Tnrr ม ไว ทำไมถ าดาวน โหลดงานว จ ยไม ได

เอกสารต่างๆ ทั้งหนังสือ ตำราต่างๆ วารสารสิ่งพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ อินเทอรเ์ น็ต วิทยานิพนธ์ รายงานวิจยั

เป็นตน้ นำมาวเิ คราะหส์ งั เคราะห์และประเมนิ ผลแปรผล (Interpretation) จากเอกสารใหม่อีกคร้ัง

๒) การวจิ ัยเชงิ คุณภาพ (Qualitative Research) เปน็ การวิจยั ทเี่ นน้ การมอง ปรากฏการณ์ให้

เห็นภาพรวม รวมทั้งสภาพที่แวดล้อมอยู่ตามธรรมชาติ โดยการมองจากหลายแง่มุมและมีแนวคิดทฤษฎีที่มี

ความหลากหลายมากกว่ายึดแนวใดแนวหนึ่งเท่านั้น. . . เน้นความรู้สึกนึกคิด จิตใจ และความหมายใน

การศึกษาของปรากฏการณ์ ปัจจุบันมีงานวิจัยเชิงคุณภาพหลายประเภท ซึ่งจะกล่าวโดยละเอียดในบทท่ี

เกี่ยวข้อง

๓) การวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) เป็นการวิจัยที่มีการรวบรวมข้อมูลอย่างเป็น

ระเบียบจากประชากรหรือกลุ่มตัวอย่างโดยอาจใช้การสัมภาษณ์หรือแบบสอบถาม บางกรณีใช้ประชากร

ทั้งหมดหรือใช้การสุ่มตัวอย่างตามสถิติเพื่อให้ได้จำนวนตัวแทนที่เหมาะสม. . . จุดหมายของการวิจัยแ บบ

สำรวจค่อนขา้ งกว้าง เชน่ สำรวจเพ่ือค้นหาข้อมลู เบอ้ื งตน้ การสำรวจเชงิ พรรณนา การสำรวจเชงิ อรรถาธิบาย

หรือการสำรวจในเชงิ คาดการณเ์ ปน็ ต้น ซง่ึ สามารถนำมาใช้ในศาสตร์หลายสาขา (ปัจจบุ นั ได้ถกู นำมาใช้ในการ

สำรวจงานด้านสันติภาพดว้ ย)

๔) การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) เป็นการวิจัยที่นักวิจัยและนักปฏิบัติทำงาน

ร่วมกันตลอดกระบวนการของการศึกษาคน้ คว้า มีคณุ ลกั ษณะ ๔ ประการ คอื มีการร่วมมอื ประสานระหว่าง

นักวจิ ยั นกั ปฏิบตั มิ กี ารแก้ปญั หาโดยการลงมือปฏบิ ตั ิ มีการเปลีย่ นแปลงในการปฏบิ ตั ิ และการ

พฒั นาทฤษฎนี ั้นมีวิธีการหรอื กระบวนการหลายรูปแบบ หนึง่ ในรปู แบบการวจิ ยั ทีไ่ ดร้ บั การนยิ มมาก การวิจัย

ปฏิบตั ิการรว่ มระดมสมองจากผู้เข้าร่วมประชุมทเี่ รียกวา่ Appreciation-Influence-Control : AIC

๕) การวิจัยแบบทดลอง (Experimental Research) มีทั้งที่เป็นศิลปะ-ศาสตร์และ

วทิ ยาศาสตร์ (รายละเอยี ดไดแ้ สดงไว้แลว้ จงึ ไม่อธบิ ายซำ้ )

๙สามารถ สุขประการ,“ศึกษาวิเคราะห์องคป์ ระกอบและกลไกจักรวาลตามหลักนิยาม ๕ ในพระพทุ ธศาสนา”, รายงานวิจยั , (สถาบันวจิ ัยพทุ ธศาสตร์: มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย๒๕๕๙).

๑๐สิริวัฒน์ ศรีเครือดง และคณะ, “การพัฒนากิจกรรมเพื่อสร้างชีวสุข: ตามแนวทางการพัฒนาจิตและปัญญา แบบองค์รวม”, รายงานวิจัย, (สถาบันวจิ ัยพทุ ธศาสตร์: มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๖๐).

๔๐ Advanced Research Methodology on Peace ๖) การวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR) เป็น

การวิจัยทีม่ ีรูปแบบที่แตกต่างไป กล่าวคอื เป็นการวิจัยที่มพี ้ืนฐานของการผสมผสานความรู้ ปรัชญา แนวคิด และวิธีการวิจัยหลายสาขา เช่น การวิจัยอย่างมีส่วนร่วม (Participatory Research) การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เน้นการพัฒนาการเรยี นรู้ โดยมีคน เป็นศูนย์กลาง และการมีจุดยืนที่จะสร้างพลังอำนาจให้แก่ประชาชน (Empowerment) โดยมุ่งพัฒนา จติ สำนกึ และความมุ่งมัน่ ของประชาชนให้แน่วแนแ่ กไ้ ขปญั หาตามสภาพความเป็นจรงิ ในสังคม (Social reality) ในลักษณะของการลงมือกระทำร่วมกัน (Collective Action)

๗) การวิจยั เชงิ อนาคตแบบ EDFR (Ethnographic Delphi Future Research) เปน็ การวจิ ัยท่ี มุ่งทำนายอนาคตโดยใช้ความสามารถของกลุ่มผู้เชี่ยวชาญมาช่วยกันระดมสมองออกความคิดเห็นแต่ไม่ต้อง มาร่วมประชุมพร้อมกัน ซึ่งข้อดี ๓ ประการ คือ ประการแรก ผู้เชี่ยวชาญส่วนใหญ่จะหาเวลาพร้อมกันยาก ประการที่สอง คือ ไม่ต้องเกรงใจกันว่าความเห็นของตนจะไปขัดกับผู้ใหญ่ที่ตนนับถือ สามารถแสดงความ คิดเห็นได้เต็มที่ ประการสุดท้าย ผู้เช่ียวชาญท่ีรว่ มวิจัยแต่ละท่านมโี อกาสรู้ถงึ แนวคิดของผูเ้ ชีย่ วชาญอื่น และ สามารถนำมาทบทวนว่าแนวคิดของตนน้นั ถูกตอ้ งหรือต้องการปรับเปล่ยี นหรอื ไม่๑๑

๒.๑.๓ แบ่งตามกระบวนการเข้าถงึ ความรู้ ความจริง ประเวศน์ มหารัตนส์ กลุ ได้แบ่งประเภทการวิจยั ตามลักษณะของกระบวนการเขา้ ถงึ ความรู้และ ความจรงิ มี ๓ ประเภท๑๒ ได้แก่ ๑) การวจิ ัยเชิงคุณภาพ เปน็ การค้นหาคำตอบคำถามขอ้ สงสยั ของบุคคล สังคม หรือต้องการทำ ความเขา้ ใจเก่ยี วกับปัญหาของบคุ คล กลมุ่ บุคคล สงั คม หรอื ปรากฏการณ์ ท่ใี หค้ วามสำคัญกบั ความรสู้ ึกนกึ คดิ คณุ ค่าของมนุษย์ กลุ่มคนและสังคม ซงึ่ ไม่สามารถวัดออกมาเปน็ ตัวเลขเชิงปริมาณได้ แตอ่ าศัย การบันทึก การ ตคี วาม และการสรุปความจากข้อมูลท่ีได้รวบรวมจากกลุ่มประชากรทีศ่ กึ ษา ๒) การวจิ ัยเชิงปริมาณ เป็นการใช้ข้อมลู ในการวิเคราะห์ท่สี ามารถวดั เปน็ ตัวเลขได้ท้ังนับได้และ นับไม่ได้ ในการวิเคราะห์ผ่านกระบวนการทางสถิติทำให้ผลการวิจัยน่าเชื่อถือ การวิจัยเชิงปริมาณเป็นการ ทดสอบวัตถุประสงค์ของทฤษฎี โดยการหาความสัมพนั ธ์ระหว่างตัวแปรที่เป็นองค์ประกอบของทฤษฎี เป็น การศึกษาจากหลกั การทัว่ ไปแลว้ สรุปเป็นการเฉพาะ (deductive approach) ๓) การวจิ ยั แบบผสานวิธี ปจั จบุ ันมีความเชอ่ื วา่ การวิจัยทง้ั เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณมีจุดแข็ง จุดอ่อนตา่ งกัน การผสานวธิ ีเปน็ การเพิ่มจุดแข็งในการวิจัยให้มคี วามน่าเช่ือถือมากขึ้น โดยการนำวิธีวิจัยเชิง คณุ ภาพมาใช้ควบค่กู ับการวจิ ัยเชิงปริมาณ

๑๑นงนภสั ควู่ รัญญู เทีย่ งกมล, การวจิ ยั เชงิ บูรณาการแบบองค์รวม, (กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพแ์ ห่งจุฬาลง กรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๔), หนา้ ๖-๑๔.

๑๒ประเวศน์ มหารตั นส์ กุล, หลักการและวธิ กี ารเขียนงานวจิ ยั งานวิทยานพิ นธ์ สารนิพนธ์, (กรุงเทพมหานคร: สำนกั พิมพ์ปัญญาชน, ๒๕๕๗), หน้า ๔๙-๕๒.

ระเบียบวิธีวิจยั ช้ันสูงวา่ ด้วยสันติภาพ ๔๑ ประเภทของการวิจันนอกจากแบ่งตามลักษณะต่างๆ ที่ยกมาแล้ว ยังมีนักวิชาการทั้งไทยและ ตา่ งประเทศไดน้ ำเสนอการแบ่งประเภทไว้ทม่ี ีลกั ษณะคล้ายคลึงกนั และแตกตา่ งกนั แลว้ แต่การแบง่ ประเภทของ นักวชิ าการนน้ั ๆ ยังมีการวิจัยอกี หลายประเภทที่ยังไมไ่ ดน้ ำมากล่าวถึง แต่เพอ่ื ให้เหน็ ภาพรวมผูเ้ ขยี นจึงทำการ สรปุ ประเภทการวิจยั ในภาพรวมไวด้ งั น้ี

ตารางที่ ๒.๑ แสดงประเภทของการวิจยั จำแนกตามเกณฑต์ า่ งๆ

เกณฑ์ ประเภทการวจิ ยั

ประโยชนก์ ารนำไปใช้ วิจยั พืน้ ฐาน (Basic Research) วจิ ัยประยกุ ต์ (Applied Research) ลักษณะของข้อมูล วจิ ยั เชงิ ปฏบิ ตั ิ (Action Research) จุดม่งุ หมายและ การวจิ ัยและพฒั นา (Research and Development) วธิ ีการ การวจิ ยั ในช้นั เรียน (Classroom Research) วิธีการเก็บขอ้ มลู การวิจยั เชงิ ปริมาณ (Quantitative Research ) การวจิ ัยเชงิ คณุ ภาพ (Qualitative Research) การวิจัยเชงิ ประวัติศาสตร์ (Historical Research) การวจิ ยั เชงิ บรรยาย (Descriptive Research) การวจิ ยั เชงิ ทดลอง (Experimental Research) การวิจัยจากเอกสาร (Documentary research) การวจิ ัยเชงิ สำรวจ (Survey Research) การวจิ ัยจากการสงั เกต (Observation Research) การวิจยั แบบสำมะโน (Census Research) การศกึ ษาเฉพาะกรณี (Case Research) การวิจัยเชงิ ทดลอง (Experimental Research)

๒.๒ พัฒนาการของงานวิจยั เพ่อื สนั ติภาพ

ก่อนทีจ่ ะกล่าวถึงพัฒนาการของงานวิจยั เพื่อสนั ติภาพ สิ่งทีผ่ ู้เขียนอยากจะให้ผู้เรียนได้ทำความ เข้าใจถึงความแตกต่างระหวา่ งงานวิจยั เพอ่ื สนั ติภาพในระดับปริญญาเอก และปรญิ ญาโท ซ่งึ ดร.อำนาจ บัวศิริ ผเู้ ชีย่ วชาญประจำหลกั สตู รสันติศึกษา ได้สรุปไว้ ดังนี้

๔๒ Advanced Research Methodology on Peace ตารางที่ ๒.๒ เปรยี บเทียบงานวจิ ยั ปริญญาโทและเอก๑๓

งานวจิ ัยระดับปริญญาโท งานวจิ ยั ระดับปริญญาเอก

๑) ให้รูจ้ กั ทำวจิ ยั ไดต้ ามกระบวนการ ๑) ตอ้ งมคี วามชำนาญในการทำวจิ ยั

๒) กำหนดวตั ถปุ ระสงคท์ ี่ไม่ซบั ซ้อน เชน่ ๒) วัตถปุ ระสงค์ สร้างองคค์ วามรใู้ หม่

ศกึ ษา วเิ คราะห์ เปรยี บเทียบ กรณีศึกษา นวัตกรรมใหม่ พฒั นาการใหม่ๆ เชน่ สรา้ ง

๓) ใช้เทคนคิ วิธีในการเก็บข้อมูลด้วยเคร่อื งมอื พัฒนา รปู แบบ สังเคราะห์

ชนดิ เดยี ว รวมท้งั การวเิ คราะห์ อยา่ งเดยี วได้ ๓) แสดงภูมริ ู้ นำเทคนคิ วธิ หี ลายลกั ษณะมา

(ไม่จำเปน็ ตอ้ งใชห้ ลายอยา่ ง ไม่ไดบ้ งั คบั ) ใช้ วธิ กี าร เครอื่ งมือ รวบรวมข้อมลู การ

๔) ไมไ่ ดจ้ ำกัดวธิ ี หรอื ประเภทการวิจยั ที่ใช้ วิเคราะห์ และการเชอ่ื มโยงความสัมพนั ธ์ที่

เกดิ จากวตั ถุประสงคแ์ ต่ละขอ้ นำมาใช้

ประกอบการสรุปผลการวิจัย

๒.๒.๑ พฒั นาการศกึ ษาวิจัยเพ่อื สันติภาพในระดับปริญญาโท การศึกษาวิจัยเพือ่ สันติภาพในระดับปรญิ ญาโทท่ีผา่ นมาส่วนใหญ่เป็นการศึกษาทีใ่ ช้รปู แบบการ วจิ ยั เชงิ คุณภาพ ซ่ึงมปี ระเดน็ การศกึ ษาท่สี ามารถสรุปเป็นประเภทกลมุ่ ศกึ ษา ดังนี้ ๑) ศึกษาองค์ความรู้ด้านสันตภิ าพในคัมภีร์พระพุทธศาสนา เป็นการศึกษาแนวคิดคำสอนใน คัมภีร์พระพุทธศาสนา เพื่อนำเสนอประเด็นองค์ความรู้ที่นำมาใช้เป็นแนวทางในงานด้านสันติภาพ เป็น การศกึ ษาเชงิ เอกสาร (Document research) ตัวอยา่ ง งานวจิ ยั เช่น “การศึกษากระบวนการขั้นตอนการระงับอธิกรณ์ในพระพุทธศาสนาเถรวาทไทย” “การประยุกตห์ ลกั เมตตาในพระพุทธศาสนาเถรวาทเพอ่ื จัดการความขัดแยง้ ” “แนวทางการจัดการความขดั แยง้ ทีเ่ กิดจากมานะในพทุ ธศาสนาเถรวาท”

๒) ศึกษาบุคคล/องค์กรต้นแบบด้านสันติภาพ เป็นการศึกษาเฉพาะกรณี (Case study research) เพื่อหาแนวทางวิธีการสร้างสันติภาพหรือจัดการความขัดแย้ง โดยมุ่งศึกษาถอดบทเรียนแนวทาง วิธีการ หลักคิดของบุคคลด้านสันติภาพโลกหรอื บคุ คลที่มีช่ือเสียงและมีส่วนในการสรา้ งสันตภิ าพใหก้ บั สังคม นอกจากศกึ ษาบคุ คลแล้วยงั มกี ารศกึ ษาถอดบทเรียนองคก์ รสนั ติภาพหรอื องค์กรสนั ติสขุ ตัวอย่าง เพอ่ื นำมาเปน็ ต้นแบบแนวทางการสรา้ งสันตภิ าพในองคก์ ร ตวั อยา่ งเช่น

“บทบาทของนางวิสาขามหาอบุ าสิกาต่อการเสริมสร้างสังคมสนั ติสุขตามหลกั สังคหวตั ถุ ๔” “ศึกษาวเิ คราะห์บทบาทการเสริมสร้างสันติภาพของ ดร.บาบาลาเฮบ พมิ เรา รามจิ อัมเบคการ์ ตามหลักพุทธสันติวธิ ี” “บทบาทของพระธรรมโกศาจารย์ (พุทธทาสภิกขุ) ต่อการเสริมสร้างสนั ติภาพและสันตสิ ุขใน สงั คมไทย”

๑๓ อำนาจ บัวศิริ, บรรยายพิเศษใหน้ ิสิตปรญิ ญาเอก สาขาวชิ าสันติศกึ ษา, ๒๕๖๑.

