน่วยงานทีเ่ กยี่ วข้องกับเด็กปฐมวยั 3) สถาบันผลิตครู ควรจัดตั้งศูนย์พัฒนาครูปฐมวัยและผู้บริหารสถานพัฒนาเด็ก โดยใช้เครือข่ายพ้ืนท่ีเป็นฐาน โดยมีหลักสูตรท่ีพัฒนาสมรรถนะผู้บริหารสถานพัฒนาเด็ก และหลักสูตรพัฒนาสมรรถนะครูปฐมวัยท่ีมีประสิทธิภาพ และมีระบบธนาคารหน่วยกิตที่ใช้สำหรับ การเก็บชั่วโมงการพัฒนาตนของครูและผู้บริหารสำหรับรองรับหลักสูตร Re-Skills / Up-Skills ใหค้ รูและผู้เรยี นไดร้ บั การพฒั นาตนเพ่ือความกา้ วหน้าทางวชิ าชีพ 4) สถานศึกษา ควรมีระบบการบริหารจัดการหลักสูตรการเรียนการสอน ส่ือ เทคโนโลยีดิจิทัล ทรัพยากร สิ่งสนับสนุนการศึกษา และการประเมินสำหรับเด็กปฐมวัย ส่งเสริม การมีส่วนร่วมของชุมชนในการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ สร้างนิสัยการเรียนรู้ด้วยตนเอง และการมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ของพื้นที่เพ่ือการพัฒนาเด็กปฐมวัยอย่างเต็มตามศักยภาพ และควรมีศูนย์พัฒนาครูปฐมวัยท่ีสร้างสรรค์นวัตกรรมการพัฒนาเด็กปฐมวัยในชุมชนอย่างต่อเน่ือง เพ่ือเพ่ิมศักยภาพในการแข่งขัน และเป็นท่ียอมรับของหน่วยงานทั้งภาครัฐ เอกชนระดับชาติ และระดบั นานาชาต ิ (ต) รายงานการศึกษา แนวทางการยกระดบั คณุ ภาพการผลติ และพัฒนาครูปฐมวัยในสถาบนั อุดมศึกษาของไทย สารบญั หนา้ คำนำ.................................................................................................................................. (ก) บทสรุปผู้บรหิ าร................................................................................................................. (ค) สารบญั ............................................................................................................................... (ต) สารบัญตาราง.................................................................................................................... (ท) สารบญั ภาพ....................................................................................................................... (ธ) บทท่ี 1 บทนำ................................................................................................................... 1 หลกั การและเหตผุ ล.............................................................................................. 1 วัตถุประสงค์การวจิ ัย............................................................................................ 3 กลมุ่ เป้าหมายในการดำเนินงาน........................................................................... 3 ขอบเขตการดำเนนิ งาน......................................................................................... 4 กรอบแนวทางการดำเนนิ งาน............................................................................... 5 ประโยชนท์ ค่ี าดว่าจะไดร้ ับ.................................................................................... 12 นยิ ามศัพท.์ ........................................................................................................... 12 บทท่ี 2 เอกสารและวรรณกรรมที่เกยี่ วข้อง..................................................................... 14 พระราชบัญญัติการพฒั นาเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2562................................................. 14 มาตรฐานสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั แห่งชาต.ิ .......................................................... 19 เอกสารทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับการผลิตครูปฐมวัย............................................................. 27 แนวคิด และทฤษฎีท่ีเกีย่ วขอ้ งกบั การพฒั นาครูปฐมวยั ........................................ 42 งานวิจัยทีเ่ กย่ี วขอ้ งกบั การผลิตครูปฐมวยั ............................................................. 57 งานวิจัยทเ่ี ก่ยี วข้องกับการพัฒนาครูปฐมวยั ......................................................... 64 บทท่ี 3 วิธกี ารดำเนนิ การวจิ ัย.......................................................................................... 74 กลุม่ เป้าหมายในการดำเนินงาน............................................................................ 74 ขอบเขตการดำเนินงาน......................................................................................... 74 วธิ กี ารดำเนนิ งาน.................................................................................................. 75 เครือ่ งมือที่ใชใ้ นการวจิ ัย....................................................................................... 76 การวิเคราะห์ข้อมลู ............................................................................................... 78 ระยะเวลาดำเนนิ การ แผนการดำเนนิ งาน............................................................ 79 ส า ร บั ญ (ถ) สารบญั (ต่อ) หนา้ บทท่ี 4 ผลการวิจัย : สภาพการผลติ ครปู ฐมวัยในสถาบนั อุดมศึกษาของไทย .............. 81 (Pre-Service Training) สภาพการผลิตครูปฐมวัยในปจั จุบัน...................................................................... 81 ด้านท่ี 1 หลักสตู รการผลติ ครูปฐมวัย................................................................... 84 ดา้ นที่ 2 การบรหิ ารจัดการของหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั .................................. 93 ด้านที่ 3 ข้อมูลสถาบนั การผลติ คร.ู ....................................................................... 100 ดา้ นท่ี 4 ข้อมูลอาจารย์ผสู้ อน............................................................................... 104 ดา้ นที่ 5 ขอ้ มูลนักศึกษา....................................................................................... 107 ด้านที่ 6 สภาพปญั หาการผลิตครปู ฐมวยั ............................................................. 119 ด้านท่ี 7 ปจั จยั ท่ีส่งผลต่อการผลติ ครูปฐมวัย........................................................ 135 ดา้ นที่ 8 แนวทางสคู่ วามสำเร็จ............................................................................. 136 บทที่ 5 ผลการวิจัย : สภาพการพฒั นาครูปฐมวยั ในสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ............... 139 (In-Service Training) ตอนท่ี 1 ผลการศกึ ษาสภาพการบรหิ ารและการจัดประสบการณเ์ รยี นร.ู้ ... 141 สำหรับการพัฒนาเด็กปฐมวยั ตามมาตรฐานสถานพัฒนา เด็กปฐมวัยแห่งชาติ ตอนที่ 2 การวิเคราะหอ์ งคป์ ระกอบเชิงยืนยนั ของการบรหิ าร..................... 157 และการจัดประสบการณเ์ รยี นรสู้ ำหรับการพัฒนาเด็กปฐมวยั จำแนกตามสงั กัด ตอนท่ี 3 ผลการศกึ ษาขอ้ มลู เชงิ คณุ ภาพเกยี่ วกบั สภาพการพฒั นาครปู ฐมวยั ... 164 ในสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั (In-Service Training) บทที่ 6 แนวทางการยกระดบั การผลติ และพฒั นาครปู ฐมวยั และขอ้ เสนอเชงิ นโยบาย..... 171 การผลิตและพัฒนาครูปฐมวยั ในสถาบันอุดมศึกษาของไทย ตอนท่ี 1 แนวทางการยกระดบั การผลติ และพัฒนาครูปฐมวัย..................... 171 ในสถาบันอุดมศกึ ษาของไทยใหส้ ามารถดำเนินงานได้ตามมาตรฐาน สถานพัฒนาเด็กปฐมวยั แห่งชาต ิ ตอนท่ี 2 ข้อเสนอเชิงนโยบายการผลติ และพฒั นาครูปฐมวยั ....................... 180 ในสถาบันอดุ มศกึ ษาของไทย บรรณานกุ รม...................................................................................................................... 185 ภาคผนวก........................................................................................................................... 