ระเบยี บวธิ วี ิจยั ช้ันสูงว่าด้วยสนั ติภาพ ๔๓ “รูปแบบการบริหารจัดการองค์กรสันติสุข: ศึกษากรณีวัดปัญญานันทาราม อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทมุ ธานี” “บทบาทของวัดประยุรวงศาวาสวรวิหารในการส่งเสริมการท่องเที่ยว ชุมชนพหุวัฒนธรรมตาม หลกั พุทธสันตวิ ธิ ี” วธิ กี ารวจิ ัยทนี่ ำมาใช้มีทั้งที่เปน็ การศกึ ษาเชิงเอกสาร และเชิงคุณภาพภาคสนาม โดยไปสัมภาษณ์ ผเู้ กีย่ วข้อง ใชก้ ารสงั เกตการณ์

๓) ศกึ ษาการหาแนวทางแกป้ ญั หาความขดั แยง้ ในสังคม เปน็ งานวจิ ยั เชงิ คุณภาพภาคสนาม ที่ นำประเด็นสถานการณ์ทางสังคม องค์กร ชุมชนหรอื กลุ่มบคุ คล ทมี่ ปี ญั หาความขัดแย้งมาศกึ ษาและนำหลักคำ สอนในทางพระพุทธศาสนาหรือพุทธสันติวิธีใช้นำเสนอเพื่อหาทางแก้ปัญหาหรือยุติความขัดแย้งน้ัน ตวั อยา่ งเชน่

“พทุ ธสนั ติวธิ ีในการเขา้ ถึงความสุขของพยาบาลวชิ าชีพ โรงพยาบาลวิหารแดง จงั หวัดสระบรุ ี” “พุทธสันตวิ ิธีเพอ่ื การเยยี วยาผไู้ ด้รบั ผลกระทบจากเหตกุ ารณ์รนุ แรงใน ๓จังหวัดชายแดนภาคใต้ กรณศี กึ ษากลมุ่ เครือขา่ ยชาวพุทธเพื่อสันตภิ าพ” “แนวทางการประยุกตหลักสาราณียธรรมเพื่อการจัดการความขัดแย้งระหว่าง การท่าเรือแห่ง ประเทศไทยกับพนกั งาน”

๔) งานวจิ ัยท่ีมงุ่ ศกึ ษาเพื่อแก้ไขปรับปรงุ พัฒนางานด้านสนั ติภาพ เปน็ การศกึ ษากึ่งการทดลอง ทดลอง หรือใช้การวิจยั เชิงปฏิบัติการ ในการพฒั นาสันติภาพภายใน การแก้ไขความขัดแย้งทั้งในระดับบุคคล และองคก์ ร ตวั อย่างเชน่

“พทุ ธสานเสวนาเพ่ือสรา้ งความสามัคคีระหว่างวดั กับชุมชน: บ้านหนองไผ่ จังหวดั กาญจนบุรี” “เครอื่ งมือสอ่ื สารเพ่อื จัดการความขดั แยง้ ในระบบสาธารณสขุ ไทย: กรณเี จ้าหน้าทกี่ ับผรู้ ับบริการ ชาวต่างชาติไทย โรงพยาบาลสามพราน จ.นครปฐม” “การพัฒนาผูต้ อ้ งขงั ในทณั ฑสถานหญงิ กลางตามหลกั พุทธสันตวิ ิธี” “รปู แบบการพัฒนาการฝึกอบรมแบบ “ธรรมะโอด”ี เพอ่ื เสรมิ สรา้ งองค์กรสนั ตสิ ขุ ”

๕) งานวิจัยที่มุ่งศึกษาเปรียบเทียบสันติวิธีทีบ่ ุคคลต้นแบบใช้กับหลักพุทธสันติ ส่วนใหญ่เป็น การศึกษาบุคคล หรือสถานการณ์ความขดั แย้งทีเ่ กดิ ขึ้นในสังคมแบบโดยมุ่งเน้นเฉพาะวิธกี ารใช้ในการจดั การ ความขัดแย้งเมื่อนำมาเทียบกับหลักพุทธสันติวิธีในทางพระพุทธศาสนา เป็นการศึกษาวิเคราะห์เชิงเอกสาร ตวั อยา่ งเชน่

“วเิ คราะหก์ ารใชห้ ลักขนั ติในการสร้างสนั ติภาพของมหาตมะ คานธี” “วเิ คราะห์เปรยี บเทียบความขัดแยง้ ดา้ นชาตพิ นั ธ์ระหวา่ งประเทศรวนั ดาและพระเจ้าวิฑฑู ภะ”

๔๔ Advanced Research Methodology on Peace ๖) งานวิจัยที่มุ่งศึกษาการหาเครือ่ งมือสันติวิธีในทางพระพุทธศาสนาเพ่ือใช้กับงานสันติวธิ ี

เป็นการศึกษาท่ีต้องการหาเครอ่ื งมือเฉพาะเจาะจงในการกำหนดคุณลักษณะงานด้านสันติวธิ ที ี่มีหลักธรรมทาง พระพุทธศาสนาเป็นกรอบ เป็นการศึกษาเอกสารและการสัมภาษณ์ประกอบข้อมูลเพือ่ ให้เกิดความร่วมสมัย ตัวอยา่ งเชน่

“คณุ ลักษณะของผปู้ ระนปี ระนอมเชงิ พุทธบรู ณาการ” “รูปแบบการใช้หลกั จรติ ๖ เพอ่ื การไกล่เกลย่ี ของผปู้ ระนีประนอมในศาลยตุ ิธรรม” กล่าวโดยสรุป ประเภทการวิจัยเพื่อสันติภาพทั้ง ๖ ประเภท ต่างก็เป็นการศึกษาภายใต้กรอบ แนวคิดวิธีการวิจยั เพือ่ สันติภาพทีม่ ุ่งศึกษาหาสาเหตุเพื่อแก้ปัญหาความขัดแย้ง การป้องกันความขัดแย้ง การ สร้างและพัฒนาให้เกิดสันติภาพ โดยไม่ได้ยึดติดที่กระบวนทัศน์ใดกระบวนทัศน์หนึ่งระหว่างงานวิจัยเชิง ปริมาณและเชงิ คณุ ภาพ มีงานวิจัยบางเร่ืองทเี่ รมิ่ ตน้ จากการสำรวจแบบวจิ ัยเชงิ ปรมิ าณเพื่อหาประเด็นปญั หาท่ี แทจ้ รงิ กอ่ นทจ่ี ะนำพุทธสันติวิธีไปนำเสนอเพื่อแกไ้ ขหรือพฒั นา เช่น “แนวทางการเสรมิ สร้างสันตภิ าพตามหลกั ศีล ๕ ของนิสิตมหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครสวรรค์” การวิจัยเพื่อสันติภาพใน ระดับปริญญาโท เครื่องมือหรือวิธีการวจิ ัยที่ใช้ในการวจิ ยั ยังเป็นเพียง ๑ หรือ ๒ วิธี แต่สำหรับการศึกษาใน ระดับปรญิ ญาเอก งานวจิ ยั เพอ่ื สันตภิ าพยอ่ มมีความซบั ซ้อนขนึ้ ท้งั นเ้ี พราะสังคมคาดหวังการศึกษาวิจยั ในระดบั ปรญิ ญาเอกควรสามารถนำไปใช้แกป้ ญั หาสงั คมได้อยา่ งเป็นรูปธรรม มากกว่าการศกึ ษาในระดับปริญญาโทซึ่ง ยังเปน็ ระดับความคดิ การนำเสนอแนวทางยงั ไม่ไดพ้ สิ ูจน์หรือทดสอบผลการศกึ ษาทไ่ี ด้

๒.๒.๒ พัฒนาการศึกษาวจิ ยั เพื่อสนั ติภาพในระดับปริญญาเอก งานวิจยั ในระดับปริญญาเอกสาขาสนั ตศิ ึกษา ประเด็นศกึ ษาส่วนใหญ่นสิ ติ จะนำพ้ืนฐานความรเู้ ดมิ หรือเกี่ยวข้องกบั บทบาทหนา้ ทีข่ องตนมาใช้ในการมองปญั หาทีเ่ กิดข้ึน โดยใช้วธิ วี จิ ยั ที่หลากหลายแตกต่างกัน ไปตามโจทย์วจิ ัย ผู้เขยี นไดน้ ำตวั อย่างงานวิจัยระดับปริญญาเอก ไว้ดังนี้

๑) งานวิจัยที่ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพในการรวบรวมวิเคราะห์ข้อมูล ส่วนใหญ่จะใช้ เครื่องมือวิจัยเป็นสัมภาษณ์เชิงลึกกับกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ครอบคลุมกลุ่มที่เกี่ยวข้องกับประเด็นที่ศึกษา จากนั้นผู้วิจัยจะนำมาสังเคราะห์ สรุปข้อมูล และนำเสนอกับผู้ทรงคุณวุฒิโดยการทำสนทนากลุ่ม ( Focus Group) เพื่อให้ผู้ทรงคุณวุฒิได้เสนอแนะ เพี่อนำไปปรับปรงุ ก่อนที่จะสรปุ ผลการศึกษา ซึ่งมหี ลายผลงานท่ใี ช้ แนวทางนีใ้ นการทำวจิ ัยเพื่อสนั ติภาพ เชน่

“วกิ ฤตสือ่ ในสงั คมไทย: การศึกษาและการพัฒนารปู แบบการรายงานข่าวสนั ติภาพโดยพุทธสันติ วิธี”

“รูปแบบการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทโดยแนวทางพุทธสันติวิธี: กรณีศูนย์ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทสภา ทนายความ”

“คุณลกั ษณะของผนู้ ำชุมชนเพอื่ สันตภิ าพท่ีพงึ ประสงคใ์ นสงั คมไทยปัจจุบนั ”

๒) งานวิจัยที่ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพในการรวบรวมวิเคราะห์ข้อมูล กล่าวอีกนัยหนึง่ คือ การวิจัยที่ใช้วธิ ีวจิ ัยแบบผสานวธิ ีโดยเก็บข้อมูลที่ใช้ข้อมูลเชิงปริมาณนำและนำขอ้ มลู เชิง

ระเบียบวธิ วี ิจัยชั้นสูงว่าด้วยสนั ติภาพ ๔๕ คณุ ภาพมาอธบิ ายขยายผล และบางงานวจิ ัยใช้การรวบรวมข้อมูลเชงิ คณุ ภาพนำและนำการรวบรวมข้อมูลเชิง ปริมาณมายืนยนั ทั้งนีไ้ ม่วา่ จะเป็นงานวิจยั ที่ใช้ข้อมลู เชิงคุณภาพนำหรือปริมาณนำ ผลการวิเคราะหท์ ีส่ รุปได้ นสิ ิตจะนำเสนอต่อผทู้ รงคณุ วุฒิเพ่อื ให้แนะนำและนำไปปรับปรุงก่อนทีจ่ ะสรุปผลการศึกษา กล่าวไดว้ ่าเป็นการ ยนื ยนั โมเดลองค์ความรู้โดยมผี ทู้ รงคุณวุฒริ บั รอง ดงั ตัวอย่างการศึกษา เชน่

“สันตินวัตกรรมการเสริมสร้างความผกู พันในองคก์ ร” “รูปแบบการระงบั อธกิ รณข์ องคณะสงฆไ์ ทยตามหลกั พุทธสนั ติวิธี” “รูปแบบการเสริมสรา้ งความผูกพนั ตอ่ องค์การโดยพุทธสนั ติวิธใี นองค์กรธรุ กิจการเงนิ ”

๓) งานวจิ ัยทใี่ ช้ระเบยี บวธิ วี จิ ยั ผสานวิธโี ดยการทดลองนำร่อง เปน็ การวิจัยที่เก็บขอ้ มลู ทง้ั เชิง ปริมาณและเชงิ คุณภาพ และนำร่างผลการศึกษาทีผ่ ูว้ ิจัยได้ออกแบบไว้เพื่อนำไปทดลองกับกลุม่ ตัวอยา่ ง โดย การทำสนทนากลุ่ม (Focus Group) ให้ผู้ทรงคุณวุฒิได้แนะนำและปรับปรุง ก่อนนำไปพร้อมกับนำผล การศึกษาที่ได้มาทดลองใช้กับกลุ่มตวั อย่าง ผลการศึกษาหรือองค์ความรู้วิจัยที่ได้จากการนำไปทดลองและ ได้ผลเชงิ ประจกั ษ์ ดังตวั อย่างการศึกษา เชน่

“การพัฒนาเทคนคิ การปรบั ความคิดและพฤติกรรมเพอ่ื จัดการความโกรธของวัยร่นุ ด้วยพุทธสันติ วธิ ี”

“กระบวนการพฒั นาเยาวชนสร้างสอ่ื สันตสิ ุขในสงั คมออนไลน์”

๔) งานวิจัยทใ่ี ช้ระเบียบวิธวี ิจัยเชิงปฏบิ ัตกิ าร และการวิจัยเชงิ ปฏบิ ตั ิการอยา่ งมีส่วนร่วม เป็น การวจิ ยั ทใ่ี ช้การรวบรวมขอ้ มลู ตามบรบิ ทของประเด็นศกึ ษา โดยใช้เกบ็ ขอ้ มูลท้ังเชิงคุณภาพหรือเชิงปรมิ าณมา ผสมผสาน โดยการวิจัยเชงิ ปฏิบตั ิการเน้นการนำไปสู่การลงมอื ปฏิบัติในการแก้ปัญหาหรือหาแนวทางพฒั นา และสำหรับการวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมนอกจากเน้นการลงมือปฏิบัติแล้ว ยัง มีจุดเน้นสำคัญที่ยึด ผู้เข้าร่วมหรือกลุม่ อาสาวจิ ยั ให้มสี ว่ นร่วมกับการพัฒนาองค์กร ชมุ ชน ผา่ นการลงมอื ปฏบิ ตั ิอยา่ งมีสว่ นร่วม และ สรปุ ผลการศึกษาจากปรากฎการณ์ทเี่ กิดความเปลี่ยนแปลงของกลุ่มอาสาวจิ ัย ดงั ตัวอยา่ งศึกษา เชน่

“กระบวนการบรหิ ารจดั การสถานพกั พงิ สนุ ขั จรจดั ตน้ แบบในวัดตามหลกั พทุ ธสันตวิ ธิ :ี ศกึ ษากรณี วดั โตนด อำเภอบางปะหนั จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา”

“พุทธสนั ติวิธีการมสี ว่ นรว่ มในการอนรุ ักษส์ ิ่งแวดล้อมขององคก์ ร” “สันตนิ วัตกรรมการมสี ว่ นรว่ มในการรับผิดชอบตอ่ สงั คม”

๕) งานวจิ ยั ท่ใี ช้ระเบียบวธิ วี ิจยั พฒั นา (R&D) เป็นการศึกษาทมี่ งุ่ การพฒั นาโดยมีการเกบ็ ข้อมูล ท่ีหลากหลายและมรี ะยะขั้นตอนที่แสดงถึงการพัฒนาอย่างเปน็ ระบบจนนำไปสูผ่ ลการศึกษาที่สามารถนำไป ขยายผลหรือเผยแพรไ่ ด้ ดงั ตวั อย่างศึกษา เช่น

“รูปแบบการพฒั นาวทิ ยากรต้นแบบสันตภิ าพโดยพทุ ธสนั ติวิธี” “การพัฒนารูปแบบการจดั การการท่องเทีย่ ววิถีสันติภาพอย่างยั่งยืน: กรณีศึกษา วัดบ้านขะยูง ตำบลห้วยตามอญ อำเภอภูสงิ ห์ จังหวัดศรีสะเกษ”

๔๖ Advanced Research Methodology on Peace กลา่ วได้ว่า การวจิ ัยในระดบั ปริญญาเอกของสาขาวิชาสันติศึกษา มีทิศทางการพัฒนางานวิจัยใน

ลกั ษณะของการทำใหผ้ ู้เรยี นเกิดทกั ษะประสบการณ์ตรงกับผเู้ รยี นและสรา้ งคณุ คา่ กับสังคมมใิ ชว่ จิ ัยทีอ่ ยู่บนห้ิง แต่เป็นวิจยั ที่มชี วี ติ และสามารถพฒั นาต่อยอดขยายผลได้ อย่างไรกต็ ามหัวใจสำคัญในการเลอื กใช้รูปแบบการ วิจัยแบบใด คือ การออกแบบการวจิ ัยน้นั สามารถตอบคำถามวจิ ยั หรอื โจทย์การวิจยั ได้ ดงั นั้น คำถามวจิ ัย หรือ การกำหนดโจทยว์ จิ ยั จึงเปน็ จุดเริม่ ตน้ สำคัญสำหรบั งานวจิ ัย

๒.๓ คำถามวจิ ัย และการกำหนดโจทยว์ จิ ยั ที่สอดคล้องกับงานดา้ นสนั ตภิ าพ

๒.๓.๑ โจทย์หรือคำถามการวิจยั /ปัญหาการวจิ ัยคอื อะไร? “คำถามวิจัย (Research Question)” หรือเรียกว่า “โจทย์วิจัย (Research Problem)” หรือ ปัญหาการวิจัย (Research Question) เป็นคำทใี่ ชเ้ รียกสิ่งเดยี วกัน เป็นการระบวุ า่ “เราอยากจะรู้อะไร (ใหม)่ ” จากการทำงานวจิ ยั น้ี “ความรูน้ ค้ี วรจะยงั ไม่มอี ยู่ในท่ีอน่ื ” (เพราะถา้ มอี ยู่แลว้ กไ็ มจ่ ำเปน็ จะตอ้ งไปหาความรู้ซ้ำ อีก) หรือมีอยู่บ้างแล้วแต่ยังไม่สมบูรณ์ หรือ ยังไม่เหมาะสมกับบริบทของชุมชนที่ต้องการจะนำไปใช้ จำเปน็ ตอ้ งหาความรู้เพม่ิ เตมิ คำถามวิจัย เป็นหวั ใจของโครงการวจิ ัย ต้องระบใุ ห้ชดั เจน เพราะจะมีผลตอ่ ไปถงึ การออกแบบการวิจยั และ กจิ กรรมที่จะทำในโครงการวจิ ัยท้ังหมด เพอ่ื ที่จะตอบคำถามวิจัยนี้ มนี ักวิชาการได้ ใหค้ วามหมายเกี่ยวกับปญั หาการวจิ ยั /คำถามวจิ ยั ไวด้ ังน้ี

▪ นานาทัศนะนิยามความหมายของคำถามวจิ ยั ผู้เขียนได้รวบรวมแนวคิดการให้นิยามความหมายเกี่ยวกับ คำถามวิจัย หรือ ปัญหางานวิจัย หมายถงึ - ประเดน็ ที่กอ่ ให้เกิดความสงสยั มคี วามตอ้ งการที่จะทราบหรอื ค้นหาคำตอบและได้พิจารณาว่ามี แนวทางในการแสวงหาคำตอบที่เป็นระบบและมีข้ันตอนที่ชัดเจน รวมถึงข้อสงสัยท่ีเกิดขึ้นจากความอยากรู้ อยากเห็นในข้อเท็จจริงหรือข้อสงสัยที่เป็นจุดเริ่มต้นทีก่ ่อให้การศึกษาค้นคว้าเพื่อให้ได้ความรูค้ วามจริงท่จี ะ หา๑๔ - คำถามหรอื โจทย์วจิ ัยทผี่ วู้ จิ ัยได้กำหนดข้ึนเพ่ือแสวงหาคำตอบที่เชอ่ื ถือได้โดยใชก้ ระบวนการท่ีมี ระบบระเบียบ จึงอาจจะสรุปได้ว่าปัญหา (Problem) และปัญหาการวิจัย (Research Question) จึงไม่ เหมอื นกัน กระบวนการในการค้นหาคำตอบจึงแตกตา่ งกนั ๑๕

๑๔สังคม ศุภรัตนกุล, เอกสารคำสอนรายวิชาระเบียบวิธีวิจัยทางสาธารณสุข , [ออนไลน์], แหล่งที่มา: https://sites.google.com/site/healthsecurityproject/rabeiyb-withi-wicay-thang-satharn such[๑๒ เมษ. ๒๕๖๑].

๑๕ผ่องพรรณ ตรัยมงคลกูลและสุภาพ ฉัตราภรณ์, การออกแบบการวิจัย, พิมพ์ครั้งที่ ๒. (กรุงเทพมหานคร: สำนกั พมิ พ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, ๒๕๔๓).

ระเบียบวิธวี จิ ยั ชั้นสูงว่าด้วยสันตภิ าพ ๔๗

-ประเด็นคำถามหลักที่มีการระบุอย่างเป็นทางการและใช้เป็นแนวทางในการชี้ทิศทางและแนว

ทางการ ดำเนินการวจิ ยั ที่มีองค์ประกอบของคำถามการวจิ ยั ประกอบด้วยประเด็นการวิจัย/ ตัวแปรประชากร

ในการวิจยั และสภาพแวดล้อม/สถานการณใ์ นการวจิ ัย๑๖

นอกจากน้ี ยงั มนี กั วชิ าการท่ีเชี่ยวชาญงานวจิ ยั เชิงปริมาณและเชงิ คุณภาพ ตา่ งกใ็ หท้ ัศนะเกีย่ วกับ

คำถามวจิ ัยไว้ ตามบริบทของมโนทศั นง์ านวจิ ยั ดงั นี้

ตารางท่ี ๒.๓ เปรียบเทยี บแนวคิดคำถามวจิ ัยเชิงปริมาณและเชงิ คณุ ภาพ

นงลกั ษณ์ วิรชั ชัย ชาย โพธสิ ติ า

ผู้เชี่ยวชาญงานวิจัยเชิงปริมาณ ได้แสดง ผู้เชี่ยวชาญงานวิจัยเชิงคุณภาพ ได้ให้

ทัศนะไว้ว่า ปัญหาปัญหาการวิจัยมีลักษณะ ความหมายคำว่า คำถามสำหรับการวิจัย

ที่แตกต่างจากปัญหาทั่ว ๆ ไป ๒ ประการ (Research Questions) หมายถงึ

กล่าวว่าคือ สิ่งที่นักวิจัยต้องการรู้ หรือต้องการหา

๑) คำถามที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง คำตอบ อันเป็นทีม่ าของงานวจิ ัยเรอ่ื งนั้น ใน

ปรากฏการณ์และตัวแปรตน้ การออกแบบส่วนน้ีควรพยายามตอบคำถาม

๒) แสดงให้ชัดเจนว่าสามารถหาคำตอบได้ เหล่าน้ี คือ ในการทำวิจยั เร่ืองนเ้ี รา

ดว้ ยวธิ ีการเชงิ ประจกั ษ์๑๗ ต้องการรู้ทำความเข้าใจอะไรบา้ ง?

มสี ง่ิ ใดบา้ งทีย่ ังไม่มใี ครรแู้ ตเ่ ราอยากรู้?

ในการวิจัยน้ีเราจะพยายามตอบคำถาม

อะไรบ้าง? และคำถามเหล่านั้นเกี่ยวข้อง

กันอยา่ งไร?

คำถามการวิจัยเป็นองค์ประกอบที่สำคัญ

มาก ในการออกแบบองค์ประกอบสว่ นอื่นๆ

ทั้งหมดนักวิจัยจะต้องคำนึงถึงคำถามการ

วิจัยก่อนเสมอ ดังนั้น คำถามจึงทำหน้าที่

เปน็ เสมือนศูนยก์ ลางของการออกแบบการ

วจิ ยั ๑๘

๑๖ปาริชาต สถาปิตานนท์, ระเบียบวิธีวิจัยการสื่อสาร, พิมพ์ครั้งที่ ๒, (กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั , ๒๕๔๖).

๑๗นงลักษณ์ วิรัชชัย, โมเดลลิสเรล: สถิติวิเคราะห์สำหรับการวิจัย, (กรงเทพมหานคร: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๓).

๑๘ชาย โพธสิ ติ า, ศาสตร์และศลิ ปแ์ ห่งการวิจัยเชิงคุณภาพ, พิมพค์ รั้งที่ ๕,(กรุงเทพมหานคร: บริษทั อมรนิ ทร์พ ริ้นต้งิ แอนด์พับลชิ ชง่ิ จำกดั (มหาชน), ๒๕๕๔), หน้า ๑๐๐.

๔๘ Advanced Research Methodology on Peace กล่าวได้ว่า หัวใจสำคัญของการออกแบบการวิจัยอยู่ที่การตั้งคำถาม องค์ประกอบอื่นล้วน

เกี่ยวข้องกับคำถามไม่โดยตรงก็โดยอ้อม LeCompte and Schensul (1999) แสดงทัศนะไว้ว่า คำถาม สำหรับการวจิ ัยเป็นสงิ่ แรกทจ่ี ะตอ้ งทำในการออกแบบ เมอื่ สร้างคำถามให้ชัดเจนแล้ว การออกแบบเร่ืองอื่นที่ ตามมากจ็ ะชัดเจนดว้ ย

▪ คำถามการวิจยั แบ่งตามลักษณะคำตอบทตี่ ้องการ Maxwell (๑๙๙๖) กล่าวว่า การตั้งคำถามสำหรับการวิจัย ไม่ว่าจะเป็นเชิงปริมาณหรือเชิง คุณภาพกต็ ามอาจทำได้ ๓ แบบ ตามลักษณะของคำตอบที่ต้องการ๑๙ คอื

(๑) คำถามทีย่ ึดกลุ่มเปา้ หมายในการวิจยั เป็นหลกั รูปแบบของคำถามอาจมุ่งหาคำตอบเกี่ยวกบั กลุ่มเป้าหมายทั่ว ๆ ไป (generalizing question) หรือมุ่งกลุ่มเป้าหมายที่เจาะจง (particularizing questions) ก็ได้ ตัวอย่างของคำถามประเภทที่มุ่งหาคำตอบสำหรับกลุ่มเป้าหมายทั่วไป เช่น “คู่สมรสมีวิธี ส่อื สารกันเกย่ี วกบั เร่ืองเพศสมั พนั ธ์กันอย่างไร” “ค่สู มรส” ในที่นเ้ี ปน็ กลุ่มเปา้ หมายทวั่ ไปของการวิจัย และ เปน็ กลมุ่ ทีน่ ักวจิ ยั ตัง้ คำถามเพ่อื จะหาคำตอบ และในเรือ่ งเดียวกันนเี้ ราอาจตงั้ คำถามแบบมงุ่ หาคำตอบสำหรับ กลุ่มเป้าหมายเจาะจงกไ็ ด้ แต่ลักษณะของคำถามจะเปลย่ี นไปเลก็ น้อย เช่น “คูส่ มรสวยั กลางคนในชนบทมวี ิธี สื่อสารกนั เก่ียวกับเพศสมั พันธอ์ ย่างไร” “คู่สมรสวัยกลางคนในชนบท” เป็นกลุ่มเปา้ หมายเจาะจงที่นักวจิ ยั ตอ้ งการหาคำตอบ

“คำถามแบบมงุ่ หาคำตอบทั่วไปเหมาะกับการศกึ ษาทม่ี จี ำนวนมากๆ อาจต้องเลือก โดยสมุ่ ตวั อย่างด้วยวธิ กี ารเชงิ ปรมิ าณ และสำหรบั คำถามทมี่ งุ่ เจาะจง เหมาะกบั กลุ่ม

ตวั อย่างขนาดเลก็ อาจใชว้ ิธคี ณุ ภาพทั่วไป เช่น ศึกษาเฉพาะกรณี”

(๒) คำถามที่บง่ นยั ถึงข้อมูลทต่ี ้องการ รูปแบบการตง้ั คำถามอาจบอกใบถ้ งึ ประเภทของขอ้ มูลว่า เป็นอะไร เจาะจงสำหรับขอ้ มลู เรือ่ งใดเรื่องหนึง่ หรือว่าเปิดกวา้ งสำหรับข้อมูลท่ัว ๆ ไปในเรื่องน้ันๆ ตัวอย่าง ของการตั้งคำถามแบบเจาะจงข้อมูลเช่น “การประกอบอาชพี เป็นผู้ให้คำปรึกษาแก่หญิงที่ถูกกระทำความ รุนแรงทางเพศเป็นเวลานาน มีผลกระทบต่อความคิด อารมณ์ และพฤติกรรมทางเพศของนักสังคม สงเคราะหท์ ที่ ำงานนอ้ี ยา่ งไร” คำถามนีบ้ ง่ ชดั วา่ ขอ้ มลู ทตี่ อ้ งการเป็นเรือ่ งของผลกระทบทางความคดิ อารมณ์ และพฤตกิ รรมทางเพศ อันเกิดจากการประกอบอาชพี ของนกั สงั คมสงเคราะหท์ ท่ี ำงานเก่ียวกบั หญงิ ท่ีถูกกระทำ รุนแรงทางเพศ ลองเปรียบเทียบกับคำถามน้ีกับคำถามท่ีไมเ่ จาะจงข้อมลู ต่อไปนี้ จะเห็นว่าม่ีความแตกต่างกัน เช่น “การให้คำปรึกษาแก่หญิงที่ถูกกระทำความรุนแรงทางเพศมาเป็นเวลานาน มีผลต่อนักสังคม สงเคราะห์ที่ทำงานด้านนีห้ รอื ไม่ อย่างไร”

๑๙ชาย โพธิสิตา, ศาสตรแ์ ละศลิ ปแ์ ห่งการวิจยั เชิงคุณภาพ, พิมพ์คร้งั ท่ี ๕,(กรงุ เทพมหานคร: บรษิ ัท อมรินทร์พ ร้นิ ติ้งแอนด์พบั ลชิ ชงิ่ จำกัด (มหาชน), ๒๕๕๔), หน้า ๑๐๗-๑๐๘.

ระเบยี บวิธีวจิ ยั ชั้นสงู วา่ ดว้ ยสันติภาพ ๔๙

คำถามแบบเจาะจง: ขอ้ ดขี องการคำถามแบบเจาะจงชนดิ ข้อมูลทต่ี อ้ งการ คอื ความ ชัดเจนขอ้ มลู อะไรบ้างทตี่ อ้ งการรวบรวมมาเพื่อการวิจยั ข้อเสยี คอื อาจมขี อ้ มูลอ่นื ทไี่ ม่ได้ บ่งอยู่ในคำถามมโี อกาสท่จี ะถกู มองข้าม คำถามแบบไม่เจาะจง: มีขอ้ ดี คือ การเปิดรบั ข้อมลู ทกุ อย่างทเี่ ป็นไปได้ แตข่ อ้ เสยี คือ ขาดจุดเนน้ ทส่ี ำคญั ในการวจิ ัย

(๓) คำถามแบบม่งุ เขา้ ใจสหสมั พนั ธร์ ะหว่างตัวแปร หรอื ผลกระทบของปจั จยั อยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ คำถามแบบมุง่ สหสัมพันธข์ องตัวแปรนัน้ มีจดุ เน้นอยู่ที่ว่าเม่อื มีความผันแปรในปจั จยั ตวั หนึ่งจะก่อให้เกิดความ แตกต่างในปัจจัยอีกตัวหนึ่งอย่างไร สิ่งที่คำถามมองหาคือ สหสัมพันธ์ของปัจจัยตัวหนึ่งกับอีกตัวหนึ่ง เช่น “นักเรียนที่มาจากครอบครัวแตกแยกมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้อยกว่านักเรียนที่มาจากครอบครัวที่ไม่ แตกแยกจริงหรือไม่” คำถามแบบนีเ้ ป็นลักษณะของคำถามในการวิจัยเชิงปริมาณ อกี รปู แบบหนึ่งของคำถาม ประเภทน้ีมุ่งทำความเขา้ ใจผลของปัจจัยตัวหนึง่ ตอ่ ปัจจัยอีกตัวหน่ึงในรูปแบบกระบวนการมากกว่าในรูปของ สหสัมพันธ์ เช่น “ครอบครัวทีแ่ ตกแยกสง่ ผลต่อผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของเด็กได้อย่างไร” คำถามแบบน้ี เป็นคำถามประเภท “อยา่ งไร” และ “ทำไม” และเป็นลกั ษณะของการวิจยั เชิงคณุ ภาพ

Creswell (1998): ในการวจิ ยั เรอื่ งหนงึ่ ๆ ควรมีคำถามหลกั (Central Question) คำถาม เดยี วก็พอ และมีคำถามรองหรอื คำถามตอ่ เนือ่ งอกี สกั จำนวนหนงึ่ ชาย โพสิธติ า: คำถามต่อเน่ืองหรือคำถามรองอาจมปี ระมาณ ๒-๓ คำถาม การมีคำถาม จำนวนมาก ไมไ่ ด้เกยี่ วกบั คณุ ภาพของการวิจัย ตรงกนั ขา้ ม คำถามจำนวนมากๆ อาจเปน็ ส่ิงทฟี่ อ้ งว่านักวิจัยไมไ่ ดค้ ิดเกี่ยวกบั เรือ่ งท่ตี นจะศึกษาอยา่ งดีเทา่ ทค่ี วร

ภาพท่ี ๒.๑ แสดงความสมั พนั ธข์ องคำถามการวจิ ยั ทม่ี ีผลต่อการออกแบบวิจยั (ทม่ี า: ปรับจากแนวคดิ ของ Maxwell อ้างใน ชาย โพธสิ ติ า, ๒๕๕๔)

จุดมุ่งหมายและ กรอบแนวคดิ วตั ถปุ ระสงค์ ทฤษฎี

คำถามในการวจิ ยั

วธิ ีการวจิ ัย ความถูกตอ้ งตรง ประเด็น

๕๐ Advanced Research Methodology on Peace “ไมม่ กี ารวจิ ัยใดทีท่ ำไดโ้ ดยปราศจากปญั หาการวิจยั ” คำถามการวิจัยจึงเป็นโจทยท์ น่ี กั วจิ ยั จำเป็นต้องใชก้ ระบวนการวิจัยเพื่อหาคำตอบในส่ิงที่นักวิจัย

อยากรู้ ซึ่งปัญหาการวิจัยจะมีจำนวนมากอันเนื่องจาก ๑) ตัวแปรมีจำนวนมากและเปลี่ยนแปลงตามเวลา/ สถานท่ีอยูเ่ สมอๆ ๒) การแสวงหาคำตอบของการวจิ ยั ยงั ไม่ครบถว้ นสมบรู ณ์และ ๓) มีการเปล่ยี นแปลงแนวคดิ หลักการและทฤษฎีที่จะต้องได้รับการตรวจสอบพิ สูจน์ความถูกต้องด้วยวิธีการที่เป็นระบบและชัดเจ น ๒๐ ผู้เขยี นมกั จะได้ยนิ ปัญหาทสี่ ะท้อนในชน้ั เรียนคอื ไม่รูว้ ่าจะทำหัวข้ออะไร หรอื กล่าวได้ว่าผู้ศึกษายังไม่มีโจทย์ การวิจัยนัน่ เอง จงึ มีคำถามต่อไปอกี ว่า แลว้ โจทยก์ ารวิจยั หรือแหล่งทีม่ าของคำถามการวจิ ัยมาจากไหน

▪ แหล่งทมี่ าของคำถามวิจัย มีนักวิชาการหลายทา่ นได้แสดงทัศนะถึงแหล่งที่มาของคำถามวิจัย ซึ่งประเดน็ กเ็ หมอื นและบาง ประเด็นกแ็ ตกตา่ งกัน ดงั นั้นเพอื่ ใหผ้ ูศ้ ึกษาไดม้ ีมมุ มองที่หลากหลายผ้เู ขียนจึงไดเ้ รียบเรยี งแหลง่ ทีม่ าของคำถาม วจิ ัยจากนานาทัศนะ สรุปเป็นตารางไว้ ดังน้ี

ตารางท่ี ๒.๔ แสดงนานาทศั นะเกย่ี วกบั แหลง่ ท่ีมาของคำถามการวิจยั

แหลง่ ที่มา กวี รกั ษช์ นและ วนดิ า วาดีเจริญ ไพทูรย์ สนิ ลา ยทุ ธ กาญจนา ต้ัง ชลทิพย์๒๕ คณะ๒๑ และคณะ๒๒ รตั น์ และคณะ๒๓ ไกยวรรณ์๒๔ ความสนใจ เฉพาะตวั ตวั ผู้วิจัย ประสบการณ์ของ การสังเกตของ ประสบการณข์ อง ประสบการณ์ งานประจำหรือ หน่วยงาน ผู้วจิ ยั เอง ผู้วิจัย ผู้วิจยั เอง ของผูท้ ำวิจยั -รายงาน วชิ าการ เอง ทบทวน วรรณกรรม แหลง่ ค้นคว้า -ทฤษฎตี ่างๆ -มหาวิทยาลัย -ทฤษฎตี า่ ง ๆ -การอา่ นจาก -อ่านหนังสือหรือ แหล่งต่างๆ ข้อมลู -งานเขียนทาง สถาบันการ วารสารเก่ียวกบั (Reading) การวิจยั -ขอ้ เสนอแนะ วิชาการของคนอื่น ศกึ ษา จากการวจิ ัย

ๆ -สภาหอการค้าไทย

๒๐ชาย โพธิสติ า, ศาสตร์และศลิ ปแ์ หง่ การวิจัยเชิงคุณภาพ, พมิ พค์ รง้ั ที่ ๕,(กรงุ เทพมหานคร: บรษิ ัท อมรินทร์พ รนิ้ ต้งิ แอนดพ์ บั ลชิ ชงิ่ จำกดั (มหาชน), ๒๕๕๔), หน้า ๑๐๗-๑๐๘.