197 (ท) รายงานการศกึ ษา แนวทางการยกระดับคุณภาพการผลติ และพฒั นาครูปฐมวยั ในสถาบนั อดุ มศกึ ษาของไทย สารบญั ตาราง ตาราง หน้า 2.1 แสดงจำนวนของสถาบันการผลติ ครปู ฐมวยั ......................................................... 28 2.2 การเปรียบเทยี บมาตรฐานคณุ วฒุ ริ ะดับปริญญาตรี ............................................. 30 สาขาครศุ าสตร์และสาขาศึกษาศาสตร์ (มคอ.1 สาขาครศุ าสตร์และสาขาศึกษาศาสตร)์ หลักสตู ร 5 ปี และ 4 ป ี 47 2.3 การสงั เคราะห์ลกั ษณะของการจดั การเรียนรูส้ ำหรับผ้ใู หญ่................................... 49 2.4 การสงั เคราะหก์ ารพฒั นาความสามารถดา้ นวชิ าการของครปู ฐมวยั ..................... 51 2.5 การสังเคราะหก์ ารพัฒนาความสามารถดา้ นวิชาชีพของครปู ฐมวยั ....................... 52 2.6 การสังเคราะหก์ ารยกระดับบทบาทของครูปฐมวัย............................................... 54 2.7 การสงั เคราะหร์ ปู แบบการพฒั นาครปู ฐมวยั ......................................................... 56 2.8 การสงั เคราะห์ความต้องการในการพฒั นาตนเองของครูปฐมวยั ........................... ส า ร บั ญ (ธ) สารบัญรปู ภาพ ภาพ หนา้ 4.1 จำนวนหน่วยกติ เฉลีย่ ในแตล่ ะหมวดวิชาของหลกั สตู รปฐมวัย 4 ปี...................... 85 4.2 ขอ้ มลู สถาบันผลิตคร.ู ............................................................................................ 100 4.3 ร้อยละการมงี านทำของนกั ศกึ ษาครูปฐมวัย......................................................... 101 4.4 ขอ้ มลู อาจารยผ์ ูส้ อนสาขาปฐมวัย......................................................................... 104 4.5 ข้อมลู ภาระงานของอาจารยผ์ ู้สอนสาขาปฐมวยั .................................................... 105 4.6 ค่าเฉลีย่ จำนวนนกั ศึกษาสาขาปฐมวยั ในแต่ละชั้นปี.............................................. 107 4.7 ปญั หาการผลติ ครปู ฐมวัยของสถาบนั อดุ มศึกษา................................................... 120 4.8 สภาพปญั หาโดยรวมของสถาบันผลติ ครปู ฐมวัย................................................... 125 4.9 ปัจจยั ทสี่ ่งผลตอ่ การผลิตครูปฐมวยั ...................................................................... 136 5.1 ขอ้ มูลทั่วไปของกลมุ่ ตัวอยา่ ง................................................................................ 141 5.2 สภาพการบรหิ ารและการจดั ประสบการณเ์ รยี นรสู้ ำหรบั การพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ...... 142 5.3 สภาพการบริหารและการจัดประสบการณเ์ รียนรู้................................................. 144 สำหรบั การพัฒนาเด็กปฐมวัย (จำแนกตามสังกดั ) 145 5.4 มาตรฐานดา้ นท่ี 1 การบรหิ ารจัดการ (จำแนกตามสังกดั ).................................... 146 5.5 มาตรฐานดา้ นท่ี 2 คร/ู ผู้ดูแลเด็กใหก้ ารดแู ลและจัดประสบการณเ์ รยี นรู้.............. 148 และการเล่นเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย (จำแนกตามสงั กัด) 149 5.6 สภาพการบริหารและการจดั ประสบการณ์เรยี นร้.ู ................................................ 150 สำหรบั การพัฒนาเด็กปฐมวัย (จำแนกตามภาค) 152 5.7 มาตรฐานดา้ นท่ี 1 การบรหิ ารจดั การ (จำแนกตามภาค)...................................... 154 5.8 มาตรฐานด้านที่ 2 ครู/ผดู้ แู ลเดก็ ใหก้ ารดูแลและจดั ประสบการณ์เรียนร.ู้ ............ 156 และการเลน่ เพื่อพฒั นาเดก็ ปฐมวัย (จำแนกตามภาค) 5.9 สภาพการบริหารและการจดั ประสบการณ์เรียนรู้................................................. สำหรบั การพัฒนาเด็กปฐมวัย (จำแนกตามตำแหนง่ ) 5.10 ผลการเปรียบเทียบสภาพการบรหิ ารและการจดั ประสบการณ์เรียนร้.ู .................. สำหรับการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั (จำแนกตามวุฒกิ ารศึกษา) 5.11 สภาพการบรหิ ารและการจดั ประสบการณ์เรียนร.ู้ ................................................ สำหรบั การพัฒนาเดก็ ปฐมวยั (จำแนกตามประสบการณ์ทำงาน) (น) รายงานการศกึ ษา แนวทางการยกระดบั คุณภาพการผลติ และพฒั นาครปู ฐมวัยในสถาบนั อุดมศึกษาของไทย สารบัญรูปภาพ (ต่อ) ภาพ หน้า 5.12 โมเดลการวดั การบรหิ ารและการจัดประสบการณ์เรยี นร.ู้ ..................................... 158 สำหรบั การพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ของสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน (สพฐ) 5.13 โมเดลการวัดการบริหารและการจัดประสบการณเ์ รยี นรู้...................................... 159 สำหรบั การพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ขององค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ (อปท) 5.14 โมเดลการวัดการบรหิ ารและการจัดประสบการณเ์ รยี นรู้...................................... 160 สำหรบั การพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ของสำนกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศกึ ษาเอกชน (สช) 5.15 โมเดลการวดั การบรหิ ารและการจดั ประสบการณ์เรยี นรู้...................................... 161 สำหรบั การพฒั นาเดก็ ปฐมวัยของกรุงเทพมหานคร (กทม) 5.16 โมเดลการวัดการบริหารและการจัดประสบการณ์เรยี นรู้...................................... 162 สำหรบั การพัฒนาเดก็ ปฐมวัยของโรงเรียนสาธติ และอนื่ ๆ 5.17 โมเดลการวัดการบริหารและการจดั ประสบการณเ์ รยี นรู้...................................... 163 สำหรับการพฒั นาเดก็ ปฐมวัยของสถานรบั เลี้ยงเดก็ บทท่ี 1 บทนำ 1. หลกั การและเหตผุ ล เด็กปฐมวัยเป็นวัยท่ีสำคัญต่อรากฐานการพัฒนาประเทศ เน่ืองจากเป็นการสร้างรากฐาน ในการพัฒนาชีวิตที่สำคัญซึ่งจะส่งผลต่อความเจริญก้าวหน้าของประเทศในด้านอ่ืน ๆ ตามมา ในปัจจุบันภาครัฐได้ให้ความสำคัญต่อการพัฒนาเด็กปฐมวัย โดยได้มีการจัดทำพระราชบัญญัติ การพัฒนาเดก็ ปฐมวัย พ.ศ. 2562 ซ่ึงไดก้ ำหนดไวใ้ นหมวด 1 มาตรา 5 เรอ่ื งการพัฒนาเดก็ ปฐมวัย มีใจความว่า “ให้พัฒนาเด็กปฐมวัยให้ครบท้ังด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ปลูกฝัง คุณลักษณะท่ีดี มีคุณธรรม จริยธรรม การสร้างจิตสำนักที่ดีให้กับเด็กปฐมวัย รวมถึงผู้ดูแลเด็ก ต้องมีความรู้ ทักษะและเจตคติที่ดีในการพัฒนาเด็กปฐมวัย” และจากงานวิจัยหลายหน่วยงาน ระบุตรงกันว่าการพัฒนาเด็กในช่วง 0-6 ปี เป็นช่วงท่ีเด็กจะเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็ว เนื่องจาก การพัฒนาการทางสมองของเด็กจะเติบโตอย่างรวดเร็วถ้าเด็กได้รับการพัฒนาท่ีสอดคล้องกับ พฒั นาการ และการเรียนรู้นีถ้ ือเปน็ พน้ื ฐานทางการศึกษาทสี่ ำคัญต่อไปในอนาคต การพัฒนาเด็กปฐมวัยให้ได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพน้ันจะต้องอาศัยผู้ใหญ่ ที่เกี่ยวข้องท่ีทำหน้าที่ในการดูแล อบรมเล้ียงดู และพัฒนาเด็กอย่างเป็นองค์รวมให้มีความสมบูรณ์ ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา โดยเฉพาะการดูแลเด็กปฐมวัยท่ีอยู่ใน ระบบการศึกษาให้มีพัฒนาการเหมาะสมตามหลักวิชาการ เด็กจะสามารถเติบโตไปเป็นคนท่ีดี และมีคุณภาพซึ่งจะส่งผลดีต่ออนาคตของสังคมและประเทศชาติด้วย ดังน้ัน การศึกษาจึงเข้ามา มีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาและการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยต้ังแต่แรกเกิด – 6 ปี โดยให้ม ี สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยท่ีเป็นของภาครัฐ และเอกชน ในการพัฒนาเด็กให้มีความพร้อม ทัง้ ดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ สงั คม และสตปิ ัญญา รวมถึงการอบรมเลยี้ งดเู ด็กใหม้ ที ักษะชีวิตและทักษะ ในศตวรรษที่ 21 ในการอาศัยอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุขกล่าวได้ว่า “ครูปฐมวัย” เป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการเป็นผู้สร้างสรรค์และจัดประสบการณ์การเรียนรู้อันหลากหลาย เพื่อเตรียมความพร้อมให้เด็กปฐมวัยในการเรียนรู้และปรับตัวตามบริบทของสังคมยุคดิจิทัลได้อย่าง เหมาะสม 2 รายงานการศึกษา แนวทางการยกระดับคุณภาพการผลติ และพัฒนาครปู ฐมวัยในสถาบันอดุ มศึกษาของไทย “ครูปฐมวัย” มีภารกิจและบทบาทที่ย่ิงใหญ่ต่อการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้เป็นพลเมือง คุณภาพของชาติ ซ่ึงสอดคล้องกับเจตนารมณ์ของรัฐอันปรากฏในพระราชบัญญัติการพัฒนา เด็กปฐมวัย พ.