๒๑กวี รกั ษช์ นและคณะ, หลกั และวธิ ีการวิจยั ทางรัฐศาสตร์, พมิ พค์ ร้งั ที่ ๖, (กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัย รามคำแหง, ๒๕๔๓), หน้า ๒๕-๒๖.

๒๒วนิดา วาดเี จริญและคณะ, ระเบียบวิธวี ิจัยจากแนวคดิ ทฤษฎีสู่ภาคปฏิบัติ, (กรงุ เทพมหานคร : ซเี อด็ ยเู คช่ัน, ๒๕๖๐), หนา้ ๓๔-๓๖.

๒๓ไพทรู ย์ สินลารัตน์ และสำลี ทองธวิ , การวจิ ัยทางการศึกษา : หลกั และวิธีการสำหรบั วจิ ัย, พมิ พ์คร้งั ท่ี ๗, (กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั , ๒๕๕๓), หนา้ ๒๖-๒๘.

๒๔ยทุ ธ ไกยวรรณ์, พน้ื ฐานการวิจัย, พิมพค์ รงั้ ท่ี ๗, (กรุงเทพมหานคร : สุวรี ยิ าสาสน์ , ๒๕๕๗), หนา้ ๔๓-๔๔. ๒๕กาญจนา ตั้งชลทิพย์, การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ: การจัดการข้อมูล การตีความและการหา ความหมาย, (กรุงเพทมหานคร: บริษทั ชโี น พับลิชช่งิ (ประเทศไทย)จำกัด, ๒๕๕๒), หน้า๑๘-๑๙.

ระเบียบวิธวี ิจัยชั้นสูงวา่ ดว้ ยสันติภาพ ๕๑

ตารางที่ ๒.๔ (ต่อ)

-ขอ้ เสนอแนะใน -สภาอุตสาห กรรม -ข้อเสนอแนะของ

วิทยานิพนธ์หรือ แห่งประเทศไทย ผลการวิจัย

งานวจิ ยั และสภาธนาคาร -บทคัดยอ่

-บทคัดย่อของ ไทย วิทยานิพนธ์หรอื

วทิ ยานพิ นธห์ รอื -สำนกั งาน บทคัดยอ่ รายงาน

งานวจิ ัย คณะกรรมการวิจยั การวิจัย

แห่งชาติ

ขอ้ แนะนำ -ปรกึ ษาผูเ้ ชย่ี วชาญ -คำแนะนำของ -ปัญหาทไี่ ดม้ า -ผู้นำทาง -ปรกึ ษา

ผเู้ ชี่ยวชา ผเู้ ช่ียวชาญในสาขา จากผ้อู ื่น วชิ าการหรอื ผู้เชี่ยวชาญ

ญ อาชีพ ผู้เชี่ยวชาญ

ปรากฎกา -ปัญหาทางสังคม -ปญั หาท้องถ่ิน

รณ์ทาง ปัญหาประเทศ

สังคม -ภัยพบิ ตั ิ

ปรากฏการณท์ ่ี

รนุ แรง

หน่วยงาน -องคก์ รหรือ -รายงานภายใน แหลง่ -ผูเ้ กี่ยวขอ้ ง

ทีต่ อ้ งการ หน่วยงานทีต่ อ้ งการ บรษิ ัท ทุนอดุ หนุน ตอ้ งการนำ

ใช้ผลงาน ใชผ้ ลงานวิจยั -องคก์ ารระหวา่ ง ผลการวจิ ยั ไป

ประเทศ องค์การ ใช้โดยตรง

ธุรกิจเอกชน -แหล่งทนุ ตา่ งๆ

ท้งั ภายใน

ภายนอก

ประเทศ

อนื่ ๆ การวิเคราะหร์ ะบบ ชอ่ งว่าง

ระหว่างความ

เป็นจริงกบั

ความนา่ จะเปน็

๕๒ Advanced Research Methodology on Peace ภาพที่ ๒.๒ แหล่งทมี่ าของคำถามการวิจยั ในทัศนะของผู้เขยี น ดังนี้

ประสบการณ์ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ ความสนใจผวู้ จิ ยั และสังคมแห่งชาติ

ฉบบั ที่ ๑๒

ความต้องการใช้ นโยบายรัฐ ประโยชน์

ปรากฏการณ์ มมุ มอง นโยบายวิจยั ทางสังคม แห่งชาติ กว้างๆ โจทยว์ ิจยั

กำหนดประเด็นวจิ ยั โจทย์วิจัย

ท้ังน้ีในการหาโจทยว์ ิจัยหรือคำถามวิจัยในทัศนะของผู้เขยี นยังไม่ถอื วา่ เป็นเรอ่ื งหนักใจของนกั วิจยั มอื ใหม่ แตค่ วรใหค้ วามสำคัญและตอ้ งนำมาใครค่ รวญ คือ การเลือกปญั หาวจิ ัยทดี่ ี ซง่ึ ควรมีลกั ษณะดังน้ี

ลักษณะปญั หาวิจยั ที่ดี ๑) เป็นปัญหาทีส่ ำคญั มปี ระโยชน์ ทำให้เกดิ ความรู้ใหมห่ รือใช้ปรับปรุงแก้ไขปัญหาตา่ งๆ ได้ ๒) เป็นปญั หาที่สามารถหาขอ้ สรุปได้ด้วยวิธกี ารวิจัย ๓) มขี อบเขตทเ่ี หมาะสมแกค่ วามสามารถ และทรัพยากร ๔) ไม่ซ้ำซ้อนกบั งานวจิ ยั อน่ื ด้านประเดน็ ปญั หา สถานท่ี ประชากร และวิธีการศึกษา ๕) เปน็ ปัญหาทสี่ ามารถให้ค่านยิ ามปญั หาได้ ๖ ) เ ป ็ น ป ั ญห าท ี่ สา มา รถวา งแ ผน ก าร ดำ เน ิ น งา นต า มขั ้ น ตอ น ไว้ล่ วง หน้ า ได้ ๗) เปน็ ปญั หาท่ีสามารถใชว้ ิชาการ และข้ันตอน หรือเครอ่ื งมอื ที่มีประสทิ ธภิ าพ ในการเกบ็ ข้อมลู ได้

ความสำคญั ของการกำหนดโจทย์ทด่ี ี

• ชว่ ยให้เร่ืองท่ีจะทำการวจิ ัยแคบลง มเี ปา้ หมายแน่นอนแล้ว

• ช่วยช้ีแนะแนวทางในการกำหนดวัตถุประสงค์และสมมตฐิ าน การเกบ็ ข้อมลู การวเิ คราะหข์ ้อมูล และการ สรปุ ผลวจิ ัย

• ปญั หาการวิจัยเป็นเครอ่ื งบง่ ชแ้ี นวทางการวิจัย ซง่ึ จะนำไปสกู่ ารสรา้ งองค์ความร้ทู างวิทยาศาสตร์

• หากกำหนดปญั หาการวิจัยถูกต้องชดั เจน การวจิ ัยย่อมจะประสบผลสำเรจ็ ในการแกไ้ ขปัญหา

ระเบียบวิธวี ิจยั ชั้นสงู ว่าดว้ ยสันตภิ าพ ๕๓

แนวทางเพิ่มเตมิ ในการคน้ หาปญั หาการวิจยั • จากการอ่านตำรา บทความตา่ ง ๆ ทผ่ี ู้วิจยั สนใจ โดยเฉพาะอย่างย่ิง การอา้ งอิงทฤษฎีทเ่ี กี่ยวขอ้ งในเรื่องทีต่ นเอง

สนใจทำวจิ ยั • จากการวจิ ยั ทีม่ ผี ูอ้ ่นื ได้ทำไวแ้ ล้ว เช่น วารสารวจิ ยั หรือปรญิ ญานิพนธ์ • จากประสบการณ์ และขอ้ คดิ ของผู้อืน่ ๆ ที่เคยคลกุ คลีกบั งานวจิ ัย • จากข้อโตแ้ ย้ง หรอื ขอ้ วพิ ากษว์ ิจารณข์ องบุคคลทอี่ ยู่ในวงการวิชาชพี นน้ั ๆ ซ่ึงตรงกบั เร่อื งทผี่ วู้ ิจยั สนใจ • จากสถาบัน หรือหน่วยงานทเ่ี กี่ยวขอ้ ง ซง่ึ อาจจะทำให้ไดแ้ นวคิดในหวั ข้อของการวจิ ยั และหลกั เกณฑข์ องการ

กำหนดปญั หาวจิ ัย

การเลอื กปญั หาวิจยั มีหลกั การอยา่ งไร นอกจากนป้ี ญั หาทพี่ บในการใหค้ ำปรกึ ษาวทิ ยานิพนธ์ คือ ผ้ศู ึกษามคี วามสนใจประเด็นตา่ งๆ มาก หรือมีโจทยว์ ิจยั หรอื สนใจใครร่ ู้หลายประเดน็ จนทำใหเ้ กดิ การสบั สนและไมส่ ามารถตัดสนิ ใจเลอื กโจทยว์ จิ ัยได้ ดงั น้นั จึงไดเ้ สนอหลกั ในการเลอื กปญั หาวจิ ยั ไวด้ ังนี้

✓ ความมีเหตุ มผี ล ✓ ผู้วจิ ยั สามารถ ดำเนินการได้ ✓ มีผู้ได้รบั ประโยชน์ ในวงกวา้ ง ✓ เปน็ สงิ่ ใหม่ ไมค่ วรซำ้ ✓ ระบไุ ด้ ชัดเจน ใคร อะไร ที่ไหน อย่างไร

▪ มมุ มองปญั หาวจิ ยั ของสาขาวชิ าสนั ตศิ กึ ษา รศ. (พิเศษ) ดร.อำนาจ บัวศิริ ได้เคยมาบรรยายให้นิสิตสันติศึกษา และได้นำเสนอประเด็น เกย่ี วกับมมุ มองปญั หาวจิ ยั ของสาขาวิชาสนั ตศิ กึ ษาไวด้ ังน้ี

ตารางท่ี ๒.๕ แสดงกรอบปัญหาการวจิ ัยสาขาสนั ติศึกษา

แยกตามแหลง่ ที่มา การนำไปใช้ ตามลักษณะงาน

-บคุ คล หลกั การ แก้ไขปญั หา (อารมณ์ ความเช่ือ ความคิด ทศั นคติ การกระทำ) ยุทธศาสตร์ พฒั นาปรับปรงุ -ชุมชน -องค์กร วธิ ีการ หาวธิ ปี ้องกนั -วัฒนธรรม -สงิ่ แวดลอ้ ม

จากตารางสะท้อนให้เห็นว่า สิ่งสำคัญที่นิสิตพึงตระหนักถงึ จุดหมายที่แท้จรงิ ของการวิจัยที่นิสติ

๕๔ Advanced Research Methodology on Peace ต้องการให้บรรลุคืออะไร ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญที่จะทำให้การทำวิจัยเป็นไปตามแบบแผนเส้นทางที่ออกแบบไว้ กล่าวคือ ไม่หลงทศิ หลงทาง ซึ่งหลายๆ ครั้งในการแลกเปลี่ยนกับนิสิตทัง้ ในระดับปริญญาโทและปริญญาเอก ความไม่ชัดเจนของผู้ศึกษาว่าต้องการอะไรหรือ มีจุดหมายในงานวิจัยอย่างไรกันแน่ ทำให้การออกแบบ กระบวนการวิจัยไมช่ ัด หรือแม้กระท่ังการวเิ คราะห์ผล สังเคราะห์ผลไม่ชดั เพราะผู้ศึกษาไม่ทราบว่าตอ้ งการ อะไรที่เป็นจุดโฟกัสหรือจุดหมายที่มุ่งเน้น ดังนั้น การทำความเข้าใจเกี่ยวกับจุดมุ่งหมายการวิจัยซึ่งจะมี ความสัมพันธ์กับการกำหนดวัตถุประสงค์การวิจัยเป็นเร่ืองที่จำเป็นต้องปลูกฝังในมโนทัศน์ของผู้ศึกษา ดังคำ กล่าวว่า “เดนิ เรือต้องมเี ข็มทิศ ดำเนินการวิจยั ต้องมีจดุ หมาย”

๒.๓.๒ จุดมุ่งหมายสำคัญไฉน เปน็ วัตถุประสงคห์ รือไม่? “ถ้าไม่มจี ดุ มุ่งหมายทีช่ ัดเจนอยูเ่ บ้ืองหลัง นักวิจัยก็มีโอกาสที่จะหลงทาง หรือไมก่ ็อาจจะใช้เวลา และความพยายามไปทำในสงิ่ ที่จะไม่ช่วยให้บรรลุถงึ จุดหมายปลายทางของการวจิ ัยแต่อยา่ งใด”๒๖ อาจมคี ำถามวา่ จดุ มงุ่ หมายกับวตั ถุประสงค์คอื ส่งิ เดยี วกันหรอื ไม่ หากมองในเบื้องต้นอาจจะเห็น วา่ ใช่ แต่แท้จรงิ แลว้ จุดมงุ่ หมาย กับวตั ถปุ ระสงค์ไมใ่ ช่สิ่งเดยี วกนั ถงึ แมว้ ่าท้งั สองอยา่ งนี้จะไปดว้ ยกันหรืออยู่ คู่กันในการวิจัยก็ตาม ทั้งนี้จุดหมายเป็นเร่ืองของเปา้ หมายโดยรวมท่ีอยากให้บรรลุถึงในการทำวิจยั หรืออาจ เรยี กได้ว่า จดุ มงุ่ หมายสูงสดุ ของการวิจยั เป็นสงิ่ ทท่ี ำให้เราเกิดแรงบันดาลใจ สรา้ งแรงปรารถนาทีจ่ ะศึกษา เรอ่ื งนัน้ และเราคาดหวังว่าการศึกษานัน้ จะช่วยให้เราบรรลุส่ิงท่มี ุง่ หมายนั้นได้ สิ่งท่นี กั วิจัยอยากบรรลถุ งึ ในขั้น สดุ ท้ายนนั่ คือ จดุ มุ่งหมายในการศึกษา สำหรับวตั ถุประสงค์ เป็นเรื่องทเี่ ราจะตอ้ งทำเพอื่ ให้บรรลุจุดมุ่งหมาย ในการศึกษาน้ัน อีกนัยหนึง่ กล่าวไดว้ ่า วัตถุประสงค์การวิจัย จะถูกชี้นำโดยจดุ มุ่งหมาย คือจะต้องไปในทาง เดียวกับจดุ มุ่งหมาย จะไปคนละทางกันไมไ่ ด้ หากเปรยี บจุดมุง่ หมายเปน็ เหมอื นธงทีป่ กั เป็นเคร่ืองหมายไว้ ณ จดุ ท่ีเราตอ้ งการจะไปใหถ้ ึง วตั ถปุ ระสงค์ก็คือ สิ่งท่ีเราจะตอ้ งทำเพอ่ื เดนิ ไปใหถ้ งึ จุดหมายนั้น

กล่าวโดยสรปุ จุดมงุ่ หมายของการวจิ ยั ทำหน้าท่ีสองประการพร้อมๆ กันคอื ด้านหนึง่ จดุ มุ่งหมาย บอกนักวจิ ัยวา่ การวิจัยเรื่องน้นั จะตอ้ งไปให้ถึงจดุ ไหน และจะตอ้ งบรรลถุ ึงอะไรจึงจะถือวา่ ประสบความสำเร็จ และในขณะเดยี วกัน จุดมุ่งหมายก็ทำหน้าที่กำหนดขอบเขตหรือ “พื้นที”่ ที่นักวิจัยจะต้องทำงานว่าจะอยูใ่ น เรื่องอะไรและในประเด็นอะไรบา้ ง

ชาย โพธิสติ า แบง่ จุดมงุ่ หมายในการทำวจิ ัยออกเป็น ๓ ประเภท ตามลักษณะและมลู เหตุทม่ี าของ จุดม่งุ หมายน้นั ๆ คือ

(๑) จดุ มุง่ หมายส่วนตัวของผูว้ ิจยั หมายถึง แรงบันดาลใจส่วนตัวทีท่ ำให้นักวิจัยอยากจะศึกษา เรื่องนั้น อาจเป็นสำนึกทางสังคมและการเมืองส่วนตวั ของนกั วิจัย หรือความสนใจใคร่รู้อย่างลกึ ซึ้งในเรื่องใด เรื่องหน่งึ หรือแม้แต่เป็นความตอ้ งการท่จี ะทำวจิ ัยเพือ่ ความกา้ วหน้าในอาชีพการงาน ซ่งึ จดุ มงุ่ หมายส่วนตัวน้ี อาจทับซอ้ นกบั จุดม่งุ หมายอ่ืน

(๒) จดุ มุ่งหมายเชิงปฏบิ ัติ หมายถงึ จุดมงุ่ หมายทต่ี ้องการจะบรรลุถงึ อะไรสกั อยา่ งเพื่อผลในทาง

๒๖ชาย โพธสิ ติ า, ศาสตรแ์ ละศิลปแ์ หง่ การวิจัยเชิงคุณภาพ, พมิ พค์ รง้ั ที่ ๕, หน้า ๑๑๐.