ศ. 2562 หมวด 4 ว่าด้วยการพัฒนาเด็กปฐมวัย มาตรา 23 วรรค 1 กำหนดให้ “การผลิตครูหรือพัฒนาครูด้านการพัฒนาเด็กปฐมวัย ให้สถาบันอุดมศึกษาจัดให้มีการเรียน การสอนเพื่อเสริมสร้างจิตวิญญาณของความเป็นครู มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะ และความสามารถในการจดั การเรยี นการสอนเพอ่ื ดแู ลและพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ตามหลกั การและปรชั ญา ของการพัฒนาเด็กปฐมวัย” อีกท้ังเพ่ือให้การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาเกิดความต่อเนื่อง ของการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ในสถานพฒั นาเดก็ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ การคำนงึ ถงึ บทบาทของคร/ู ผดู้ แู ลเดก็ ในกระบวนการดูแล การจัดประสบการณ์เรียนรู้ และการเล่นเพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย อย่างเป็นองค์รวม นอกจากน้ีสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาและหน่วยงานที่เก่ียวข้อง กับการพัฒนาเด็กปฐมวัยได้ร่วมจัดทำเอกสารและมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ เพ่ือช่วยกำหนดทิศทางการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีคุณภาพและเป็นมาตรฐานสำหรับครู/ผู้ดูแลเด็ก และสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยทั้งของรัฐและเอกชน รวมถึงสถาบันการผลิตและพัฒนาครูซ่ึงเป็น หนว่ ยปอ้ นปจั จยั นำเขา้ หรอื ตวั แปรหลกั เขา้ สกู่ ระบวนการจดั การศกึ ษา ตามบทบาทหนา้ ทใี่ นการผลติ และพัฒนา “ครปู ฐมวัย” ให้มคี ุณภาพและเปน็ ไปตามมาตรฐานที่กำหนดไว ้ ปจั จบุ นั มสี ถาบนั อดุ มศกึ ษาทดี่ ำเนนิ การเปดิ สอนในสาขาวชิ าการศกึ ษาปฐมวยั เปน็ จำนวนมาก มีการเปิดสอนหลักสูตรตั้งแต่ระดับประกาศนียบัตร อนุปริญญา ปริญญาตรี ปริญญาโท จนถึง ระดับปริญญาเอกในหลากหลายแห่งท่ัวทุกภูมิภาค คิดเป็นสัดส่วนมากกว่าร้อยละ 50 ของ สถาบันอุดมศึกษาท้ังหมดในสังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ประกอบด้วย มหาวิทยาลัยของรัฐ มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ มหาวิทยาลัยราชภัฏ สถาบัน การศึกษาของภาคเอกชน และวิทยาลัยชุมชน จากงานวิจัยของสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2556) ได้นำเสนอในบทสรุปสำหรับผู้บริหารไว้ว่าระบบการผลิตครูในปัจจุบันยังขาดกลไกในการ ติดตามและประเมินคุณภาพ เช่น การเปิดรับครูปฐมวัยจำนวนมาก ทำให้อัตราส่วนระหว่าง อาจารย์กับจำนวนนักศึกษาไม่สอดคล้องกันส่งผลต่อประสิทธิภาพในการเรียนการสอน เน่ืองจาก กระบวนการพัฒนาครูปฐมวัยไม่สามารถทำได้ด้วยการบรรยายเท่านั้นแต่จำเป็นต้องมีการฝึก ประสบการณว์ ชิ าชพี โดยมอี าจารยท์ เี่ ชยี่ วชาญดา้ นการศกึ ษาปฐมวยั มาดแู ลอยา่ งใกลช้ ดิ นอกจากน ี้ ระบบการพัฒนาครูยังขาดความชัดเจนไม่มีหน่วยงานรับผิดชอบโดยตรง หลักสูตรพัฒนาคร ู และวิธีการพัฒนาครูยังไม่สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนและความต้องการของครู จากรายงาน ดังกล่าวส่งผลให้สังคมเกิดความกังวลในคุณภาพและมาตรฐานการผลิตและพัฒนาครูปฐมวัย ของสถาบันอุดมศึกษา ท้ังนี้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องโดยเฉพาะในส่วนของภาครัฐจำเป็นต้องสร้าง หลักประกันให้พ่อแม่ ผู้ปกครองและสังคมได้มั่นใจว่า เด็กปฐมวัยของประเทศทุกคนจะได้รับ การดูแล พัฒนาและจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพต่อเนื่องตามพัฒนาการจากครูปฐมวัย บ ท ท่ี 1 3 หรือผู้ดูแลเด็กที่มีคุณภาพจากสถาบันอุดมศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพและเป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒ ิ สาขาวชิ าในการผลิตและพฒั นาครูปฐมวยั ด้วยเหตุน้ี คณะนักวิจัยมีความสนใจในการศึกษาสภาพการผลิตและพัฒนาครูปฐมวัย ในสถาบันอุดมศึกษาของไทย โดยศึกษาสภาพปัจจุบันของการผลิตและพัฒนาครูของสถาบัน อุดมศึกษาในประเด็นที่เกี่ยวข้อง เช่น ด้านหลักสูตร คุณภาพสถาบันการผลิตในสาขาปฐมวัย อาจารย์ นักศึกษาครู และการพัฒนาครู เป็นต้น เพื่อวิเคราะห์แนวทางสู่ความสำเร็จและประเด็น ท่ียังเป็นปัญหาและความท้าทาย ซ่ึงจะนำไปสู่การกำหนดแนวทางการยกระดับการผลิตและพัฒนา ครูปฐมวัยรวมถึงการจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบาย การผลิตและพัฒนาครูปฐมวัยให้สามารถ ดำเนินงานไดต้ ามมาตรฐานสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยแห่งชาต ิ 2. วัตถปุ ระสงคก์ ารวิจยั 2.1 เพื่อศกึ ษาสภาพการผลิตและพฒั นาครูปฐมวยั ในสถาบันอุดมศึกษาของไทย 2.2 เพ่ือกำหนดแนวทางการยกระดับการผลิตและพัฒนาครูปฐมวัยในสถาบันอุดมศึกษา ของไทยให้สามารถดำเนนิ งานได้ตามมาตรฐานสถานพฒั นาเด็กปฐมวัยแหง่ ชาติ 2.3 เพ่ือจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายการผลิตและพัฒนาครูปฐมวัยในสถาบันอุดมศึกษา ของไทยให้สามารถดำเนนิ งานไดต้ ามมาตรฐานสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั แหง่ ชาต ิ 3. กลมุ่ เปา้ หมายในการดำเนนิ งาน 3.1 ผทู้ เี่ กยี่ วขอ้ งและมสี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ในการผลติ ครปู ฐมวยั จาก 4 ภมู ภิ าค ไดแ้ ก่ ภาคเหนอื ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง (รวมกรุงเทพฯ) และภาคใต้ ประกอบด้วย 1. ผู้บริหาร อาจารย์ ในหลักสตู รท่ีผลิตครูปฐมวยั 2. นิสิตนักศกึ ษาสาขาปฐมวัย 3. ผบู้ ริหารโรงเรยี น ครพู เ่ี ล้ียง นิสติ นักศกึ ษาทีฝ่ ึกประสบการณ์ 4. ผู้ใช้บณั ฑิต และ 5. ผู้ทรงคณุ วุฒิดา้ นปฐมวัย 3.2 ผู้ที่เกี่ยวข้องและมีส่วนได้ส่วนเสียในการพัฒนาครูปฐมวัยจาก 4 ภูมิภาค ได้แก ่ ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง (รวมกรุงเทพฯ) และภาคใต้ ประกอบไปด้วย 1. ผู้แทนจากกระทรวงที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาครูปฐมวัย ประกอบด้วยกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ และ 2. ครูปฐมวัยสังกัดตา่ ง ๆ 3.3 ผู้ทรงคณุ วฒุ ดิ ้านการกำหนดนโยบายดา้ นการศึกษาปฐมวยั 3.4 ผ้แู ทนจากกระทรวงทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับการผลิตและพัฒนาครูปฐมวัย 3.5 ผ้เู ชย่ี วชาญการผลิตและพฒั นาครปู ฐมวัย 4 รายงานการศึกษา แนวทางการยกระดับคุณภาพการผลติ และพัฒนาครูปฐมวัยในสถาบนั อดุ มศกึ ษาของไทย 4. ขอบเขตการดำเนินงาน การศึกษาสภาพการผลิตและพัฒนาครูปฐมวัยในสถาบันอุดมศึกษาของไทยเป็นการวิจัย โดยใช้วิธีการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยวิธีการศึกษาและการวิเคราะห์เอกสาร (Documentary Analysis) การประชุม/สัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้แทนหน่วยงานและผู้เกี่ยวข้อง หรือลงพ้ืนท่ี เพื่อสังเกตการเรียนการสอนในสถาบันอุดมศึกษากลุ่มตัวอย่าง และเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณ ดว้ ยการสำรวจสอบถามกับกลมุ่ ผ้ทู ี่มสี ว่ นไดส้ ่วนเสยี ในการผลิตและพฒั นาครูปฐมวัย ท้งั 4 ภมู ิภาค โดยมีขอบเขตของการวจิ ยั ดงั น้ี 4.1 ขอบเขตเน้ือหา ศึกษาและวิเคราะห์สภาพการผลิตและพัฒนาครูปฐมวัยในสถาบันอุดมศึกษาของไทย ท้งั ในดา้ นคุณภาพ ประสทิ ธิภาพ และความสำเรจ็ ในการดำเนินการ รวมถงึ ปัญหาและความท้าทาย เพื่อให้ทราบถึงสภาพปัจจุบันของการผลิตและพัฒนาครูปฐมวัยในสถาบันอุดมศึกษาของไทย และแนวโน้มการผลิตและพัฒนาครูปฐมวัยในอนาคตโดยครอบคลุมตามประเด็นที่กำหนด ได้แก่ ด้านหลักสูตร คุณภาพสถาบันการผลิตในสาขาปฐมวัย อาจารย์ นักศึกษาครู การพัฒนาคร ู และประเดน็ อนื่ ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง เปน็ ตน้ จากนั้นนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำร่างรายงานการศึกษา