ระเบยี บวิธีวิจัยชั้นสงู วา่ ด้วยสนั ติภาพ ๕๕ ปฏิบัติ ลกั ษณะสำคญั ของจุดมุ่งหมายแบบน้คี ือ เป็นความต้องการทีจ่ ะบรรลถุ ึงส่งิ ทจ่ี ะมีผลตอ่ วงการใดวงการ หนงึ่ หรอื ตอ่ ส่วนรวม เช่น มงุ่ เปลี่ยนแปลงสิ่งทไ่ี ม่พึงปรารถนาบางอยา่ ง ในความหมายทแี่ คบ จุดมุ่งหมายเชิง ปฏบิ ตั ิอาจเปน็ การหาทางแกป้ ัญหาในระดบั องคก์ าร แต่ในความหมายท่กี วา้ งมกั จะเปน็ การมุง่ สนองต่อนโยบาย สาธารณะ รวมถึงการบริหารจัดการกิจการสาธารณะในรปู แบบตา่ งๆ

(๓) จุดมุ่งหมายเพื่อการค้นคว้าวิจัย เป็นจุดมุ่งหมายทางวิชาการ อาจะไม่เกี่ยวกับนโยบาย โดยตรง แต่อาจมแี รงบันดาลใจในการอยากรู้เพอ่ื ความรสู้ ว่ นบคุ คลรวมอยดู่ ้วย แตข่ อ้ สำคญั อยู่ที่การหาความรู้ ในแนวทางของการวิจยั พ้ืนฐานเป็นหลกั คณุ ลกั ษณะสำคัญของจุดมงุ่ หมายแบบน้ี คือ การทำความเข้าใจหรือ หาความรเู้ ก่ียวกบั ปรากฏการณอ์ ยา่ งใดอยา่ งหน่งึ ว่า ปรากฏการณน์ ัน้ มีธรรมชาติเปน็ อยา่ งไร ทำไมส่งิ ตา่ งๆ ใน ปรากฏการณ์น้ันจงึ เปน็ อย่างท่ีมันเปน็ มีเหตผุ ลอะไรอย่เู บอ้ื งหลงั ปรากฏการณน์ น้ั

สำหรับในการออกแบบการวจิ ัย ควรให้ความสำคัญกบั จดุ ม่งุ หมายเชงิ ปฏบิ ัติและจุดมุ่งหมายเพื่อ การค้นคว้าวิจัยเป็นพิเศษ ไม่ควรทำการวิจัยด้วยจุดมุ่งหมายส่วนตัว เว้นเสียแต่ว่าจะสามารถให้เหตุผลได้วา่ จุดมุ่งหมายสว่ นบุคคลนนั้ มีนัยเชิงปฏิบตั ิ (นโยบาย) และ/หรอื นัยทางวชิ าการทชี่ ัดเจน๒๗

๒.๔. หลักการเขยี นชือ่ เร่อื งการวจิ ยั แบบบรู ณาการด้วยพุทธสันติวธิ ี

ชอื่ เรอ่ื งการวิจยั มักจะเป็นอีกประเด็นหนง่ึ ท่ีนสิ ิตมกั จะถามวา่ “ควรตง้ั ชอ่ื เร่อื งอย่างไร” ผเู้ ขยี นขอ ยกตัวอย่างใหผ้ อู้ า่ นได้เห็นความสำคัญของช่อื เรอ่ื ง ตวั อย่างชื่อนั้นสำคญั ไฉน ถอดบทเรียนจากเมนอู าหาร

สามีตตี รา ผดั ทะเล

แกงกะรัต พะแนงหมู

ผัดเผ็ดแกงเสียสาว ผดั เผด็ ปลาดกุ แกงสวุ นันท์ แกงกบ

จากตัวอย่างการตั้งชือ่ เมนูอาหารแสดงให้เห็นว่าเจ้าของร้านมีจุดหมายที่จะทำให้เมนูอาหารซึ่งมี โดยไปมีความน่าสนใจและดึงดูดลูกค้า และจะเห็นว่าบางเมนูสามารถคาดเดาได้ว่าจะเป็นรายการอาหารใด และบางเมนูแทบไม่ได้สะท้อนถึงความเกี่ยวข้องกับเมนูอาหารเพราะเป็นการตีความโดย เจ้าของร ้าน อปุ มาอุปไมยกบั หวั ข้อการวจิ ยั หรือชือ่ เร่ืองการวิจัย สามารถผสมผสานความเป็นศาสตรแ์ ละศิลป์ กลา่ วคอื การ ต้งั ช่อื เร่ืองวจิ ัยให้นา่ สนใจสะดุดใจผอู้ า่ น ถามวา่ มสี ูตรสำเรจ็ หรอื ไม่ในการตงั้ ชอ่ื เร่ืองวิจัย ตอบได้ว่า การตั้งชื่อ เรือ่ งไม่มีสตู รสำเรจ็ ตายตัวและอยทู่ ่ีสไตล์ของนักวิชาการท่ีมุ่งเน้นให้ช่ือเร่ืองโดดเด่นนา่ สนใจจึงมุ่งใช้คำท่ีสะดุด หู สะดุดตาชวนอ่าน หรือว่ามุ่งเน้นให้เห็นประเด็นศึกษาที่ชัดเจนตามหลักวิชาการ อย่างไรก็ตามไม่ว่าจะเป็น

๒๗ชาย โพธสิ ติ า, ศาสตร์และศลิ ป์แห่งการวิจยั เชิงคณุ ภาพ, หนา้ ๑๑๐-๑๑๑.

๕๖ Advanced Research Methodology on Peace สไตลก์ ารตั้งชอ่ื การวจิ ยั แบบใด ทัง้ นี้การตง้ั ช่ือเรื่องในการวิจัย ควรบง่ ชี้เปน็ นัยท่ีแสดงถงึ ทศิ ทางในการวิจยั เมอื่ อ่านชื่อเรือ่ งจะรูเ้ ป็นนยั ว่าผลการวิจยั เป็นแบบใดมีลกั ษณะอย่างไร๒๘ หลักเกณฑ์ในการเขียนชื่อเรือ่ งวิจัยควร สะท้อนให้เหน็ เห็นปัญหา ความต้องการทีเ่ กิดขึ้นกับชีวิตและส่งผลกระทบ ปัญหาหลัก ปัญหารอง ข้อมูลท่ี ชัดเจนระบุตัวแปรท่ศี ึกษา ตัวแปรตน้ ตัวแปรตาม กิจกรรมทเ่ี กิดขึ้นตามกระบวนการวิจยั

๒.๔.๑ หลักเกณฑใ์ นการเขยี นชอื่ เรื่องวจิ ัย ๑) ควรตง้ั ชอ่ื เรอ่ื งวจิ ยั ให้สน้ั ชัดเจน ใช้คำทีเ่ ฉพาะเจาะจงหรอื ส่ือความหมายเฉพาะเรอ่ื ง และควร เป็นภาษาที่เข้าใจง่าย กะทัดรัด แต่ชื่อเรื่องก็ไม่ควรจะส้ันเกนิ ไปจนทำให้ขาดความหมายทางวิชาการ แต่ใน บางกรณีถา้ จำเปน็ ต้องเขยี นด้วยข้อความท่ียาวจงึ จะมีความหมายสมบรู ณ์ชัดเจนอาจแก้ปัญหาได้โดยการนำ สว่ นทเ่ี ป็นภาคขยายไปไว้หลังเครือ่ งหมายจดุ ค่หู รือเครอ่ื งหมายอุภยภาค (colon) หรือนำไปเขยี นไวใ้ นขอบเขต ของการวจิ ยั กไ็ ด้ ๒) ควรตั้งชื่อเร่ืองวจิ ัยให้ตรงกับประเด็นของปัญหา ทำให้ทราบว่าเป็นการวจิ ัยเกี่ยวกับปัญหา อะไรได้ทนั ที อย่าต้ังช่ือเรอ่ื งวจิ ัยท่ที ำให้ผูอ้ ่านตีความได้หลายทิศทาง และอย่าพยายามทำให้ผู้อ่านเห็นว่าเป็น เรอ่ื งทีม่ ีความสำคัญมากเกนิ ความเปน็ จริง ๓) ควรตั้งชื่อเรื่องวจิ ัยโดยการใช้คำที่บ่งบอกให้ทราบถึงประเภทของการวจิ ัย จะทำให้ช่อื เรื่อง ชัดเจน และเขา้ ใจงา่ ยขึ้น เช่น การศึกษาวิเคราะห์ การพัฒนา การศึกษาความสัมพันธ์ การศึกษาเฉพาะกรณี กระบวนการพฒั นา รูปแบบ. . . คำเหลา่ นสี้ ะท้อนให้เห็นถงึ วธิ ีการหรือประเภทวจิ ัยที่นักวจิ ัยใชใ้ นการวิจยั ๔) ควรตั้งชื่อเรื่องวิจัยในลักษณะของคำนาม ซึ่งจะทำให้เกิดความไพเราะกว่าการใช้คำกริยา นำหนา้ ช่อื เร่อื ง มคี วามหมายเป็นกลางและใชภ้ าษาท่สี อ่ื ความหมายชัดเจน ๕) ควรตั้งชื่อเรื่องวิจัยที่ประกอบด้วยข้อความเรียงที่ได้ใจความสมบรู ณ์ ควรตั้งชื่อเรื่องวิจัยที่ ประกอบด้วยข้อความเรยี งทีส่ ละสลวยไดใ้ จความสมบูรณ์ คอื เปน็ ชอ่ื เรื่องทร่ี ะบใุ หท้ ราบตัง้ แต่จดุ ม่งุ หมายของ การวิจยั ตวั แปร และกลุ่มตวั อย่างทจ่ี ะศึกษาวิจยั ด้วย ๖) ชอื่ เรอ่ื งต้องสอดคล้องกับศาสตร์หรือสาขาวิชาที่ทำการวจิ ัยถ้ามีศัพท์เทคนิคต้องเป็นศัพท์ที่ เปน็ ท่ยี อมรับในสาขาวชิ านั้นๆ และระมัดระวงั ไม่ให้ซ้ำซ้อนกับผอู้ นื่ แม้ว่าประเด็นทศ่ี กึ ษานนั้ จะคล้ายกนั ก็ตาม

๒.๔.๒ ข้อสังเกตเพิม่ เตมิ หลกั ในการตัง้ ช่อื เร่อื งและข้อควรหลีกเลี่ยง ศาตราจารย์ ดร.สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธ์ ผู้ที่มีผลงานวิจัยที่ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ผลงานวิจยั ดเี ด่น จากสภาวจิ ยั แห่งชาติ ไดส้ ะทอ้ นหลกั คดิ สำคญั ในการตง้ั ชื่อเร่ืองไวด้ ังน้ี -คำสั้นกะทดั รดั และไดใ้ จความ ควรอยรู่ ะหวา่ ง ๑๒-๑๕ คำ และมีจำนวนอกั ษรท้งั ช่องว่างระหว่าง คำและเคร่ืองหมายสัญลักษณ์ต่างๆ ท่ีใชไ้ มค่ วรเกนิ ๕๐ คำ

๒๘ประเวศน์ มหารตั น์สกลุ , หลักการและวธิ ีการเขียนงานวิจัย งานวิทยานิพนธ์ สารนพิ นธ์, (กรงุ เทพมหานคร: สำนักพิมพ์ปญั ญาชน, ๒๕๕๗), หนา้ ๑๐๔.

ระเบยี บวธิ วี ิจยั ชั้นสูงว่าดว้ ยสนั ตภิ าพ ๕๗ -ไม่ควรตั้งชื่อเรื่องที่เริ่มด้วยวลีว่า “การศึกษา. . .” “การวิเคราะห์. . .” “การวิเคราะห์ เปรยี บเทียบ. . .” “การวิจัย. .” เพราะการวจิ ัยจะตอ้ งทำการศกึ ษาวิเคราะห์หรอื เปรยี บเทียบอยใู่ นตวั แล้ว และ ควรหลกี เลีย่ งใชว้ ลีท่วี า่ “ปัจจัยทมี่ ีอธิพลตอ่ . . .” ทงั้ นว้ี ลดี ังกลา่ วแสดงให้เห็นวา่ ผู้ท่จี ะทำการวิจัยยังไม่ศึกษา ให้ถ่องแท้ว่ามีปัจจัยที่สำคัญต่อปัญหาที่ศึกษานั้นคืออะไร หากผู้วิจัยได้ศึกษามาแล้วก็จะทราบว่ามีปัจจัย อะไรบ้างในเรอื่ งน้ันซงึ่ ผ้วู ิจัยสามารถทจ่ี ะนำเอาชื่อของปจั จัยนั้นมาเป็นสว่ นนำของหัวขอ้ เร่ืองที่จะทำการวิจัย ได๒้ ๙ อย่างไรก็ตามทัศนะเกี่ยวกับการตั้งชื่อเรื่องวิจัยไม่ได้เป็นข้อสรุปที่ตายตัว ขึ้นอยู่กับอัตลักษณ์ ความจำเพาะของศาสตร์วชิ าในสาขาน้นั ๆ ตวั อย่างเช่น ในงานวจิ ัยทางจิตวทิ ยาจะพบวา่ มงี านวิจยั จำนวนมาก ทต่ี ้งั ชอ่ื เรอื่ ง ปจั จยั ท่มี ีผลต่อ. . . เช่น งานวจิ ยั ทางจิตวิทยา การบริหาร การพัฒนาสงั คม หรอื งานศกึ ษาสังคม สังเคราะห์ และในมหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณ การศึกษางานที่เป็นเชงิ เอกสาร ก็มักจะใช้การตั้งชื่อเรือ่ งว่า “การศึกษาวิเคราะห์. . .” “การวิเคราะห์เปรยี บเทียบ. . .” ทั้งนี้ก็เพื่อให้ทราบว่างานวิจัยนี้เป็นงานวิจยั เชิง เอกสาร ดังนั้นการตั้งชือ่ เรื่องของศาสตร์สาขาวิชา สถาบันการศกึ ษา บางแห่งจึงมีลกั ษณะที่แตกตา่ งกันตาม บริบทของสถาบนั การศกึ ษานัน้ ๆ

ตัวอย่างคำท่ีสะทอ้ นอตั ลกั ษณ์ของสันติศกึ ษา เชน่ พุทธสนั ติวธิ ี สนั ติ นวัตกรรม ความขัดแย้ง การมสี ว่ นรว่ ม การสร้างความปรองดอง ความสมานฉันท์ สันติภาพ สันติสุข ความสขุ สามัคคี . . .

๒.๔.๓ ถอดบทเรยี นงานวจิ ยั จากคำถามการวิจยั ไปสกู่ ารตงั้ ช่ือเรอ่ื ง ในการตั้งชื่อเร่ืองมักจะเริ่มต้นจากการตั้งคำถามการวิจัยซึ่งจะช่วยเชื่อมโยงความคิดนำไปสูก่ าร ค้นหาชอ่ื เร่อื งทเี่ หมาะสม การต้งั คำถามวจิ ัยมีลักษณะดงั น้ี

• เป็นเชิงพรรณนา (descriptive) – เพอ่ื ตอบคำถามประเภท “ใคร” “อะไร” “ทีไ่ หน” “อย่างไร” “ทำไม” “อยา่ งไร”

• เชงิ วเิ คราะห์ หรอื เชงิ อธิบาย ( explanatory, analytical) – มุ่งหา คำอธิบายดว้ ยการวเิ คราะห์

๒๙สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธ์, ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์, พิมพ์ครั้งที่ ๑๕, (กรุงเทพมหานคร: ห้าง หนุ้ สว่ นจำกัดสามลดา, ๒๕๕๕), หน้า ๔๕.

๕๘ Advanced Research Methodology on Peace ตวั อย่างที่ ๑

ปญั หาการสร้างสนั ตภิ าพ ในสังคมไทย?