เรื่อง “แนวทางการยกระดับ คุณภาพการผลิตและพัฒนาครูปฐมวัยในสถาบันอุดมศึกษาของไทย” พร้อมข้อเสนอเชิงนโยบาย การผลติ และพฒั นาครปู ฐมวยั ใหส้ ามารถดำเนนิ การไดต้ ามมาตรฐานสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั แหง่ ชาติ 4.2 ขอบเขตระยะเวลา ระยะเวลาท่ใี ชใ้ นการศึกษาท้ังหมด 180 วนั (มิถนุ ายน-ธันวาคม 2563) 5. กรอบแนวทางการดำเนินงาน วัตถุประสงค์ ประเดน็ ทศี่ ึกษา กลุม่ เปา้ หมาย การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ผลท่คี าดวา่ จะได้รบั 1. สภาพการผลติ ครูปฐมวยั 1. เพอื่ ศึกษาสภาพการผลติ 1. สภาพการผลิตครูปฐมวยั แหล่งข้อมูลเอกสาร 1. การสงั เคราะห์ ในสถาบนั อุดมศึกษา และพฒั นาครปู ฐมวัย ในสถาบันอุดมศกึ ษาของไทย เอกสารและงานวิจัย จากเอกสาร ของไทย ในสถาบันอดุ มศึกษา (Pre-Service Training) ท่ีเกี่ยวขอ้ งกับการผลิต 2. การสมั ภาษณ์ 2. สภาพการพฒั นา ของไทย โดยมปี ระเด็นในการศึกษา ดังน้ี และพัฒนาครูปฐมวัย 3. การสำรวจสอบถาม ครปู ฐมวยั ในสถานพฒั นา 1) หลกั สูตรการผลติ ครปู ฐมวัย แหลง่ ขอ้ มูลบุคคล 4. การสนทนากลุ่มย่อย เด็กปฐมวัย 2) การบรหิ ารจัดการ 1. ผทู้ เี่ กี่ยวขอ้ งและมีสว่ นได ้ ของหลักสูตรการศึกษา สว่ นเสียในการผลิต ปฐมวัย ครปู ฐมวยั จาก 4 ภมู ภิ าค 3) ขอ้ มลู สถาบนั การผลติ คร ู ได้แก่ ภาคเหนือ 4) ข้อมูลอาจารยผ์ ู้สอน ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 5) ข้อมลู นกั ศึกษา ภาคกลาง 6) สภาพปัญหาการผลิต (รวมกรงุ เทพฯ) ครปู ฐมวัย และภาคใต ้ 7) ปจั จัยทีส่ ่งผลต่อการผลติ ซงึ่ ประกอบไปด้วย ครูปฐมวัย 1.1) ผูบ้ ริหาร อาจารย ์ 8) แนวทางสู่ความสำเรจ็ ในหลักสูตรทผ่ี ลติ ครูปฐมวยั 1.2) นสิ ติ /นกั ศึกษา สาขาปฐมวัย บ ท ท่ี 1 5 วตั ถุประสงค ์ ประเด็นที่ศกึ ษา กลุ่มเป้าหมาย การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ผลทีค่ าดวา่ จะได้รบั 6 รายงานการศกึ ษา แนวทางการยกระดบั คณุ ภาพการผลิตและพัฒนาครปู ฐมวยั ในสถาบนั อดุ มศกึ ษาของไทย 2. สภาพการพัฒนาครูปฐมวยั 1.3) ผบู้ รหิ ารโรงเรียน/ ในสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัย สถานพฒั นา (In-Service Training) เด็กปฐมวัย โดยมีประเดน็ ในการศึกษา ดังน ี้ ครูพ่ีเลี้ยง นสิ ติ 1) หลักสตู รการพฒั นาครปู ฐมวยั นักศกึ ษาทฝ่ี ึก 2) ความตอ้ งการของครปู ฐมวยั ประสบการณ์ ในการพัฒนาตนเอง 1.4) ผใู้ ช้บัณฑติ เช่น 3) สภาพการพฒั นาครปู ฐมวัย ผบู้ รหิ ารและคร ู ในปัจจบุ นั ในโรงเรยี น/ 4) สภาพปญั หาในการพฒั นา สถานพฒั นา ครูปฐมวัย เดก็ ปฐมวัย ท่ีม ี 5) ปัจจยั ทส่ี ่งผลตอ่ การพัฒนา การดแู ล พฒั นา ครูปฐมวัย และจดั การเรียน การสอนระดับ ปฐมวัย ทั้งรัฐ และเอกชน 1.5) ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ ดา้ นปฐมวัย วตั ถุประสงค ์ ประเดน็ ที่ศกึ ษา กลุ่มเปา้ หมาย การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ผลท่คี าดวา่ จะไดร้ บั 2. ผทู้ ี่เกี่ยวข้องและมีส่วนได้ สว่ นเสยี ในการพฒั นา บ ท ท่ี 1 7 ครปู ฐมวยั จาก 4 ภมู ภิ าค ได้แก่ ภาคเหนือ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ภาคกลาง (รวมกรุงเทพฯ) และภาคใต ้ ซึง่ ประกอบไปด้วย 2.1) ผแู้ ทนจากกระทรวง ท่ีเก่ยี วขอ้ งกบั การพัฒนา ครูปฐมวัย ประกอบด้วย กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงมหาดไทย กระทรวงสาธารณสขุ กระทรวงการพฒั นา สงั คมและ ความมั่นคง ของมนษุ ย์ วตั ถุประสงค ์ ประเดน็ ที่ศกึ ษา กลมุ่ เปา้ หมาย การเก็บรวบรวมขอ้ มลู ผลที่คาดวา่ จะไดร้ ับ 8 รายงานการศกึ ษา แนวทางการยกระดบั คณุ ภาพการผลิตและพัฒนาครปู ฐมวยั ในสถาบนั อดุ มศกึ ษาของไทย 2.2) ครปู ฐมวยั ทสี่ ังกดั - สำนกั งาน คณะกรรมการ ส่งเสริมการศกึ ษา เอกชน - สำนกั งาน คณะกรรมการ การศกึ ษา ขน้ั พนื้ ฐาน - สำนักงาน การศกึ ษา สังกัด กรุงเทพมหานคร - องคก์ รปกครอง สว่ นทอ้ งถน่ิ วตั ถุประสงค ์ ประเดน็ ที่ศกึ ษา กลุ่มเป้าหมาย การเก็บรวบรวมขอ้ มลู ผลทีค่ าดว่าจะได้รบั 2.3) ผบู้ รหิ ารโรงเรียน อนบุ าล สงั กดั - สำนักงาน คณะกรรมการ ส่งเสริมการศกึ ษา เอกชน - สำนกั งาน คณะกรรมการ การศึกษา ข้ันพนื้ ฐาน - สำนกั งาน การศึกษา สังกดั กรงุ เทพมหานคร - องค์กรปกครอง สว่ นทอ้ งถิน่ บ ท ท่ี 1 9 วตั ถุประสงค์ ประเด็นทศ่ี กึ ษา กลุ่มเป้าหมาย การเก็บรวบรวมข้อมลู ผลท่ีคาดว่าจะได้รับ 10 รายงานการศึกษา แนวทางการยกระดบั คณุ ภาพการผลติ และพฒั นาครูปฐมวยั ในสถาบนั อดุ มศกึ ษาของไทย 2. เพือ่ กำหนดแนวทาง 1. แนวทางการยกระดับการผลิต 1. ผ้ทู รงคณุ วุฒดิ า้ นปฐมวยั 1. การวิเคราะหแ์ ละ 1. แนวทางการยกระดบั การยกระดับการผลิต ครูปฐมวยั ในสถาบนั อุดมศึกษา 2. นกั การศกึ ษา สังเคราะหเ์ อกสาร การผลิตครปู ฐมวยั และพฒั นาครปู ฐมวยั ของไทย (Pre-Service Training) 3. ผูเ้ ชย่ี วชาญการผลติ และ โดยมเี อกสาร ดังน้ ี ในสถาบนั อดุ มศกึ ษา ในสถาบนั อดุ มศกึ ษา ให้สามารถดำเนินงานไดต้ าม พฒั นาครปู ฐมวยั 1.1) พระราชบญั ญัต ิ ของไทย (Pre-Service ของไทยใหส้ ามารถ มาตรฐานสถานพฒั นา การพัฒนา Training) ใหส้ ามารถ ดำเนนิ งานได้ตาม เด็กปฐมวัยแหง่ ชาติ เดก็ ปฐมวยั ดำเนนิ งานได้ตาม มาตรฐานสถานพัฒนา 2. แนวทางการยกระดบั การพัฒนา พ.ศ. 2562 มาตรฐานสถานพฒั นา เดก็ ปฐมวัยแห่งชาติ ครูปฐมวัยในสถานพฒั นา 1.2) มาตรฐาน เดก็ ปฐมวยั แห่งชาติ เดก็ ปฐมวยั (In-Service Training) สถานพัฒนา 2. แนวทางการยกระดับ ใหส้ ามารถดำเนินงานได้ตาม เด็กปฐมวัยแห่งชาต ิ การพัฒนาครปู ฐมวยั มาตรฐานสถานพฒั นา 2. การสนทนากลุ่มยอ่ ย ในสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั เด็กปฐมวยั แหง่ ชาติ 3. การสัมภาษณ ์ (In-Service Training) ใหส้ ามารถดำเนินงาน ได้ตามมาตรฐาน สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั แหง่ ชาติ 3. เพ่อื จัดทำข้อเสนอ เชงิ นโยบายการผลิต และพฒั นาครปู ฐมวัย ในสถาบันอดุ มศกึ ษา ของไทยใหส้ ามารถ ดำเนนิ งานไดต้ าม มาตรฐานสถานพัฒนา เดก็ ปฐมวัยแห่งชาต ิ วตั ถุประสงค ์ ประเด็นทศ่ี กึ ษา กลุม่ เป้าหมาย การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ผลท่คี าดว่าจะได้รบั 1. การสนทนากลุม่ ย่อย 1. ขอ้ เสนอเชิงนโยบาย 3. เพื่อจัดทำขอ้ เสนอ 1. ข้อเสนอเชงิ นโยบายการผลิต 1. ผ้ทู รงคณุ วุฒิด้าน 2. การสัมภาษณ ์ การผลิตครูปฐมวัย เชงิ นโยบายการผลติ และ ครูปฐมวยั ในสถาบนั อุดมศึกษา การกำหนดนโยบาย 3. การรับฟงั ความคิดเห็น ในสถาบนั อุดมศึกษา พฒั นาครูปฐมวัย ของไทย (Pre-Service Training) ดา้ นการศึกษาปฐมวัย ของไทย (Pre-Service ในสถาบันอุดมศกึ ษา ใหส้ ามารถดำเนินงานได้ตาม 2. ผู้แทนจากกระทรวง Training) ให้สามารถ ของไทยใหส้ ามารถ มาตรฐานสถานพัฒนา ท่เี กย่ี วขอ้ งกบั การผลิต ดำเนนิ งานไดต้ าม ดำเนินงานไดต้ าม เดก็ ปฐมวัยแห่งชาติ และพฒั นาครปู ฐมวยั มาตรฐานสถานพัฒนา มาตรฐานสถานพัฒนา 2. ข้อเสนอเชิงนโยบายการพัฒนา 3. ผู้เชย่ี วชาญการผลิต เดก็ ปฐมวยั แห่งชาติ เดก็ ปฐมวัยแหง่ ชาต ิ ครูปฐมวยั ในสถานพัฒนา และพฒั นาครปู ฐมวยั 2. ขอ้ เสนอเชิงนโยบาย เดก็ ปฐมวยั (In-Service Training) การพฒั นาครูปฐมวัย ให้สามารถดำเนินงานไดต้ าม ในสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั มาตรฐานสถานพัฒนา (In-Service Training) เด็กปฐมวัยแห่งชาติ ใหส้ ามารถดำเนนิ งาน ไดต้ ามมาตรฐาน สถานพัฒนาเด็กปฐมวยั แห่งชาต ิ บ ท ที่ 1 11 12 รายงานการศึกษา แนวทางการยกระดบั คุณภาพการผลติ และพัฒนาครปู ฐมวยั ในสถาบันอุดมศกึ ษาของไทย 6. ประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั 1. ได้ผลการศึกษาสภาพการผลิตและพัฒนาครูปฐมวัยในสถาบันอุดมศึกษาของไทยท่ีเป็น ปจั จุบัน 2. ได้แนวทางการยกระดับการผลิตและพัฒนาครูปฐมวัยในสถาบันอุดมศึกษาของไทย ให้สามารถดำเนนิ งานได้ตามมาตรฐานสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั แห่งชาต ิ 3. ได้องค์ความรู้สนับสนุนการจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายการยกระดับการผลิตและพัฒนา ครูปฐมวัยในสถาบันอุดมศึกษาของไทยให้สามารถดำเนินงานได้ตามมาตรฐานสถานพัฒนา