ศาสนาสอนทาให้เกิดสนั ติภาพได้หรือไม่? อย่างไร?

การบูรณาการองค์ความร้หู ลกั การ และวิถีปฏิบัตติ ามแนวทาง ศาสนาเพอ่ื การพัฒนากระบวนการสรา้ งสนั ติภาพ

ตัวอยา่ งที่ ๒

ปญั หาการสรา้ งกระบวนการสันติภาพในสังคมไทย

กระบวนการสร้างสันติภาพทป่ี ระสบความสาเรจ็ ท้ังในระดบั บุคคล องคก์ ร เป็นอยา่ งไร? มอี ะไรเปน็ เกณฑช์ วี้ ัดความสาเร็จ?

เกณฑ์ช้วี ดั ความสาเร็จเกี่ยวกับกระบวนการสร้างสนั ติภาพ ขององค์กรและนักสันติภาพโลก

ตัวอย่างที่ ๓

ปญั หาการสร้างรากฐานการอยู่ร่วมกันอยา่ งสันตสิ ุขในชุมชน

ชมุ ชนต้นแบบท่ีก้าวข้ามผ่านความขดั แย้ง และความแตกต่าง มี วธิ กี ารอย่างไรในการอยรู่ ว่ มกนั อย่างไร? อะไรเป็นปจั จัยความสาเร็จ?

การนาวิธกี ารแนวทางมาใชก้ ับชมุ ชนอ่นื ๆ ควรเป็นอย่างไร?

ชุมชนสันติสุขในพุทธศตวรรษท่ี 26:ถอดบทเรียนชมชนสนั ติสุขใน พื้นทท่ี มี่ ีความขัดแย้ง

๒.๕ สรปุ

กลา่ วได้ว่าประเภทของงานวจิ ยั เพื่อสนั ติภาพค่อนขา้ งมอี ตั ลกั ษณใ์ นเรอ่ื งจดุ หมายของการวจิ ัย แต่ก็ ยงั คงไว้ซึง่ แบบแผนการวจิ ัยท่เี ปน็ สากล ทัง้ น้ขี ้นึ อยูก่ ับผู้ศึกษาจะกำหนดจุดม่งุ หมายของการทำวิจัยไว้อย่างไร จะเห็นไดว้ ่าการค้นหาโจทยว์ ิจยั หรอื คำถามวิจัยนักวชิ าการท่ยี กตัวอย่างมาเกือบทกุ ท่านท่ีมองว่าแหล่งที่มาของ คำถามการวิจัย/ปัญหาหรือโจทย์วิจัย คือ ความสนใจของตัวผูศ้ ึกษาหรอื นักวิจยั เอง ซึ่งจะได้มาจากการอา่ น การศึกษาทัง้ ในด้านทฤษฎี การวิจัย วิทยานิพนธ์หรือเอกสารวิชาการทีเ่ ก่ียวข้อง การได้แลกเปลี่ยนทัศนะกับ

ระเบียบวิธวี ิจัยชั้นสูงว่าด้วยสันติภาพ ๕๙ ผเู้ ชย่ี วชาญสาขา หรอื การนำประเดน็ ปญั หาท่อี ยู่รอบตัวท้งั ในเรอ่ื งของหน้าทก่ี ารงาน หรือปัญหาสังคม ก็ล้วน แล้วแตเ่ ป็นแหล่งทมี่ าของคำถามการวจิ ัยแทบท้ังสิน้ อยา่ งไรกต็ ามในการค้นหาปญั หาการวิจัยหรือคำถามการ วิจัยซ่ึงนับวา่ เป็นหวั ใจสำคญั ของการทำวจิ ยั สิ่งที่สำคัญท่ีไม่แพ้กนั คอื การมจี ดุ มงุ่ หมายที่ชดั เจนของผศู้ ึกษาหรอื นักวจิ ยั ถ้าหากประเดน็ ท่ีศึกษามีความชัดเจนและผู้ศกึ ษาหรอื นกั วิจยั มจี ดุ หมายทม่ี ่งุ มน่ั จะทำใหส้ ำเร็จแล้ว การ ทำวิจัยเพื่อสันติภาพมิใช่เรื่องที่ยุ่งยาก แต่ในทางกลับกันจะกลายเป็นเครื่องมือที่ทำให้ผู้ศึกษาได้เรียนรู้ ใครค่ รวญตนเองอย่างแทจ้ ริง อย่างไรกต็ ามประเดน็ ทีม่ ิควรมองขา้ มคอื การฝึกฝนในการอ่านการวิเคราะห์ ซ่ึง จะชว่ ยใหผ้ ู้ศึกษามปี ระสบการณ์และมีมุมมองทีก่ ว้างทส่ี ามารถนำมาใช้ในการต้งั ชอ่ื วิจัยท่มี ีความน่าสนใจและ น่าค้นหาติดตาม ดังนั้นเครื่องมือที่ดีที่สุดที่จะนำพาให้ผู้ศึกษาไปถึงจุดหมาย คือ การอ่านและทบทวน วรรณกรรม ซง่ึ จะกล่าวถงึ ในบทต่อไป

กุญแจความสำเร็จของงานวจิ ยั ๑% inspiration ( หาหัวขอ้ ) ๙๙ % perspiration (การทำทมุ่ เท หยาดเหง่อื Thesis จรงิ ๆ)

คำถามทบทวนบทท่ี ๒

๑) จงรว่ มกนั อธบิ ายถึงประเภทของการวิจยั และการวจิ ัยแบบไหนท่ีเหมาะกบั งานวิจัยเพอ่ื สนั ติภาพ ๒) จงรว่ มกนั อธิบายถึงประเภทการวิจัยเพอ่ื สนั ตภิ าพน้นั เปน็ อย่างไร และร่วมกันวิเคราะหก์ ารนำโจทยว์ จิ ยั มา

ใชใ้ นการเลอื กประเภทการวจิ ัยทจี่ ะศกึ ษา ๓) จงรว่ มกนั อธิบายความหมายและความสำคัญของคำถามการวจิ ัย ๔) จงรว่ มกนั อธบิ ายความแตกต่างระหวา่ งจดุ มงุ่ หมายกับวตั ถปุ ระสงคก์ ารวิจัย ๕) จงร่วมกนั วิเคราะหห์ ัวขอ้ การวจิ ยั ของสนั ติศกึ ษาในงานวจิ ัยที่ผา่ นมา ๖) จงรว่ มกนั ทบทวนศพั ท์งานวจิ ัยในบทเรียน ๗) กิจกรรมค้นหาโจทย์วจิ ยั เพ่อื สันตภิ าพ โดยใหน้ ิสิตเลือกการด์ คำตามประเด็นทส่ี นใจ “บคุ คล” “ชมุ ชน”

“องคก์ ร” “วัฒนธรรม” “สง่ิ แวดลอ้ ม” จับกลุ่มเรียนรู้แลกเปลยี่ นประเดน็

กิจกรรมมอบหมายทา้ ยบทเรียน

๑) การทำสะท้อนคดิ ๒) นำประเด็นทไ่ี ด้แลกเปลยี่ นในชน้ั เรียนมาทบทวนความเปน็ ไปได้ในการทำวิจยั น้ี โดยตรวจดู

-ตรงกับประสบการณ์ ความถนัด และความสนใจ? -มคี วามสำคญั ด้านการเพมิ่ ความรู้และ/หรือการแกป้ ญั หา? -ความเปน็ ไปไดใ้ นทางปฏิบตั หิ รอื เหมาะสมในแง่ความสามารถ การเกบ็ ข้อมูล ความรว่ มมอื ทรัพยากร ระยะเวลา อันตราย ฯลฯ? ๓) การเตรียมบทความวิจัย บทคดั ยอ่ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง สัมพันธ์กบั โจทยว์ ิจัยทสี่ นใจมาแสดงในชนั้ เรยี นอยา่ งนอ้ ย ๑๐ เร่อื ง

๖๐ Advanced Research Methodology on Peace

เอกสารอ้างองิ ประจำบท

กวี รักษ์ชนและคณะ.(๒๕๔๓). หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ ๖, กรุงเทพมหานคร : มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง.

กาญจนา ตั้งชลทิพย์. (๒๕๕๒). การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ: การจัดการขอ้ มูล การตีความและการหา ความหมาย.กรงุ เพทมหานคร: บริษัท ชีโน พบั ลชิ ชิ่ง (ประเทศไทย) จำกัด.

ขจรศกั ดิ์ บัวระพันธ์. (๒๕๕๗). วิจยั เชงิ คณุ ภาพ. พมิ พค์ รัง้ ท่ี ๖. กรุงเทพมหานคร: บรษิ ทั คอมมา่ ดไี ซนแ์ อนด์ พรน้ิ ท์ จำกัด.

ขันทอง วัฒนะประดิษฐ์ และคณะ. (๒๕๕๘). “ความหลากหลายทางชาตพิ นั ธก์ุ ับวถิ ีการอย่รู ่วมกันอยา่ งสนั ตสิ ุข ในประชาคมอาเซียน: กรณีศึกษานิสติ ประเทศไทยและนิสิตกลุ่มประเทศ CLMV ในมหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (ส่วนกลาง)”. รายงานวิจยั . ศูนย์อาเซยี นศึกษา: มหาวิทยาลัยมหา จฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย.

ขนั ทอง วฒั นะประดิษฐ์.(๒๕๕๙). “ชมุ ชนสันตสิ ุขในพุทธศตวรรษท่ี ๒๖: ถอดบทเรียนชมุ ชนสันติสขุ ในพืน้ ทที่ ม่ี ี ความขัดแย้ง”. รายงานวจิ ัย. สถาบนั วจิ ยั พุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๕๙.

ชาย โพธสิ ิตา. (๒๕๕๔). ศาสตรแ์ ละศลิ ป์แห่งการวิจยั เชิงคณุ ภาพ. พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๕.กรุงเทพมหานคร :บรษิ ัท อมรนิ ทร์พร้นิ ต้ิงแอนดพ์ บั ลิชชิง่ จำกัด (มหาชน).

นงนภสั ควู่ รัญญู เทยี่ งกมล. (๒๕๕๔). การวจิ ยั เชิงบรู ณาการแบบองค์รวม, กรงุ เทพมหานคร: สำนักพมิ พ์แห่ง จุฬาลงกรณราชวทิ ยาล.ั

นงลักษณ์ วิรัชชัย. (๒๕๔๓). โมเดลลิสเรล: สถิติวิเคราะห์สำหรับการวิจัย. กรงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั .

บรรจบ บรรณรจุ ิ. (๒๕๔๘). “การวิเคราะหค์ ัมภรี พ์ ระพุทธศาสนา ปัญญาในธัมมจกั กปวัตตนสตู ร ช่อื เรียกและ พฒั นาการ”. รายงานวจิ ยั . สถาบนั วจิ ัยพทุ ธศาสตร์: มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั .

บุญเฉิด โสภณ. สำนกั งานคณะกรรมการวจิ ัยแหง่ ชาติ. [ออนไลน์]. แหลง่ ทม่ี า: http://statistic.cad.go.th /download/sim2.pdf. [๑๐ เม.ย.๒๕๖๑].

ประเวศน์ มหารัตนส์ กลุ . (๒๕๕๗). หลกั การและวธิ กี ารเขียนงานวิจยั งานวิทยานพิ นธ์ สารนพิ นธ์ . กรงุ เทพมหานคร: สำนักพมิ พ์ปญั ญาชน.

ปาริชาต สถาปติ านนท์. (๒๕๔๖).ระเบียบวธิ ีวิจยั การสอ่ื สาร. พิมพค์ รงั้ ที่ ๒, กรงุ เทพมหานคร: สำนักพมิ พ์แห่ง จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย.

ผ่องพรรณ ตรัยมงคลกลู และสุภาพ ฉัตราภรณ์. (๒๕๔๓). การออกแบบการวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร: สำนกั พมิ พ์มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์.

ระเบยี บวิธวี ิจัยช้ันสูงว่าดว้ ยสันตภิ าพ ๖๑ พระชยานันทมุณี. (๒๕๖๐). “ความสัมพนั ธก์ ารทอ่ งเทีย่ วเชงิ วัฒนธรรมของวดั และชมุ ชนในลา้ นนา” . รายงาน

วิจัย. สถาบันวิจัยพทุ ธศาสตร์: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั . พระมหาดวงเด่น ฐติ ญาโณ (ตุนิน)และคณะ. (๒๕๕๙). “การบูรณาการองคค์ วามรูห้ ลกั การ และวถิ ีปฏบิ ัตติ าม

แนวทางศาสนาเพื่อการพัฒนากระบวนการสร้างสันติภาพ”, รายงานวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธ ศาสตร์: มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั . พนู สขุ มาศรงั สรรค์, บรรพต ตน้ ธีรวงศ์, ขันทอง วฒั นะประดษิ ฐ.์ (๒๕๕๙). “เกณฑช์ ้วี ัดความสำเรจ็ กระบวนการสร้างสนั ติภาพขององค์กรและนกั สนั ติภาพโลก”. รายงานวจิ ัย. สถาบันวิจัยพทุ ธ ศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย. เพิม่ ศักด์ิ มกราภิรมย์.(๒๕๕๔). ทฤษฎีสันติภาพ ความขัดแยง้ และความรุนแรง, กรงุ เทพมหานคร: ศนู ย์ ศึกษาและพฒั นาสนั ติวธิ ี มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล. ไพทรู ย์ สินลารตั น์ และสำลี ทองธวิ . (๒๕๕๓). การวจิ ัยทางการศึกษา : หลกั และวิธกี ารสำหรับวิจัย. พิมพ์ คร้ังที่ ๗. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . ยทุ ธ ไกยวรรณ์. (๒๕๕๗). พื้นฐานการวิจัย. พิมพ์ครงั้ ที่ ๗.กรุงเทพมหานคร : สวุ รี ยิ า วนิดา วาดีเจรญิ และคณะ. (๒๕๖๐). ระเบยี บวธิ ีวจิ ยั จากแนวคิดทฤษฎสี ภู่ าคปฏิบตั ิ. กรงุ เทพมหานคร: ซีเอ็ด ยูเคชนั่ . สงั คม ศุภรตั นกลุ .(๒๕๖๑). เอกสารคำสอนรายวิชาระเบียบวธิ วี จิ ยั ทางสาธารณสุข. [ออนไลน]์ . แหลง่ ท่ีมา: https://sites.google.com/site/healthsecurityproject/rabeiyb-withi-wicay-thang- satharn such.[๑๒ เม.ย.๒๕๖๑]. สามารถ สุขประการ. (๒๕๕๙). “ศึกษาวิเคราะห์องค์ประกอบและกลไกจักรวาลตามหลักนิยาม ๕ ใน พระพุทธศาสนา”. รายงานวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลยั . สริ ิวัฒน์ ศรีเครือดง และคณะ. (๒๕๖๐). “การพัฒนากจิ กรรมเพ่ือสร้างชวี สขุ : ตามแนวทางการพัฒนาจิตและ ปัญญาแบบองค์รวม”. รายงานวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วทิ ยาลยั . อรชร ไกรจักร, แม่ชีกฤษณา รักษาโฉมดและขันทอง วัฒนะประดิษฐ์. (๒๕๖๐). “การสร้างระบบการพัฒนา ปัญจพละเพื่อการพฒั นาสหกรณแ์ บบยั่งยนื ”. รายงานวจิ ัย. สถาบันวจิ ัยพทุ ธศาสตร์: มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย. Best, J.W. (1959). Research in Education. Englewood Cliffs.New Jersey: Prentice-Hall, Inc.,. Lehmann, I.J. and Mehrens, W.A. (1971). Educational Research : Reading in Focus. New York : Holt,Rinehart and Winston, Inc.

บทท่ี ๓

การทบทวนวรรณกรรมสำหรับการวิจยั ชน้ั สูง

บทนำ

แม้ว่าการวิจยั จะถูกนำมาใช้ในการแสวงหาความรใู้ หม่ๆ แต่อยา่ งไรก็ตามบาทฐานสำคัญท่ีนำไปสู่ การค้นหาคำตอบ คือ การศึกษาเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง อันจะเปน็ หนทางย่นย่อที่ทำให้นักวิจัยไดม้ ีทิศทาง ของการศกึ ษาคน้ ควา้ ทีช่ ัดเจนหรือมคี วามใกล้เคียงเสน้ ทางที่จะนำไปสู่การคน้ หาคำตอบวจิ ัยได้มากที่สุด ศัพท์ ในทางวิจัยเรียกการศึกษาเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องนี้ว่า การทบทวนวรรณกรรม (Literature Review) ซ่ึง เกดิ ขนึ้ นับตัง้ แต่ผศู้ ึกษาหรือนักวิจยั เร่มิ จะแสวงหาคำถามการวิจยั อันเปน็ ก้าวแรกของการวิจัย และการทบทวน วรรณกรรมยงั มคี วามสำคญั ในขณะทจ่ี ะทำให้วิธีการหรือแนวทางที่จะนำไปส่กู ารตอบคำถามวจิ ัย จวบจนการ วิเคราะห์สรุปผลการศกึ ษาก็ยังใช้การทบทวนวรรณกรรมมาใช้ในการให้การสนบั สนุนเหตุผลหรือขอ้ สรปุ จาก การวจิ ยั

แม้ว่าการทบทวนวรรณกรรมจะดูเหมือนเป็นเรื่องง่ายและอาจ ไม่ต้องนำมาศึกษาหรือมองข้าม การทบทวนวรรณกรรมให้ดแี ละมคี ณุ ภาพ ก็อาจทำให้ขาดความเขม้ ข้น ความนา่ อา่ นและการวเิ คราะห์และการ เชอื่ มโยงไปส่คู ำตอบของการวิจยั ขาดประเดน็ สำคัญไป แต่ก็มีคำถามว่า แลว้ การทบทวนวรรณกรรมท่ดี คี วรเปน็ อย่างไร และจะเรียบเรยี งวิเคราะห์อยา่ งไรให้น่าสนใจและชวนให้ติดตาม อีกทัง้ ยงั ครอบคลุมประเด็นท่ศี ึกษา ซ่งึ บทนีจ้ ะได้กล่าวถงึ รายละเอยี ดดงั กล่าวไวใ้ หผ้ ศู้ ึกษาติดตามและนำไปใช้ฝึกฝนตอ่ ไป

๓.๑ ทำไมตอ้ งทบทวนวรรณกรรม

๓.๑.๑ การทบทวนวรรณกรรมคอื อะไร ชัยเสฏฐ์ พรหมศร ได้นำเสนอบทความแนวทางการทบทวนวรรณกรรมสำหรับงานวิทยานิพนธ์ ระดบั บัณฑติ ศกึ ษา โดยไดร้ วบรวมความหมายของการทบทวนวรรณกรรมไว้ดงั น้ี๑ The University of Sydney (๒๐๑๐) การทบทวนวรรณกรรม คือ การจดั ระบบหัวขอ้ ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง กบั วัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ัย โดยผ่านการสงั เคราะห์เพือ่ นำไปสู่การพฒั นางานวิจยั คร้งั ต่อไป Zikmund, Babin, Carr, & Griffin (๒๐๑๐) การทบทวนวรรณกรรม หมายถงึ การค้นหาโดยตรง จากงานที่ได้รับการตพี มิ พ์ซงึ่ รวมถงึ วารสารที่ตพี ิมพ์ตามเวลาที่กำหนด และหนังสือทมี่ ีการกล่าวถึงทฤษฎีและ แสดงผลการศกึ ษาเชิงประจักษ์ท่ีเก่ยี วข้องกับหัวข้อท่ีทำการศึกษา

๑ชยั เสฏฐ์ พรหมศร, “แนวทางการทบทวนวรรณกรรมสำหรับงานวทิ ยานิพนธ์ ระดบั บณั ฑิตศึกษา”, วารสารนกั บริหาร, ปีที่ ๓๔, (ฉบับท่ี ๑ มกราคม-มิถุนายน ๒๕๕๗): ๑๒.

ระเบียบวธิ ีวจิ ยั ชั้นสงู ว่าด้วยสันติภาพ ๖๓ Hart (อ้างถึงใน,Levy & Ellis, ๒๐๐๖) ได้กล่าวว่า การทบทวนวรรณกรรมเป็นการใช้ความคดิ ท่ี ปรากฏอยใู่ นวรรณกรรมนน้ั เพ่อื สนับสนุนวิธกี ารทเี่ ฉพาะสำหรบั หวั ข้อวจิ ัยการเลอื กวธิ กี ารวจิ ยั และแสดงให้ เหน็ ว่างานวจิ ัยน้ีได้นำเสนอสงิ่ ใหม่ ชัยเสฏฐ์ พรหมศร ได้สรุปความหมายของการทบทวนวรรณกรรมว่า เป็นการวิเคราะห์และ สังเคราะห์งานทางวิชาการที่ผ่านมาเพื่อใช้ในการพัฒนางานใหม่โดยเนื้อหาของวรรณกรรมท่ีทบทวนต้องมี ความสอดคลอ้ งกับวตั ถุประสงค์และคำถามของการวจิ ยั กิ่งกาญจน์ สำนวนเย็น กล่าวว่า การค้นคว้าเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ต้องการศึกษา และ/หรอื โจทย์วิจยั ทกี่ ำหนด เพือ่ ใหน้ ักวจิ ยั มีความรอบรู้ในเร่ืองน้ันมากขึ้น จนสามารถทำการศึกษาวิจัยใน เรื่องดังกลา่ วไดอ้ ย่างมคี ุณภาพ๒

สรปุ การทบทวนวรรณกรรม มิได้เป็นเพียงแตก่ ารควา้ ควา้ แสวงหาความรจู้ ากเอกสารต่างๆ ท่อี าจ เกี่ยวข้องตรงประเด็นหรือสัมพันธ์กับสิ่งที่ผู้วิจัยจะศึกษา แต่การทบทวนวรรณกรรมยังต้องอาศัยการทบทวน อยา่ งเป็นระบบและตอ้ งแสดงให้เห็นความเช่ือมโยงกบั วตั ถปุ ระสงค์และคำถามการวจิ ยั เพื่อสนับสนุนสง่ิ ทผ่ี ้วู ิจยั กำลังค้นหาหรือต้องการพิสจู นเ์ ป็นสง่ิ ใหม่ท่ียังไม่มีการศึกษาใดได้นำเสนอมาก่อน

๓.๑.๒ การทบทวนวรรณกรรมสำคัญอยา่ งไร มีนักวิชาการได้กล่าวถึงความสำคัญของการทบทวนวรรณกรรมไว้หลากหลายแง่มุม ผู้เขียนได้ รวบรวมไวพ้ อเป็นสงั เขป ดังน้ี ๑) เป็นหัวใจสำคัญของการทำวิจัย การทบทวนวรรณกรรมที่มีประสิทธิผลช่วยสร้างพื้นฐานท่ี เขม้ แขง็ สำหรับการสร้างองค์ความรู้ใหม่ ต่อยอดการพัฒนาทฤษฎีปดิ ช่องวา่ งในสว่ นของงานทม่ี มี ากเกินความ จำเป็น และเปิดพื้นท่ีให้กับส่วนของงานที่ยังคงมีความต้องการอยู่ การทบทวนวรรณกรรมที่ไม่ถูกต้องเปน็ ปจั จยั ทีส่ ำคญั ประการหนงึ่ ท่ที ำใหน้ กั ศกึ ษาระดบั บัณฑติ ศกึ ษาไม่สามารถพฒั นาวิทยานพิ นธ์ไปสูค่ วามสำเร็จได้ เพราะถา้ การทบทวนวรรณกรรมมีขอ้ ผิดพลาด งานวทิ ยานพิ นธจ์ ะถกู มองว่ามขี อ้ ผดิ พลาดไปดว้ ย ทง้ั นี้ นกั วิจัย ไมส่ ามารถทำงานวิจัยใหส้ ำเรจ็ ลุลว่ งโดยปราศจากความเขา้ ใจในวรรณกรรมท่เี กีย่ วขอ้ งกบั สาขาท่ีทำการศกึ ษา ได๓้

๒) เป็นการสนับสนุนความเป็นเอกลักษณ์ของหัวข้อการวิจัย คำถามและสมมติฐานบ่งช้ี วรรณกรรมที่งานวิจัยจะทำการสนับสนุนในสาขานั้น รวมทั้งแสดงอรรถาธิบายงานวิจัยภายในวรรณกรรม เหล่านนั้ สรา้ งความเข้าใจของแนวคดิ ทางทฤษฎแี ละคำศัพทเ์ ฉพาะทาง สง่ เสรมิ การสรา้ งบรรณานุกรมหรอื การ

๒กิ่งกาญจน์ สำนวนเย็น, “การทบทวนวรรณกรรม การสร้างกรอบแนวคิด สมมติฐานและตัวแปรในการ วิจัย”, [ออนไลน์], แหลง่ ท่ีมา: http://www.ubu.ac.th/web/files_ up/08f20170 60214303269.pdf[๑๔ เม.ย. ๒๕๖๑].

๓ชัยเสฏฐ์ พรหมศร, “แนวทางการทบทวนวรรณกรรมสำหรบั งานวิทยานพิ นธ์ ระดบั บณั ฑิตศกึ ษา”, วารสารนัก บรหิ าร, ปีท่ี ๓๔, (ฉบบั ที่ ๑ มกราคม-มถิ นุ ายน ๒๕๕๗): ๑๑.

๖๔ Advanced Research Methodology on Peace รวมแหล่งการค้นคว้าข้อมลู เพื่อการใช้ประโยชนใ์ นงานวจิ ัยอ่นื ๆ แนะนำวิธีการทางการวิจัยท่ีอาจเป็นประโยชน์ และสนับสนนุ เรอ่ื งการวเิ คราะห์และแปลผลของการวจิ ยั เป็นต้น๔

๓) เปน็ หลักฐานว่างานวจิ ยั ท่ที ำมีคุณคา่ และเชอื่ ถือไดใ้ นดา้ นวิชาการ ทำใหผ้ ทู้ นี่ ำงานวิจัยไปใช้มี ความเชื่อมั่นในคุณภาพและความถูกต้องของแนวคิดและทฤษฎีที่นำมาใช้ สามารถนำเสนอผลการวิจัยที่ ชี้ให้เห็นความสอดคล้องและความขัดแย้งกับผลงานวิจัยอื่น ๆ ผู้อ่านได้สารสนเทศด้านแนวคิดและ คุณลกั ษณะของการวดั ในมติ ติ า่ งๆ ทำให้ผ้เู ก่ียวข้องได้เหน็ พัฒนาการในมิตติ ่างๆ ของความรูใ้ นเรื่องท่ีทำวจิ ัย แสดงใหเ้ หน็ วา่ งานวจิ ัยท่ีจะทำเหมาะสมกับองคค์ วามรู้ที่มีอย่ทู ำใหใ้ ช้ทรัพยากรอยา่ งเป็นประโยชน์สงู สุด๕

๔) ชว่ ยในการการกำหนดขอบเขตของปญั หา การวจิ ยั การคน้ หาข้อคำถามใหมๆ่ ของการวิจัย ในหัวข้อนน้ั หลีกเล่ยี งวธิ กี ารทำวิจยั ที่ไมม่ ปี ระโยชน์ ทำใหเ้ หน็ วิธกี ารดำเนนิ การวิจัยที่ลึกซ้ึง นำไปใช้ในการ ระบถุ งึ ขอ้ เสนอแนะ สำหรบั การทำวิจัยในคร้ังตอ่ ไปได้ สนับสนุนการค้นหาทฤษฎีฐานราก แสดงให้เห็นความ แตกตา่ งของส่ิงทไี่ ด้ทำแล้วกับสงิ่ ทตี่ ้องทำ ในหัวขอ้ หรอื สาขาท่ีดำเนนิ การวจิ ยั คน้ หาตวั แปรทสี่ ำคญั ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง กับหัวข้อที่ทำการวิจัย ช่วยสังเคราะห์และรับแนวคิดใหม่ แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดและการ ปฏบิ ัติ สรา้ งบริบทของหวั ข้อหรอื ปัญหาของการวิจยั ชว่ ยสนบั สนุนเพ่มิ เติมนิยามศัพทท์ ่ีเกี่ยวข้องกบั สาขาที่ ศกึ ษา ทำให้เขา้ ใจโครงสร้างของสาขาทศ่ี ึกษา เชื่อมโยงแนวคดิ และทฤษฎีไปสู่การประยุกตใ์ ช้ ระบุถึงวธิ กี าร ดำเนินการวิจัยหลกั และเทคนิคการวิจัยที่เคยใช้และช่วยกำหนดงานวิจัยในบริบทที่ผ่านมาเพื่อแสดงให้เหน็ ความคลา้ ยคลงึ กันกับการพฒั นาท่ที ันสมยั มากยงิ่ ขึน้ ๖

๔) มีบทบาทสำคัญในการแสดงให้เห็นว่าผู้วิจยั ได้มีการศึกษาในหัวข้อเรื่องที่ศึกษามามากน้อย เพียงใด มีผลโดยตรงต่อความน่าเชื่อถือของผลการวิจัยมามากน้อยเพียงใดเช่นกัน ในมุมท่ีทำให้เกิดความ มนั่ ใจไดว้ ่าผูว้ จิ ยั มีความรคู้ วามเข้าใจเรื่องทีว่ ิจัย ช่วยทำให้เข้าเรือ่ งท่วี ิจยั ไดท้ ั้งทางกวา้ งและลกึ รวมท้ังเป็น พนื้ ฐานในการกำหนดกรอบแนวคดิ ในการวิจัย การออกแบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ การเลือกกลุ่มตัวอย่าง การใช้เทคนิคในการวิเคราะห์ข้อมูล และการสรุปผล อย่างน้อยประโยชน์ที่ได้ไม่ต้องทำการวิจัยซ้ำกับ ผลงานวิจยั ของผู้อนื่ และจะทำให้การวจิ ยั มคี ณุ ค่ามากขน้ึ ๗

๔Rowley, J., & Slack, F., Conducting a literature review, Management Research News, 2004, 27(6): 31-39.

๕กิ่งกาญจน์ สำนวนเย็น, “การทบทวนวรรณกรรม การสร้างกรอบแนวคิด สมมติฐานและตัวแปรในการ วิจยั ”, [ออนไลน์]. แหล่งทม่ี า: http://www.ubu.ac.th/web/ files_up/08f20170 60214303269.pdf[๑๔ เม.ย.๒๕๖๑].

๖ Justus J. Randolph, A Guide to Writing the Dissertation Literature Review, Practical Assessment, Research& Evaluation, 2009, Volume 1 4 , ( Nov.1 3 , June) :1-13. [ออนไล น์ ], แ ห ล ่ ง ท ี ่ ม า : http://pareonline.net/pdf/v14n13.pdf [14 April 2018].

๗ประเวศน์ มหารัตนส์ กุล, หลกั การและวธิ กี ารเขียนงานวิจยั งานวทิ ยานิพนธ์ สารนิพนธ์, (กรุงเทพมหานคร: สำนกั พมิ พป์ ัญญาชน, ๒๕๕๗), หนา้ ๑๓๔.

ระเบียบวธิ ีวจิ ัยช้ันสูงว่าด้วยสันตภิ าพ ๖๕ ๓.๑.๓ วตั ถุประสงคข์ องการทบทวนวรรณกรรม ก่งิ กาญจน์ สำนวนเยน็ สรปุ วัตถุประสงค์ของการทบทวนวรรณกรรมไว้ ๔ ประเดน็ คือ (๑) หาความสำคญั ของปัญหา เปน็ การตรวจสอบความ ซำ้ ซ้อน บรบิ ท ของการศกึ ษา และหา ช่องวา่ งของงานวิจยั (๒) หาแนวคดิ ทเ่ี กี่ยวข้อง เป็นการตรวจสอบแนวคิดพื้นฐาน แนวคดิ เบื้องหลงั ตัวแปรทศ่ี ึกษา (๓) แสดงความรู้ปัจจบุ ันทม่ี ีอยู่ เปน็ การแสดงขอบเขตและพรมแดนของความรู้ เปน็ ศกึ ษาแบบ แผนการวจิ ัยและจดุ อ่อน จุดแข็ง ของงานวิจัยที่ผอู้ นื่ ทำมาแลว้ (๔) สรา้ งกรอบคดิ ในการวจิ ัย เปน็ การแสดงความเข้าใจด้วยการสรา้ งกรอบคิดการวจิ ยั และการ ออกแบบการวิจยั ที่เหมาะสม

๓.๑.๔ การทบทวนวรรณกรรมอยขู่ ัน้ ตอนใดของการวิจยั มักจะมีความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับการทบทวนวรรณกรรมว่าควรเริ่มต้นทบทวน วรรณกรรมเม่ือใด และเม่ือได้สิ้นสุดการวิจัยแลว้ มักจะไม่ให้ความสนใจกับวรรณกรรมทีท่ บทวนก่อนหน้า ซ่ึง แท้จริงแล้วการทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวขอ้ งสัมพันธก์ ับระยะของการทำการวิจยั กลา่ วคือ ระยะท่ียงั ไม่มหี ัวข้อ วจิ ยั ระยะทมี่ ีหวั ข้อวจิ ัยแล้ว และระยะทวี่ ิจยั เสรจ็ ระยะทยี่ งั ไม่มีหวั ขอ้ วิจยั : การทบทวนวรรณกรรมจะช่วยใหเ้ กิดคำถามงานวิจัยใหม่ ไดแ้ นวคดิ ใน การทำวิจยั ได้ขอ้ มลู สนับสนนุ ความจำเปน็ ในการทำวิจยั

ภาพที่ ๓.๑ แสดงความสัมพนั ธ์ระยะการทำวิจยั กับการทบทวนวรรณกรรม

ท่มี า: http://setthasat.com/2011/10/17/self-fulfilling/ ระยะท่ีมีหัวขอ้ วจิ ยั แลว้ : การทบทวนวรรณกรรมท่เี กย่ี วข้องจะช่วยปอ้ งกันการทำงานซ้ำกับผู้อื่น และเปน็ วิธเี รียนลัด: แนวคิดทฤษฎี ความรู้ใหม่ กระบวนการทำวจิ ัย ปัญหาที่อาจประสบระหว่างการทำวิจยั ผลการวิจัย ระยะทที่ ำวจิ ยั เสร็จแลว้ : การทบทวนวรรณกรรมท่เี กยี่ วขอ้ งจะช่วยตรวจสอบงานวจิ ัยของเราว่า เป็นไปตามแนวคดิ ทฤษฎีที่ได้ค้นคว้ามาหรือไม่ เพื่อนำไปสู่การอภปิ รายผลการวจิ ัย หรือหากเป็นผลวจิ ัยเป็น การค้นพบเร่ืองใหม่ ประเดน็ ใหม่ ที่ไมต่ รงหรือสอดคลอ้ งกับที่คน้ คว้ามา กจ็ ะตอ้ งไปทบทวนแนวคิดทฤษฎีอัน