เดก็ ปฐมวัยแหง่ ชาต ิ 4. ได้ “แนวทางการยกระดับคุณภาพการผลิตและพัฒนาครูปฐมวัยในสถาบันอุดมศึกษา ของไทย” พร้อมข้อเสนอเชิงนโยบายการผลิตและพัฒนาครูปฐมวัยในสถาบันอุดมศึกษาของไทย ให้สามารถดำเนินงานได้ตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ หน่วยงานที่เก่ียวข้อง ในการจดั การศึกษาและการพฒั นาครูปฐมวัย สามารถนำข้อมลู องคค์ วามรทู้ ่ไี ดจ้ ากรายงานการวจิ ยั ไปวางแผนการผลิตและพัฒนาครูปฐมวัยให้เหมาะสมกับสภาพการณ์ในปัจจุบันและในอนาคต ได้อยา่ งมคี ณุ ภาพ 7. นิยามศัพท์ มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ หมายถึง มาตรฐานกลางสถานพัฒนา เด็กปฐมวัยแห่งชาติซ่ึงคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 2 มกราคม 2562 เพ่ือใช้เป็น มาตรฐานกลางในการดำเนินงานและการประเมินสำหรับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในการดูแล พัฒนา และจัดการศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัยทุกสังกัด ซึ่งในการศึกษาครั้งนี้พิจารณาจากมาตรฐาน 2 ด้าน ที่เก่ียวข้อง ได้แก่ มาตรฐานด้านการบริหารจัดการ สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย และมาตรฐานด้านคร ู /ผู้ดแู ลเดก็ ให้การดแู ล และจดั ประสบการณ์การเรยี นรูแ้ ละการเลน่ เพ่ือพฒั นาเด็กปฐมวยั สภาพการผลิตครูปฐมวัยในสถาบันอุดมศึกษาไทย หมายถึง การดำเนินงานการผลิต ครูปฐมวัยของสถาบันอุดมศึกษาตั้งแต่บริบทปัจจัยนำเข้า กระบวนการผลิต ผลผลิตท่ีเกิดขึ้น แบ่งออกเป็น 8 ด้าน ด้านท่ี 1 หลักสูตรการผลิต ด้านที่ 2 การบริหารจัดการของหลักสูตร การศกึ ษาปฐมวยั ดา้ นที่ 3 ขอ้ มลู สถาบันการผลติ ครู ด้านท่ี 4 ข้อมลู อาจารยผ์ ู้สอน ไดแ้ ก่ จำนวน อาจารย์ สัดส่วนภาระงาน คุณวุฒิ ความเช่ียวชาญ ประสบการณ์ งานวิจัย ความต้องการในการ พัฒนาสมรรถนะด้านต่าง ๆ เป็นต้น ด้านที่ 5 ข้อมูลนักศึกษา ได้แก่ ข้อมูลพ้ืนฐาน คุณลักษณะ ความเป็นครูปฐมวัย สภาพปัญหา และความต้องการในการสนับสนุน การเรียนรู้ หรือกิจกรรม สู่ความเป็นครูปฐมวัย เป็นต้น ด้านท่ี 6 สภาพปัญหาการผลิตครูปฐมวัย ด้านที่ 7 ปัจจัยท่ีส่งผล ต่อการผลิตครูปฐมวยั และด้านท่ี 8 แนวทางสู่ความสำเรจ็ บ ท ท่ี 1 13 สภาพการพฒั นาครปู ฐมวยั หมายถงึ การดำเนนิ งานการพฒั นาครปู ฐมวยั ของสถานศกึ ษา แต่ละสังกัด ซ่ึงแบ่งออกเป็น 5 ด้าน ได้แก่ ด้านท่ี 1 หลักสูตรการพัฒนาครูปฐมวัย ด้านที่ 2 ความต้องการของครูปฐมวัยในการพัฒนาตนเอง ด้านที่ 3 สภาพการพัฒนาครูปฐมวัยในปัจจุบัน ด้านที่ 4 สภาพปญั หาในการพัฒนาครปู ฐมวัย และด้านที่ 5 ปจั จัยทส่ี ง่ ผลตอ่ การพัฒนาครูปฐมวยั สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย หมายถึง สถานท่ีรับดูแล พัฒนา จัดประสบการณ์ และจัด การศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัยที่ครอบคลุมต้ังแต่เด็กแรกเกิดถึงอายุ 6 ปี หรือก่อนเข้าเรียนระดับ ประถมศึกษาปที ่ี 1 ทีใ่ ช้ช่ือหลากหลายรวมทุกสงั กัด ประกอบดว้ ย 1. โรงเรียนอนบุ าล สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) กระทรวง ศึกษาธิการ 2. โรงเรียนอนุบาลเอกชน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 3. ศูนย์พฒั นาเดก็ เล็ก สงั กดั องค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ (อปท.) กระทรวงมหาดไทย 4. สถานรับเล้ียงเด็กเอกชน สังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (สถานรับเลยี้ งเดก็ ) 5. โรงเรียนสาธิตในมหาวิทยาลัย สังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวตั กรรม (อว.) (โรงเรยี นสาธติ ) 6. ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ กอ่ นวยั เรยี น สงั กดั สำนกั พฒั นาสงั คม กรงุ เทพ (กทม.) กรงุ เทพมหานคร บทท่ี 2 เอกสารและวรรณกรรมท่เี กยี่ วขอ้ ง เอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้องกับการผลิตและพัฒนาครูปฐมวัยของสถาบันอุดมศึกษา ทั้งในประเทศและต่างประเทศ มดี ังนี้ ◆ พระราชบัญญตั กิ ารพฒั นาเดก็ ปฐมวัย พ.ศ. 2562 ◆ มาตรฐานสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัยแห่งชาติ ◆ เอกสารท่ีเกี่ยวข้องกบั การผลิตครปู ฐมวยั ◆ แนวคิด และทฤษฎที ่ีเกยี่ วข้องกบั การพฒั นาครูปฐมวยั ◆ งานวิจยั ทเ่ี ก่ยี วข้องกบั การผลิตครปู ฐมวยั ◆ งานวิจยั ท่เี ก่ียวข้องกบั การพฒั นาครปู ฐมวัย พระราชบัญญตั ิการพัฒนาเด็กปฐมวยั พ.ศ. 2562 พระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2562 ถูกประกาศไว้ในราชกิจจานุเบกษา เม่ือวันท่ี 30 เมษายน พ.ศ. 2562 โดยมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัยอย่างแท้จริง และให้เป็นไปตามข้อบังคับในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 สามารถ สรปุ ประเดน็ ได้ดังน ้ี 1. การพฒั นาเดก็ ปฐมวัย มาตรา 5 การพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ตามพระราชบัญญัตินี้ มวี ัตถุประสงค์ ดงั ตอ่ ไปนี้ (1) ให้มารดาได้รับการดูแลในระหว่างต้ังครรภ์เพ่ือให้บุตรท่ีอยู่ในครรภ์มีสุขภาวะ และพัฒนาการทด่ี ี (2) ใหเ้ ดก็ ปฐมวยั อยรู่ อดปลอดภยั และไดร้ บั ความคมุ้ ครองใหพ้ น้ จากการลว่ งละเมดิ ไม่ว่าในทางใด (3) ให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการท่ีดีรอบด้านท้ังทางร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย เพื่อให้เกิดทักษะพ้ืนฐานในการเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต สามารถเรียนรู้อย่างสอดคล้องกับหลักการพัฒนาศักยภาพของแต่ละบุคคลและความต้องการ จำเปน็ พิเศษ บ ท ที่ 2 15 (4) สรา้ งคณุ ลกั ษณะใหเ้ ดก็ ปฐมวยั มอี ปุ นสิ ยั ใฝด่ ี มคี ณุ ธรรม มวี นิ ยั ใฝร่ ู้ มคี วามคดิ สร้างสรรค์ และสามารถซมึ ซบั สนุ ทรียะและวฒั นธรรมทห่ี ลากหลายได ้ (5) บ่มเพาะเจตคติของเด็กปฐมวัยให้เคารพคุณค่าของบุคคลอื่น มีจิตวิญญาณ ของการอยูร่ ว่ มกนั ในสังคมอย่างเสมอภาค และมีจติ สำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก (6) ใหผ้ ดู้ แู ลเดก็ ปฐมวยั ไดร้ บั ความรู้ ทกั ษะ และเจตคตทิ ด่ี ใี นการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั มาตรา 6 ให้หน่วยงานของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคประชาสังคม และภาคเอกชน ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง มภี ารกจิ รว่ มกนั ดำเนนิ การเพอ่ื ใหม้ กี ารพฒั นาเดก็ ปฐมวยั และดำเนนิ การ ให้เป็นไปตามมาตรฐานและแนวปฏิบัติที่ดีเก่ียวกับการพัฒนาเด็กปฐมวัยตามท่ีคณะกรรมการ กำหนด รวมท้ังส่งเสริมให้ผู้ดูแลเด็กปฐมวัยจัดให้เด็กปฐมวัยซ่ึงอยู่ในความดูแลได้รับการพัฒนา ตามมาตรฐานและแนวปฏิบตั ทิ ด่ี ีเกี่ยวกับการพัฒนาเดก็ ปฐมวัยดงั กล่าว มาตรา 8 การจัดการเรียนรู้ของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยต้องเป็นไปเพ่ือเตรียม ความพร้อมของเด็กปฐมวัย แต่ต้องไม่เป็นการจัดการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นการสอบแข่งขันระหว่าง เดก็ ปฐมวยั มาตรา 25 สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยที่มีหน้าท่ีจัดการศึกษาให้แก่เด็กปฐมวัย ต้องจัด ใหม้ กี ารอบรมเลย้ี งดู เพมิ่ พนู ประสบการณ์ สง่ เสรมิ พฒั นาการเรยี นรู้ และจดั การศกึ ษาแกเ่ ดก็ ปฐมวยั อย่างท่ัวถึง รวมทั้งจัดให้มีการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัยท่ีเหมาะสมในช่วงรอยต่อตั้งแต่ กอ่ นระดับอนบุ าลจนถงึ ระดับประถมศึกษาอยา่ งตอ่ เนื่อง มาตรา 26 หน่วยงานของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หรือภาคเอกชนท่ีมีหน้าท่ ี ในการพัฒนาเด็กปฐมวัย ต้องจัดสวัสดิการและให้บริการด้านการคุ้มครองสิทธิแก่เด็กปฐมวัย รวมทงั้ ตดิ ตามดแู ลเดก็ ปฐมวยั ใหไ้ ด้รบั สวัสดกิ ารและบริการดา้ นการคมุ้ ครองสทิ ธอิ ย่างทวั่ ถงึ มาตรา 27 นอกจากการดำเนนิ การตามมาตรา 24 มาตรา 25 และมาตรา 26 หนว่ ยงาน ของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และภาคเอกชน ท่ีมีหน้าที่ให้บริการสาธารณสุข จัดการศึกษา และจัดสวัสดิการและให้บริการด้านการคมุ้ ครองสทิ ธิแก่เดก็ ปฐมวยั ตอ้ งดำเนินการ ดังต่อไปนี้ (1) ให้ความรู้ ส่งเสริมทักษะ และสร้างเสริมเจตคติท่ีดีแก่ผู้ดูแลเด็กปฐมวัย และบุคคลอน่ื ทีเ่ กย่ี วข้องกบั การพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ในเรอื่ งการพฒั นาเด็กปฐมวัยอย่างท่ัวถงึ (2) จัดให้มีการคัดกรองท่ีเป็นระบบและได้มาตรฐานเพื่อค้นหาเด็กปฐมวัยท่ีพิการ หรอื มคี วามบกพรอ่ งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม หรอื สตปิ ญั ญา หรือเดก็ ปฐมวยั ทไ่ี มม่ ีผู้ดแู ล หรือด้อยโอกาส หรือเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการการพัฒนาเป็นพิเศษอย่างทันท่วงที และจัดให้ เด็กปฐมวัยเหล่าน้ีเข้าถึงสิทธิและได้รับโอกาสในการพัฒนาท่ีมีคุณภาพเป็นพิเศษ ส่ิงอำนวย ความสะดวก สอ่ื และบรกิ าร รวมท้ังความช่วยเหลืออ่นื ใดทางการพัฒนาและการศกึ ษาทส่ี อดคลอ้ ง เหมาะสมกบั ความจำเปน็ ทง้ั น้ี ตามหลักเกณฑ์และวิธกี ารท่คี ณะกรรมการกำหนด 16 รายงานการศึกษา แนวทางการยกระดบั คุณภาพการผลิตและพัฒนาครูปฐมวัยในสถาบนั อดุ มศึกษาของไทย 2. การผลติ และพฒั นาครูปฐมวยั มาตรา 23 ในการผลิตครูหรือพัฒนาครูด้านการพัฒนาเด็กปฐมวัย ให้สถาบัน อุดมศึกษาจัดให้มีการเรียนการสอนเพื่อเสริมสร้างจิตวิญญาณของความเป็นครู มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะ และความสามารถในการจัดการเรียนการสอนเพื่อดูแลและพัฒนา เดก็ ปฐมวยั ตามหลักการและปรชั ญาของการพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ในการพัฒนาผู้ดูแลเด็กปฐมวัยให้หน่วยงานท่ีทำหน้าท่ีพัฒนาผู้ดูแลเด็กปฐมวัยจัด การเรียนการสอนเพ่ือเสริมสร้างจิตวิญญาณของความเป็นผู้ดูแลเด็ก มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะ และความสามารถในการดแู ลเดก็ ปฐมวัยตามหลกั การพฒั นาเดก็ ปฐมวยั 3. คณะกรรมการนโยบายการพฒั นาเดก็ ปฐมวัย มาตรา 9 ให้มีคณะกรรมการนโยบายการพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ประกอบด้วย (1) นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีซ่ึงนายกรัฐมนตรีมอบหมาย เปน็ ประธานกรรมการ (2) กรรมการโดยตำแหน่ง ได้แก่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคม และความมนั่ คงของมนุษย์ รฐั มนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร นายกสมาคมสันนิบาตเทศบาล แห่งประเทศไทย นายกสมาคมองค์การบริหารส่วนจังหวัดแห่งประเทศไทย และนายกสมาคม องคก์ ารบริหารส่วนตำบลแหง่ ประเทศไทย (3) กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ิ จำนวนแปดคน ซง่ึ นายกรฐั มนตรแี ตง่ ต้งั จากผู้มีความรู้ ความเชีย่ วชาญดา้ นการพัฒนาเด็กปฐมวัย ดา้ นการศึกษา ด้านการศกึ ษาพิเศษ ดา้ นการสาธารณสขุ ด้านสังคมสงเคราะห์ และด้านสื่อสารมวลชน ด้านละหน่ึงคน และด้านการบริหารสถานพัฒนา เด็กปฐมวยั จำนวนสองคน ซง่ึ มาจากสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยภาครัฐหนึง่ คนและภาคเอกชนหนึ่งคน มาตรา 14 คณะกรรมการมหี น้าทแี่ ละอำนาจ ดังตอ่ ไปน้ ี (1) จัดทำนโยบายระดับชาติด้านการพัฒนาเด็กปฐมวัยซึ่งต้องสอดคล้อง กับกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ ยุทธศาสตร์ชาติ และแผนการปฏิรูปประเทศ และให้ ความเห็นชอบแผนพัฒนาเด็กปฐมวัยเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพ่ือพิจารณาให้ความเห็นชอบ เพอื่ ใหห้ น่วยงานและบคุ ลากรที่เก่ยี วขอ้ งกบั เด็กปฐมวยั ไดน้ ำไปปฏิบัติ (2) อนุมัติแผนงบประมาณและแผนการดำเนินงานประจำปีแบบบูรณาการ ของหนว่ ยงานของรัฐและองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ ทเี่ กีย่ วขอ้ งกบั การพฒั นาเดก็ ปฐมวยั (3) เสนอแนะและให้คำปรึกษาแก่คณะรัฐมนตรีในการพัฒนาเด็กปฐมวัย และการจัดการศึกษาของเด็กปฐมวัยตั้งแต่ระดับอนุบาลจนถึงระดับประถมศึกษาให้เช่ือมโยง กับพัฒนาการของเด็กปฐมวัย บ ท ท่ี 2 17 (4) เสนอให้มีหรือแก้ไขปรับปรุงกฎหมายที่จำเป็นเพื่อดำเนินการตามนโยบาย ระดับชาติดา้ นการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั และแผนพัฒนาเด็กปฐมวยั (5) บูรณาการการพัฒนาเด็กปฐมวัยของหน่วยงานของรัฐ องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ให้เป็นไปตามนโยบายระดับชาติด้านการพัฒนา เดก็ ปฐมวยั และแผนพฒั นาเดก็ ปฐมวยั (6) กำหนดมาตรฐานและแนวปฏบิ ตั ิที่ดเี ก่ียวกับการพัฒนาเดก็ ปฐมวยั (7) กำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการรับเด็กปฐมวัยเข้าศึกษาในระดับอนุบาล และระดบั ประถมศึกษา เพอื่ มิให้มผี ลกระทบต่อพฒั นาการของเด็กปฐมวยั (8) กำหนดสมรรถนะและตัวชว้ี ัดการพฒั นาเดก็ ปฐมวัย (9) ติดตามและส่งเสริมให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องดำเนินการจัดเก็บข้อมูล สารสนเทศของเด็กปฐมวยั อยา่ งเปน็ ระบบ (10) ส่งเสริมให้มีการศึกษาวิจัยและการสร้างนวัตกรรมที่เกี่ยวกับการพัฒนา เดก็ ปฐมวยั (11) ส่งเสริมให้ผู้ดูแลเด็กปฐมวัยและครูอาจารย์สามารถดูแลและพัฒนา เดก็ ปฐมวัยได้อย่างมคี ณุ ภาพตามหลักการและปรชั ญาของการพัฒนาเดก็ ปฐมวยั (12) ประสานงานและให้ข้อมูลแก่กองทุนเพ่ือความเสมอภาคทางการศึกษา ตามกฎหมายว่าด้วยกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา เพ่ือพิจารณาให้ความช่วยเหลือ เด็กปฐมวัยซ่ึงขาดแคลนทุนทรัพย์หรือด้อยโอกาสได้รับการพัฒนาทางร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกบั วยั มาตรา 17 ให้มีคณะอนุกรรมการบูรณาการการพัฒนาเด็กปฐมวัยซึ่งคณะกรรมการ แต่งตั้งมีหน้าที่และอำนาจในการเสนอแนะและให้ความเหน็ ตอ่ คณะกรรมการในเร่ือง ดงั ตอ่ ไปนี้ (1) จัดทำแผนพัฒนาเด็กปฐมวัยให้สอดคล้องกับกฎหมายว่าด้วยการศึกษา แหง่ ชาติ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และแผนการปฏิรปู ประเทศ (2) กำหนดแนวทางบูรณาการการทำงานรว่ มกนั ระหว่างหน่วยงานของรฐั องคก์ ร ปกครองส่วนท้องถ่ิน ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมท่ีเก่ียวข้องกับการพัฒนาเด็กปฐมวัย รวมท้ังการบรู ณาการการจดั บริการในแต่ละชว่ งรอยตอ่ ของเดก็ ปฐมวยั (3) จัดทำแผนงบประมาณและแผนการดำเนินงานประจำปีแบบบูรณาการ ของหน่วยงานของรฐั และองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ทเ่ี กีย่ วขอ้ งกบั การพฒั นาเดก็ ปฐมวัย (4) กำหนดแนวทางการติดตามผลการดำเนินงานของหน่วยงานของรัฐ องค์กร ปกครองสว่ นท้องถ่นิ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมทเ่ี กีย่ วขอ้ งกบั การพฒั นาเดก็ ปฐมวยั (5) จัดทำมาตรฐานและแนวปฏบิ ตั ทิ ่ีดีเก่ยี วกับการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั 18 รายงานการศกึ ษา แนวทางการยกระดบั คุณภาพการผลติ และพฒั นาครปู ฐมวัยในสถาบันอดุ มศกึ ษาของไทย (6) จัดทำสมรรถนะและตวั ชวี้ ัดการพัฒนาเด็กปฐมวยั (7) ปฏิบัติการอื่นใดที่เกี่ยวข้องเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามที่คณะกรรมการ มอบหมาย 4. แผนพฒั นาเดก็ ปฐมวัย มาตรา 19 ให้คณะกรรมการเสนอแผนพัฒนาเด็กปฐมวัยต่อคณะรัฐมนตรี เพ่อื พิจารณาให้ความเหน็ ชอบและประกาศให้ทราบเป็นการทั่วไป ในกรณีท่ีสถานการณ์เปลี่ยนแปลงไปในระหว่างท่ีแผนพัฒนาเด็กปฐมวัยใช้บังคับ คณะกรรมการอาจดำเนินการปรับปรุงให้เหมาะสมกับสถานการณ์นั้นได้ โดยให้นำความ ในวรรคหนึ่งมาใช้บังคับโดยอนโุ ลม มาตรา 20 แผนพัฒนาเด็กปฐมวัยตามมาตรา 19 ต้องกำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับ ระยะเวลาการใช้บังคับแผน การบริหารและพัฒนาเด็กปฐมวัย วิธีปฏิบัติ หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง รวมทั้งระยะเวลาในการดำเนินการให้ชัดเจน และอย่างน้อยต้องมีแนวทางการดำเนินการในเรื่อง ดังตอ่ ไปนี ้ (1) แผนงานและโครงการของหน่วยงานของรัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และการใชง้ บประมาณดา้ นการพัฒนาเด็กปฐมวยั อยา่ งเป็นระบบ (2) การบูรณาการการทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานของรัฐ องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม เพื่อขับเคลื่อนการดำเนินการตามแผนพัฒนา เดก็ ปฐมวยั (3) การส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินการของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องกับ การพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน และมีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับการพัฒนา เดก็ ปฐมวยั (4) การส่งเสริมและสนับสนุนการจัดสภาพแวดล้อมในครอบครัวและชุมชน ท่ีเอื้อต่อการพัฒนาเด็กปฐมวัย รวมทั้งให้เด็กปฐมวัยอยู่รอดปลอดภัยและได้รับความคุ้มครอง ให้พน้ จากการลว่ งละเมิดไมว่ ่าในทางใด (5) การจัดให้มีการพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีความสามารถ ศกั ยภาพและคุณธรรม (6) การจดั ทำฐานข้อมูลเดก็ ปฐมวัย บ ท ท่ี 2 19 มาตรฐานสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยแห่งชาต ิ มาตรฐานสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั แหง่ ชาติดำเนนิ การจดั ทำโดยความรว่ มมอื ของหน่วยงาน ท่ีเกี่ยวข้องทุกภาคส่วน ในรูปของคณะอนุกรรมการภายใต้คณะกรรมการพัฒนาเด็กปฐมวัย แห่งชาติ (ก.พ.ป.) คณะรัฐมนตรีได้ให้ความเห็นชอบมาตรฐานฯ เม่ือวันท่ี 2 มกราคม 2562 โดยประกาศใหใ้ ชเ้ ปน็ มาตรฐานกลางของประเทศ และใหก้ ระทรวงทเี่ กย่ี วขอ้ งพจิ ารณานำมาตรฐาน สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติฉบับนี้ไปใช้เป็นแนวทางในการส่งเสริมสนับสนุนให้สถานพัฒนา เดก็ ปฐมวยั ทอี่ ยภู่ ายใตก้ ารกำกบั ดแู ลและรบั ผดิ ชอบ มกี ารบรหิ ารจดั การ ประเมนิ ผลการดำเนนิ งาน เพ่ือยกระดับการพัฒนาสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีคุณภาพตามมาตรฐานฯ โดยสรุปสาระสำคัญ ดงั น้ี (สำนกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2562) เปา้ หมายหลกั ในการจัดทำมาตรฐานสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั แห่งชาต ิ ประเทศไทยมีหน่วยงานของภาครัฐและเอกชนหลายหน่วยงานที่จัดการศึกษาสำหรับ เด็กปฐมวัย โดยแต่ละหน่วยงานมีมาตรฐานและเกณฑ์การประเมินแตกต่างกันตามภารกิจของ หน่วยงาน นอกจากนี้สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยส่วนใหญ่ยังต้องใช้หลายมาตรฐานในการประเมิน ทำให้ผู้ปฏิบัติงานสับสนและต้องทำงานซ้ำซ้อน และยังไม่ได้นำผลการประเมินไปพัฒนาเด็กปฐมวัย เท่าท่ีควร จากการบูรณาการงานของ 4 กระทรวงหลักในการพัฒนาเด็กปฐมวัย ตั้งแต่อยู่ในครรภ์ มารดาจนถงึ อายุ 6 ปบี ริบรู ณ์ ประกอบด้วย กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงสาธารณสขุ กระทรวง มหาดไทย และกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมัน่ คงของมนุษย์ ตลอดจนรฐั ธรรมนูญฉบับใหม่ ให้ความสำคัญกับการพัฒนาและให้การศึกษาท่ีเหมาะสมแก่เด็กปฐมวัย ดังน้ัน จึงต้องมีการจัดทำ มาตรฐานสถานพฒั นาเด็กปฐมวัยกลางทท่ี กุ ภาคสว่ นจะใชร้ ว่ มกันในการประเมนิ เพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพ การบริการดูแลพัฒนา และจัดการศึกษาสำหรับเด็กตั้งแต่แรกเกิดถึงก่อนเข้าประถมศึกษาปีท่ี 1 เป็นการปรับกระบวนทัศน์ให้เด็กเป็นที่ตั้งของการกำหนดมาตรฐาน โดยคำนึงถึงการตอบสนอง ต่อสิทธิพื้นฐานที่เด็กทุกคนพึงได้รับ อันเป็นการวางรากฐานการพัฒนามนุษย์แทนการใช้บริบท หรือหน่วยงานต้นสังกัดเป็นที่ต้ัง ซึ่งการมีมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติฉบับเดียว เป็นมาตรฐานกลางจะช่วยให้ทุกหน่วยงานที่เก่ียวข้องมีการดำเนินงานไปในแนวทางเดียวกัน และประสานงานเพอื่ มุง่ เป้าหมายเดยี วกนั คือการพฒั นาคณุ ภาพของเดก็ ปฐมวัย วัตถปุ ระสงค์ของมาตรฐานสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยแหง่ ชาต ิ เพ่ือพัฒนาคุณภาพการบริการ ดูแล พัฒนาและจัดการศึกษา และการดำเนินงาน สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ทกุ สงั กดั ทดี่ แู ลเดก็ ในเวลากลางวนั ชว่ งอายตุ ง้ั แตแ่ รกเกดิ ถงึ อายุ 6 ปบี รบิ รู ณ ์ หรือก่อนเขา้ เรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 ทสี่ ามารถนำไปใชป้ ระเมนิ การดำเนนิ งานของสถานพฒั นา เด็กปฐมวัยในทุกสังกัด เพื่อพัฒนาคุณภาพ การจัดบริการและความต่อเน่ืองของการพัฒนา เด็กปฐมวยั 20 รายงานการศกึ ษา แนวทางการยกระดบั คณุ ภาพการผลิตและพัฒนาครูปฐมวัยในสถาบนั อดุ มศกึ ษาของไทย สาระของมาตรฐานสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั แห่งชาติ มาตรฐานสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั แหง่ ชาตปิ ระกอบด้วยมาตรฐาน 3 ด้าน ได้แก่ มาตรฐาน ด้านท่ี 1 การบริหารจัดการสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย มาตรฐานด้านที่ 2 ครู/ผู้ดูแลเด็กให้การดูแล และจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ และการเลน่ เพอื่ พัฒนาเด็กปฐมวัย และมาตรฐานดา้ นที่ 3 คณุ ภาพ ของเดก็ ปฐมวัย สาระของมาตรฐานแต่ละดา้ นมีดังน ี้ มาตรฐานดา้ นท่ี 1 การบรหิ ารจดั การสถานพฒั นาเด็กปฐมวัย ตวั บ่งชี้ที่ 1.1 การบริหารจดั การอย่างเป็นระบบ ตวั บง่ ชี้ยอ่ ย 1.1.1 บรหิ ารจดั การสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัยอยา่ งเป็นระบบ 1.1.2 บรหิ ารหลักสูตรสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั 1.1.3 บรหิ ารจดั การข้อมลู อย่างเป็นระบบ ตวั บง่ ช้ีท่ี 1.2 การบรหิ ารจดั การบคุ ลากรทุกประเภทตามหนว่ ยงานทสี่ ังกดั ตวั บง่ ชีย้ ่อย 1.2.1 บรหิ ารจดั การบุคลากรอยา่ งเป็นระบบ 1.2.2 ผู้บริหารสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย/หัวหน้าระดับปฐมวัย/ผู้ดำเนิน กจิ การ มีคุณวุฒิ/คุณสมบตั ิเหมาะสมและบรหิ ารงานอยา่ งมีประสิทธภิ าพ 1.2.3 ครู/ผู้ดูแลเด็กที่ทำหน้าท่ีหลักในการดูแลและพัฒนาเด็กปฐมวัย มีวฒุ กิ ารศกึ ษา/คุณสมบตั ิเหมาะสม 1.2.4 บริหารบุคลากรจัดอัตราส่วนของครู/ผู้ดูแลเด็กอย่างเหมาะสม พอเพยี งตอ่ จำนวนเด็กในแตล่ ะกลุ่มอาย ุ ตัวบง่ ชท้ี ี่ 1.3 การบริหารจดั การสภาพแวดลอ้ มเพ่ือความปลอดภยั ตัวบง่ ชยี้ ่อย 1.3.1 บรหิ ารจดั การดา้ นสภาพแวดลอ้ มเพอื่ ความปลอดภยั อยา่ งเปน็ ระบบ 1.3.2 โครงสร้างและตัวอาคารมั่นคง ต้ังอยู่ในบริเวณและสภาพแวดล้อม ท่ีปลอดภยั 1.3.3 จดั การความปลอดภยั ของพนื้ ทเ่ี ลน่ /สนามเดก็ เลน่ และสภาพแวดลอ้ ม ภายนอกอาคาร 1.3.4 จัดการสภาพแวดล้อมภายในอาคาร ครุภัณฑ์ อุปกรณ์ เคร่ืองใช ้ ให้ปลอดภยั เหมาะสมกับการใช้งานและเพียงพอ 1.3.5 จัดให้มีของเล่นท่ีปลอดภัยได้มาตรฐาน มีจำนวนเพียงพอ สะอาด เหมาะสมกบั ระดับพฒั นาการของเด็ก บ ท ท่ี 2 21 1.3.6 ส่งเสรมิ ใหเ้ ด็กปฐมวัยเดนิ ทางอย่างปลอดภยั 1.3.7 จัดให้มีระบบป้องกันภัยจากบุคคลทั้งภายในและภายนอก สถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั 1.3.8 จัดให้มีระบบรับเหตุฉุกเฉิน ป้องกันอัคคีภัย/ภัยพิบัติตามความเส่ียง ของพืน้ ที่ ตัวบง่ ชีท้ ี่ 1.4 การจัดการเพื่อส่งเสรมิ สขุ ภาพและการเรียนรู้ ตวั บ่งช้ียอ่ ย 1.4.1 มีการจัดการเพ่ือส่งเสริมสุขภาพ เฝ้าระวังการเจริญเติบโตของเด็ก และดูแลการเจ็บปว่ ยเบอ้ื งต้น 1.4.2 มแี ผนและดำเนนิ การตรวจสขุ อนามยั ประจำวนั ตรวจสขุ ภาพประจำป ี และปอ้ งกันควบคมุ โรคติดตอ่ 1.4.3 อาคารต้องมีพื้นท่ีใช้สอยเป็นสัดส่วนตามกิจวัตรประจำวันของเด็ก ทเ่ี หมาะสมตามชว่ งวยั และการใชป้ ระโยชน์ 1.4.4 จัดให้มีพื้นที่/มุมประสบการณ์และแหล่งเรียนรู้ในห้องเรียน และนอกหอ้ งเรยี น 1.4.5 จัดบริเวณห้องน้ำ ห้องส้วม ที่แปรงฟัน/ล้างมือให้เพียงพอ สะอาด ปลอดภยั และเหมาะสมกบั การใชง้ านของเด็ก 1.4.6 จัดการระบบสุขาภิบาลที่มีประสิทธิภาพ ครอบคลุมสถานที่ปรุง ประกอบอาหาร น้ำดม่ื น้ำใช้ กำจัดขยะ สงิ่ ปฏกิ ูล และพาหะนำโรค 1.4.7 จัดอุปกรณ์ภาชนะและเคร่ืองใช้ส่วนตัวให้เพียงพอกับการใช้งาน ของเดก็ ทกุ คน และดแู ลความสะอาดและปลอดภยั อยา่ งสมำ่ เสมอ ตวั บง่ ชีท้ ่ี 1.5 การส่งเสรมิ การมสี ่วนร่วมของครอบครวั และชมุ ชน ตวั บง่ ชี้ย่อย 1.5.1 มีการสื่อสารเพ่ือสร้างความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดีระหว่าง พ่อแม่/ผู้ปกครองกับสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยเกี่ยวกับตัวเด็ก และการดำเนินงานของสถานพัฒนา เด็กปฐมวัย 1.5.2 การจดั กจิ กรรมทีพ่ อ่ แม่/ผปู้ กครอง/ครอบครัว และชมุ ชนมีส่วนรว่ ม 1.5.3 ดำเนินงานให้สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยเป็นแหล่งเรียนรู้แก่ชุมชน ในเร่อื งการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั 1.5.4 มีคณะกรรมการสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั 22 รายงานการศึกษา แนวทางการยกระดบั คุณภาพการผลติ และพัฒนาครปู ฐมวยั ในสถาบนั อดุ มศึกษาของไทย มาตรฐานดา้ นท่ี 2 คร/ู ผดู้ แู ลเดก็ ใหก้ ารดแู ล และจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ และการเลน่ เพอื่ พัฒนาเดก็ ปฐมวยั ตวั บ่งชที้ ี่ 2.1 การดูแลและพฒั นาเด็กอยา่ งรอบด้าน ตวั บง่ ชย้ี ่อย 2.1.1 มีแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่สอดคล้องกับหลักสูตร การศึกษาปฐมวัย มีการดำเนินงานและประเมนิ ผล 2.1.2 จัดพื้นท่ี/มุมประสบการณ์การเรียนรู้และการเล่นท่ีเหมาะสม อย่างหลากหลาย 2.1.3 จัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการทุกด้านอย่างบูรณาการตามธรรมชาติ ของเดก็ ทเี่ รียนร้ดู ว้ ยประสาทสัมผัส ลงมอื ทำ ปฏสิ มั พนั ธ์ และการเล่น 2.1.4 เลือกใช้สื่อ/อุปกรณ์ เทคโนโลยีเคร่ืองเล่นและจัดสภาพแวดล้อม ภายใน-ภายนอก แหล่งเรยี นรู้ท่ีเพยี งพอ เหมาะสม ปลอดภัย 2.1.5 เฝ้าระวังติดตามพัฒนาการเด็กรายบุคคลเป็นระยะ เพ่ือใช้ผลในการ จัดกจิ กรรมพัฒนาเด็กทุกคนใหเ้ ต็มตามศักยภาพ ตัวบง่ ช้ีท่ี 2.2 การสง่ เสริมพฒั นาการดา้ นร่างกายและดูแลสุขภาพ ตวั บ่งชย้ี อ่ ย 2.2.1 ให้เด็กอายุ 6 เดือนข้ึนไป รับประทานอาหารที่ครบถ้วนในปริมาณ ท่ีเพียงพอ และสง่ เสริมพฤตกิ รรมการกินทีเ่ หมาะสม 2.2.2 จัดกิจกรรมให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติอย่างถูกต้องเหมาะสมในการดูแล สุขภาพ ความปลอดภัย ในชีวิตประจำวัน 2.2.3 ตรวจสุขภาพอนามัยของเด็กประจำวัน ความสะอาดของร่างกาย ฟนั และชอ่ งปากเพื่อคดั กรองโรคและการบาดเจบ็ 2.2.4 เฝ้าระวังติดตามการเจริญเติบโตของเด็กเป็นรายบุคคล บันทึกผล ภาวะโภชนาการอยา่ งตอ่ เน่อื ง 2.2.5 จัดให้มีการตรวจสุขภาพร่างกาย ฟันและช่องปาก สายตา หู ตามกำหนด ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 การสง่ เสริมพฒั นาการด้านสติปญั ญา ภาษาและการส่ือสาร ตัวบง่ ชย้ี อ่ ย 2.3.1 จัดกิจกรรมส่งเสริมให้เด็กได้สังเกต สัมผัส ลองทำ คิดต้ังคำถาม สืบเสาะหาความรู้แก้ปัญหา จินตนาการ คิดสร้างสรรค์ โดยยอมรับความคิดและผลงานที่แตกต่าง ของเด็ก บ ท ท่ี 2 23 2.3.2 จัดกิจกรรมและประสบการณ์ทางภาษาท่ีมีความหมายต่อเด็ก เพื่อ การส่ือสารอยา่ งหลากหลาย ฝึกฟัง พูด ถาม ตอบ เล่าและสนทนาตามลำดบั ข้นั ตอนพัฒนาการ 2.3.3 จัดกิจกรรมปลูกฝังให้เด็กมีนิสัยรักการอ่านให้เด็กมีทักษะการดูภาพ ฟังเรอ่ื งราว พูดเลา่ อา่ น วาด/เขียน เบอื้ งตน้ ตามลำดับพัฒนาการ โดยคร/ู ผดู้ แู ลเดก็ เปน็ ตวั อยา่ ง ของการพดู และการอา่ นที่ถกู ตอ้ ง 2.3.4 จัดให้เด็กมีประสบการณ์เรียนรู้เก่ียวกับตัวเด็ก บุคคล ส่ิงต่าง ๆ สถานที่ และธรรมชาติรอบตวั ด้วยวธิ ีการทเี่ หมาะสมกับวัยและพฒั นาการ 2.3.5 จัดกิจกรรมและประสบการณ์ด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ เบื้องต้นตามวยั โดยเด็กเรยี นร้ผู ่านประสาทสัมผสั และลงมอื ปฏิบัติ ดว้ ยตนเอง ตวั บง่ ชที้ ่ี 2.4 การส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์จิตใจ-สังคม ปลูกฝังคุณธรรมและ ความเปน็ พลเมืองดี ตัวบง่ ช้ยี ่อย 2.4.1 สร้างความสัมพันธ์ท่ีดีและม่ันคง ระหว่างผู้ใหญ่กับเด็ก จัดกิจกรรม สรา้ งเสรมิ ความสมั พนั ธ์ท่ดี ีระหว่างเดก็ กับเด็ก และการแก้ไข ข้อขัดแย้งอย่างสรา้ งสรรค ์ 2.4.2 จัดกิจกรรมส่งเสริมให้เด็กมีความสุข แจ่มใส ร่าเริง ได้แสดงออก ด้านอารมณ์ความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง โดยผ่านการเคลื่อนไหวร่างกาย ศิลปะ ดนตรีตามความสนใจ และถนัด 2.4.3 จัดกิจกรรมและประสบการณ์ ปลูกฝังคุณธรรมให้เด็กใฝ่ดีมีวินัย ซอื่ สตั ย์ รจู้ กั สทิ ธแิ ละหนา้ ทร่ี บั ผิดชอบของพลเมืองดรี กั ครอบครัว โรงเรียน ชมุ ชนและประเทศชาติ ดว้ ยวธิ ีท่เี หมาะสมกับวัย และพัฒนาการ ตัวบ่งช้ีท่ี 2.5 การสง่ เสรมิ เด็กในระยะเปลยี่ นผา่ นใหป้ รบั ตวั สกู่ ารเช่อื มตอ่ ในขัน้ ถดั ไป ตัวบ่งชี้ยอ่ ย 2.5.1 จดั กจิ กรรมกบั ผปู้ กครองใหเ้ ตรยี มเดก็ กอ่ นจากบา้ นเขา้ สสู่ ถานพฒั นา เด็กปฐมวยั /โรงเรยี น และจดั กิจกรรมชว่ งปฐมนิเทศให้เดก็ ค่อยปรบั ตัวในบรรยากาศทีเ่ ปน็ มติ ร 2.5.2 จัดกิจกรรมส่งเสริมการปรับตัวก่อนเข้ารับการศึกษาในระดับท่ีสูงข้ึน แต่ละข้ันจนถงึ การเปน็ นกั เรยี นระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 24 รายงานการศกึ ษา แนวทางการยกระดบั คุณภาพการผลิตและพฒั นาครปู ฐมวัยในสถาบนั อุดมศกึ ษาของไทย มาตรฐานดา้ นที่ 3 คุณภาพของเด็กปฐมวัย ● สำหรับเด็กแรกเกดิ - อายุ 2 ปี (2 ปี 11 เดอื น 29 วัน) ตวั บง่ ชี้ท่ี 3.1 ก เด็กมกี ารเจรญิ เตบิ โตสมวัย ตวั บง่ ชยี้ ่อย 3.1.1 ก เด็กมีน้ำหนักตัวเหมาะสมกับวัยและสูงดีสมส่วน ซึ่งมีบันทึก เปน็ รายบคุ คล ตวั บ่งช้ที ี่ 3.2 ก เด็กมพี ัฒนาการสมวัย ตวั บง่ ช้ยี อ่ ย 3.2.1 ก เด็กมพี ฒั นาการสมวยั โดยรวม 5 ดา้ น 3.2.2 ก รายดา้ น : เด็กมพี ฒั นาการกลา้ มเน้อื มัดใหญ ่ 3.2.3 ก รายดา้ น : เดก็ มพี ฒั นาการดา้ นกลา้ มเนื้อมดั เลก็ และสติปัญญา สมวัย 3.2.4 ก รายด้าน : เดก็ มีพัฒนาการด้านการรบั รู้และเขา้ ใจภาษา 3.2.5 ก รายดา้ น : เด็กมพี ัฒนาการการใช้ภาษาสมวยั 3.2.6 ก รายด้าน : เด็กมีพัฒนาการการช่วยเหลือตนเองและการเข้า สงั คม ● สำหรับเดก็ อายุ 3 ปี - อายุ 6 ปี (กอ่ นเข้าช้ันประถมศึกษาปที ่ี 1) ตัวบ่งชท้ี ่ี 3.1 ข เด็กมกี ารเจริญเติบโตสมวัยและมีสขุ นสิ ัยท่เี หมาะสม ตัวบ่งชี้ยอ่ ย 3.1.1 ข เด็กมีน้ำหนักตัวเหมาะสมกับวัยและสูงดีสมส่วน ซึ่งมีบันทึก เป็นรายบคุ คล 3.1.2 ข เด็กมีสุขนสิ ัยท่ดี ใี นการดแู ลสุขภาพตนเองตามวัย 3.1.3 ข เด็กมสี ขุ ภาพชอ่ งปากดี ไม่มีฟันผุ ตัวบ่งช้ีท่ี 3.2 ข เด็กมีพฒั นาการสมวยั ตวั บ่งชย้ี ่อย 3.2.1 ข เดก็ มีพฒั นาการสมวัยโดยรวม 5 ด้าน ตัวบ่งชที้ ี่ 3.3 ข เดก็ มีพฒั นาการด้านการเคลือ่ นไหว ตวั บ่งชย้ี ่อย 3.3.1 ข เดก็ มพี ฒั นาการดา้ นการใชก้ ลา้ มเนอื้ มดั ใหญ่ สามารถเคลอ่ื นไหว และทรงตวั ไดต้ ามวยั บ ท ที่ 2 25 3.3.2 ข เดก็ มพี ฒั นาการดา้ นการใชก้ ลา้ มเนอ้ื มดั เลก็ และการประสานงาน ระหวา่ งตากับมอื ตามวยั ตวั บง่ ชี้ท่ี 3.4 ข เดก็ มีพฒั นาการดา้ นอารมณจ์ ติ ใจ ตัวบ่งชยี้ อ่ ย 3.4.1 ข เด็กแสดงออก ร่าเริง แจ่มใส รู้สึกมั่นคงปลอดภัย แสดง ความรสู้ กึ ทดี่ ตี อ่ ตนเองและผอู้ ืน่ ได้สมวัย 3.4.2 ข เด็กมีความสนใจ และร่วมกิจกรรมต่าง ๆ อย่างสมวัย ซ่ึงรวม การเล่น การทำงาน ศิลปะ ดนตรี กีฬา 3.4.3 ข เด็กสามารถอดทน รอคอย ควบคุมตนเอง ยบั ย้งั ชง่ั ใจ ทำตาม ข้อตกลง คำนงึ ถึงความรู้สึกของผูอ้ ่ืน มีกาลเทศะ ปรบั ตัวเขา้ กบั สถานการณ์ใหมไ่ ด้สมวยั ตวั บง่ ชีท้ ี่ 3.5 ข เดก็ มพี ฒั นาการด้านสติปัญญา เรียนรู้และสร้างสรรค์ ตัวบ่งชยี้ ่อย 3.5.1 ข เด็กบอกเก่ียวกับตัวเด็ก บุคคล สถานท่ีแวดล้อมธรรมชาติ และสิ่งตา่ ง ๆ รอบตวั เดก็ ได้สมวยั 3.5.2 ข เด็กมีพื้นฐานด้านคณิตศาสตร์สามารถสังเกต จำแนก และเปรยี บเทียบ จำนวน มติ สิ มั พันธ์ (พนื้ ท่/ี ระยะ) เวลา ได้สมวัย 3.5.3 ข เด็กสามารถคิดอย่างมีเหตุผล แก้ปัญหาได้สมวัย 3.5.4 ข เด็กมจี นิ ตนาการ และความคิดสรา้ งสรรคท์ ี่แสดงออกไดส้ มวยั 3.5.5 ข เด็กมีความพยายาม มงุ่ มน่ั ต้ังใจ ทำกจิ กรรมให้สำเรจ็ สมวัย ตัวบ่งชี้ท่ี 3.6 ข เด็กมพี ัฒนาการด้านภาษาและการสื่อสาร ตัวบ่งชี้ย่อย 3.6.1 ข เด็กสามารถฟัง พูด จับใจความ เล่า สนทนา และส่ือสาร ไดส้ มวัย 3.6.2 ข เด็กมีทักษะในการดูรูปภาพ สัญลักษณ์ การใช้หนังสือ รู้จัก ตัวอกั ษร การคดิ เขียนคำ และ การอา่ นเบอ้ื งตน้ ไดส้ มวยั และตามลำดับพฒั นาการ 3.6.3 ข เด็กมีทักษะการวาด การขีดเขียนตามลำดับขั้นตอนพัฒนาการ สมวัย นำไปสกู่ ารขีดเขยี นคำทีค่ ้นุ เคย และสนใจ 3.6.4 ข เดก็ มที กั ษะในการสอ่ื สารอยา่ งเหมาะสมตามวยั โดยใชภ้ าษาไทย เปน็ หลกั และ มคี วามคุ้นเคยกบั ภาษาอ่ืนด้วย