๖๖ Advanced Research Methodology on Peace ใหม่ เรื่องใหม่ ดังกล่าวไว้เพ่ือเป็นการปพู ืน้ ที่จะนำไปสู่การสรา้ งความเขา้ ใจกบั องคค์ วามรู้ใหม่ทเ่ี ราคน้ พบ

สรปุ ความจำเป็นของการทบทวนวรรณกรรม (๑) เพื่อแสดงให้เห็นถึงประวัติและวิวัฒนาการของเรื่องที่กำลังทำวิจัย สรุปความรู้ พื้นฐานเรอ่ื งที่ศกึ ษา แสดงถงึ การเตรียมความรู้ของนกั วิจยั ในประเด็นทศ่ี กึ ษา (๒) เพื่อเป็นพื้นฐานในการสร้างกรอบแนวคิดการวิจัย การคัดเลือกตัวแปรที่มี ความสัมพนั ธ์กันจากการวรรณกรรมทที่ บทวน (๓) เพอื่ หลีกเลีย่ งการทำวิจัยซ้ำซ้อน (To Avoid Duplication) (๔) เพื่อช่วยในการนิยามปัญหา (To Define a Problem) เพราะผู้วิจัยเกิดความ กระจ่างในปญั หาท่ีจะทำการวจิ ัยนั้นจากการทบทวนวรรณกรรมทเี่ กย่ี วข้อง (๕) เพ่ือศึกษาเครอ่ื งมอื และตัวแปรที่เหมาะสม (๖) เพื่อชว่ ยในการอภิปรายผลและแปลความหมายของผลการวจิ ยั (๗) เพ่อื ชว่ ยใหผ้ ู้ทรงคณุ วุฒเิ หน็ ความพรอ้ มในการเตรยี มความรเู้ พื่อทำการวิจัยได้ต่อไป

๓.๑.๕ ประเภทคณุ ลกั ษณะของการทบทวนวรรณกรรม

การทบทวนวรรณกรรมจะมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นหากผู้ศึกษาเข้าใจถึงลักษณของการทบทวน

วรรณกรรม ซง่ึ อาจกลา่ วไดว้ า่ เป็นลกั ษณะที่ต้องการมุง่ เนน้ ในการทบทวนวรรณกรรม ซ่ึง Cooper’s (อา้ งถงึ ใน

, Randolph, 2009) ได้นำเสนอไว้ ๖ ประเภท ไดแ้ ก่

(๑) การมงุ่ เน้น (Focus) เปน็ การทบทวนวรรณกรรมท่ีมีลักษณะมุ่งให้ความ สนใจท่ี ผลลพั ธ์ของ

การวจิ ยั วิธีการวจิ ยั ทฤษฎแี ละการปฏบิ ัติหรอื การนำไปประยกุ ต์ใช้ ซง่ึ การทบทวนวรรณกรรมโดยการม่งุ ความ

สนใจไปที่

-มุ่งผลลพั ธข์ องการวิจยั จะบอกถงึ ประเดน็ ทีส่ ำคญั ท่ยี งั มขี ้อมลู ไม่เพียงพอหรือยังไม่มีการศึกษา

มากนกั และนำไปส่กู ารพฒั นาประเด็นหรือหวั ขอ้ ทางการวจิ ัยใหม่

-มุ่งวิธีการดำเนินการวิจัย จะมุ่งความสนใจไปที่ตวั แปร วิธีการท่ีใช้ในการวัด วิธีการที่ใช้ในการ

วิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งจะช่วยบอกผู้วจิ ัยว่าอะไรเป็น จุดแข็งหรือจุดอ่อนของงานวิจัยทีไ่ ด้ทำการทบทวนเหล่านั้น

เพอื่ นำมาเปรยี บเทยี บและพัฒนาแนวทางในการกำหนดวธิ ีการดำเนินการวิจยั สำหรบั งานวิจยั ต่อไป

-มุ่งทฤษฎี ช่วยให้ทราบวา่ มีทฤษฎีอะไรที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อที่ต้องการศกึ ษา และความสัมพนั ธ์

ของทฤษฎีเหล่านั้น ซึ่งการศึกษาทฤษฎีที่ผ่านมามีความสำคัญอย่างยิ่ง สำหรับงานวิจัยหรือ

วิทยานิพนธ์ทีต่ อ้ งการพัฒนาทฤษฎีหรือรูปแบบใหม่ในสาขาทีเ่ กี่ยวขอ้ ง เพื่อใหเ้ หตผุ ลได้ว่าทฤษฎที ี่มีอย่ยู งั ไม่

เพียงพอและสนบั สนุนความสำคัญของการพัฒนาทฤษฎใี หม่

-มุ่งไปท่ีประยุกต์ใช้ เป็นการมุ่งเน้นไปที่การปฏิบัติช่วยให้ทราบถึงช่องว่างหรือส่วนท่ียังไม่ได้รับ

การตอบสนองเพอื่ นำไปสเู่ หตุผลในการพฒั นางานวิจัยต่อไป

ระเบียบวิธวี จิ ยั ช้ันสงู วา่ ดว้ ยสันตภิ าพ ๖๗ (๒) เป้าหมาย (goal) เป้าหมายของการทบทวนวรรณกรรม คือ การบูรณาการและการนำเอา ผลการวิจยั ไปประยุกต์ใช้กับหน่วยงานอื่นเพ่ือช่วยในการแก้ปัญหาในเรื่องน้ัน โดยมีการนำเอาวิธกี าร Meta- Analysis มาใชเ้ พ่ือบูรณาการผลการวจิ ยั เชงิ ปริมาณตา่ งๆ เขา้ ดว้ ยกนั เปน็ ต้น (๓) มุมมอง (perspective) สำหรบั การทบทวนงานวรรณกรรมงานวจิ ยั เชงิ คุณภาพ ผ้วู ิจยั อาจ สามารถพิจารณาว่าอคติของผู้เขยี นงานวิจัยเชิงคุณภาพเป็นอย่างไร ในขณะที่งานวิจัยเชิงปริมาณ ผู้วิจัยควร พยายามใชม้ ุมมองทีเ่ ป็นกลางในการนำเสนอขอ้ คน้ พบตามความเปน็ จริงได้ (๔) การครอบคลุม (coverage) การทบทวนวรรณกรรมมกี ารครอบคลุมประเดน็ ทเี่ ก่ียวข้องกับ หัวข้อที่ทำมากน้อยเพียงใด ทั้งจากงานที่ตีพิมพ์และงานที่ไม่ได้รับ การตีพิมพ์อย่างไรก็ตาม การทบทวน วรรณกรรมอาจไม่สามารถครอบคลุมได้ท้งั หมด ดังน้ันการกำหนดกลุ่มประชากรเพือ่ สรา้ งความชดั เจนสำหรับ ค้นคว้าข้อมูลโดยพิจารณาจากงานวิจัยที่ผ่านมา ว่ากลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาเป็นใครมีความเป็นตัวแทนของ ประชากรหรือไม่ ช่วยทำให้การต่อยอดในการทำวิจัยสะดวกมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้อาจจำกัดจำนวนของ บทความหรือเอกสารทเี่ กี่ยวข้องโดยคน้ ควา้ เฉพาะบทความท่ตี พี มิ พ์ในวารสารเท่านน้ั ไมร่ วมบทความท่ีนำเสนอ ในการประชุมวิชาการ เปน็ ตน้ (๕) การจดั ระบบ (organization) รูปแบบในการจดั ระบบการทำ วจิ ยั มีหลายรปู แบบ เช่น การ จัดรูปแบบโดยเรียงลำดับเหตุการณ์จากอดีตสู่ปัจจุบัน (กล่าวถึงพัฒนาการหรือความก้าวหนา้ ของวิธกี ารวิจยั หรือทฤษฎีหรือการเปลี่ยนแปลงของการปฏิบัติในช่วงเวลาทีผ่ ่านมา) รูปแบบที่กำหนดจากแนวคิด (กล่าวถึง ทฤษฎีและแนวคิดต่างๆ) และรูปแบบจากวิธีการวิจัยอย่างไรก็ดีการนำ เอารูปแบบทัง้ หมดมาผสมผสานเขา้ ดว้ ยกนั อาจเป็นวิธีการท่ีมีประสิทธิภาพมากทีส่ ุด ตัวอยา่ งเชน่ นกั วจิ ัยอาจเร่ิมต้นด้วย บทนำ จากนั้นกล่าวถึง วิธีการดำเนนิ การวจิ ยั และนำเสนอผลการศกึ ษาในรูปแบบโดยเรียงลำดบั เหตกุ ารณ์หรือรูปแบบท่ีกำหนดจาก แนวคิด และปิดท้ายดว้ ยการอภิปรายผลลัพธข์ องการวิจยั (๖) กลุ่มเป้าหมาย (audience) คุณลักษณะประการสุดท้ายของการทบทวนวรรณกรรม คือ การพจิ ารณากลุม่ เปา้ หมายว่าใครคอื คนที่อา่ นงานวรรณกรรมของเรา ในส่วนของงานวทิ ยานิพนธ์ บคุ คลท่อี ่าน ได้แก่ อาจารย์ทีป่ รกึ ษา และผู้ทรงคณุ วุฒิรวมถึงนักวิชาการที่เกี่ยวข้องกับสาขาหรืออยู่ในแวดวงวิชาการนนั้ ดังน้นั การเขียนการทบทวนวรรณกรรมจึงต้องเขียนในลกั ษณะของงานวิชาการ ไม่ใช่การเขียนแบบงานทว่ั ไป คุณลักษณะการทบทวนวรรณกรรมทั้ง ๖ คุณลักษณะนีช้ ่วยให้การวางแผน สำหรับการทบทวน วรรณกรรมมีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น และนำไปสู่การกำหนดขัน้ ตอนการพฒั นาการทบทวนวรรณกรรมที่เปน็ ระบบและชัดเจนยิ่งข้ึน๘ นอกจากนี้ยังมีคุณลักษณะตามประเภทของการวิจัย ซึ่งการวิจัยเชิงปริมาณกบั การ วิจัยเชิงคุณภาพจะมีลักษณะของการทบทวนแตกต่างกันตามกระบวนทัศน์ของงานวิจัย ซึ่งผู้เขียนจัดไว้ใน ลักษณะของการทบทวนวรรณกรรมเพ่ิมเตมิ จาก Cooper’s กล่าวคือ

๘ชัยเสฏฐ์ พรหมศร, “แนวทางการทบทวนวรรณกรรมสำหรับงานวิทยานพิ นธ์ ระดับบัณฑติ ศึกษา”, วารสารนัก บริหาร, ปที ่ี ๓๔, (ฉบับที่ ๑ มกราคม-มถิ ุนายน ๒๕๕๗): ๑๒-๑๓

๖๘ Advanced Research Methodology on Peace (๗) ประเภทการวจิ ัย ถา้ เปน็ การวจิ ยั เชิงปรมิ าณจะมีรูปแบบทต่ี อ้ งการศึกษาตัวแปรภายใต้กรอบ

แนวคิดการวิจัยที่ได้มีการออกแบบไว้แล้ว ดังนั้น การทบทวนวรรณกรรมจึงตกอยู่ในกรอบคิดดังกล่าว แต่ สำหรับงานวจิ ัยเชิงคุณภาพ การทบทวนวรรณกรรมเปน็ การศกึ ษาความรู้ในกรอบของขอบเขตเนื้อหาการวิจัย โดยการชี้นำของคำถามการวิจัยและชื่อเรื่องทำให้รู้ว่าควรจะศึกษาทบทวนวรรณกรรมเร่ืองใดบ้างที่เก่ียวกบั ปรากฏการณ์การศึกษา นอกจากนี้การทบทวนวรรณกรรมในการวิจยั เชิงปริมาณจะมีการทดสอบสมมุติฐาน เพื่อต้องการตอบคำถามและมีการนำเสนอข้อมูลความรู้ในแต่ละส่วนเพื่อนำไปเปรียบเทียบกับสิ่งที่ค้นพบ ในขณะที่การวิจัยเชิงคุณภาพการทบทวนวรรณกรรมจะช่วยชี้แนะในการตั้งคำถามและ สมมุติฐานที่ได้จาก ประชากรในขณะท่ีเก็บรวบรวมข้อมลู จากภาคสนาม และสำหรบั การวิจัยแบบผสานวิธกี ารทบทวนวรรณกรรม จะถกู ใช้เพื่อออกแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ ชว่ ยอธิบายคำตอบหรอื ผลการวิจยั ของคำถามและทดสอบ สมมุตฐิ านการวจิ ยั ๙

๓.๒ การคัดเลือกทบทวนวรรณกรรมทเี่ หมาะสม

ก่อนที่จะกล่าวถึงการคัดเลือกวรรณกรรมที่เหมาะสมควรเป็นอย่างไร สิ่งที่ต้องเริ่มตน้ ทำความ เข้าใจระหว่างคำว่า แนวคิด (concept) กับ ทฤษฎี (theory) ซึ่งทั้งสองคำนี้มักจะปรากฏอยู่ในบททบทวน วรรณกรรมทเ่ี กีย่ วขอ้ ง ซึง่ บางสถาบนั ใชว้ า่ ทบทวนแนวคดิ และทฤษฎีท่เี กย่ี วขอ้ ง ดังนั้นทั้งสองนี้มีลกั ษณะเป็น อย่างไรจึงตอ้ งทำความเขา้ ใจ

แนวคิด (Concept) หมายถึง คำอธิบาย หรือ ความคิดเห็น (Idea) เกี่ยวกับ คุณสมบัติของ ปรากฏการณ์ที่สังเกตได้ในลักษณะทเี่ ปน็ นามธรรม และจะเป็นพน้ื ฐานท่นี ำมาสรา้ ง เปน็ ทฤษฎตี ่างๆ

ทฤษฎี (theory) หมายถงึ แนวคิด หรือ สมมตฐิ าน ทีผ่ ่าน การตรวจสอบ และ ทดลองหลายครง้ั หลายหนจนสามารถอธิบายข้อเท็จจริง สามารถคาดคะเน ทำนายเหตกุ ารณ์ท่ีเก่ยี วข้องกบั ปรากฏการณ์นั้นได้ อย่างถูกต้อง และเป็นที่ยอมรบั ของคนทัว่ ไป ความถูกต้องของทฤษฎีจึงตั้งอยู่บนพืน้ ฐานของความสามารถท่ี พสิ ูจนท์ ดสอบได้ดว้ ยขอ้ มูลเชงิ ประจกั ษ์

ท้ังน้ีบางประเดน็ ที่ศึกษาอาจเปน็ ความเห็นทศั นะของผูศ้ ึกษาในเร่ืองนน้ั ๆ ท่ีมีความเชี่ยวชาญแต่ก็ ไม่ได้ทำการพิสจู น์ตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ แต่ด้วยท่ีการให้เหตุผลและความเชยี่ วชาญของบคุ คลท่าน นัน้ ทำให้แนวคิดนนั้ มีความน่าเชื่อถือ เช่น พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.ปยุตโฺ ต) ได้เสนอแนวคิดเก่ียวกับสันติภาพ กับ ความจรงิ สากล ๓ ประการ ซง่ึ สิง่ ทีท่ ่านนำเสนอนน้ั เป็นการนำหลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนามาแสดงไว้ใน บรบิ ทงานดา้ นสนั ติภาพ

๙ประเวศน์ มหารัตนส์ กลุ , หลักการและวิธีการเขียนงานวจิ ยั งานวิทยานพิ นธ์ สารนพิ นธ์, หน้า ๑๓๒-๑๓๓.

ระเบียบวิธีวจิ ัยช้ันสงู วา่ ด้วยสันตภิ าพ ๖๙

หลักการคัดเลอื กการทบทวนวรรณกรรมทเี่ หมาะสม ✓ ตรง/สอดคล้อง กบั ประเด็นทศ่ี ึกษา ✓ ทนั สมัย นา่ สนใจ (หากเปน็ งานวิจยั ไมค่ วรเกนิ ๓-๕ ปี ) ✓ นา่ เช่อื ถอื (เช่น หลักธรรมในทางพระพทุ ธศาสนาควรค้นจากแหล่งปฐมภูมิ: พระไตรปิฎก)

ขยายความคำว่า น่าเชอ่ื ถือ ในที่นีห้ มายถึงแหลง่ ทม่ี าของการทบทวนวรรณกรรมและระดับของข้อมลู ซึง่ ระดบั ของข้อมลู ทนี่ บั มาทบทวนวรรณกรรมในงานวิจัยเพอ่ื สนั ติภาพทีม่ รี ากฐานจากการศึกษาทาง พระพทุ ธศาสนาทม่ี ีคัมภรี ์พระไตรปฎิ กเป็นขอ้ มลู ในระดับปฐมภูมิ ดงั น้ันในการอา้ งองิ หลักธรรมใน งานวจิ ัยเพอ่ื สนั ติภาพจะต้องอา้ งถงึ แหลง่ ทเ่ี ปน็ ปฐมภูมหิ รอื พระไตรปฎิ กที่เป็นฉบบั ของ มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณเป็นสำคญั

นอกจากความจำเพาะเจาะจงในแหลง่ อา้ งอิงที่น่าเชือ่ ได้ในทางพระพทุ ธศาสนาแลว้ สำหรบั ตาม หลักการศึกษาวิจัย Polit & Hungler (1999) ได้แสดงถึงทัศนะเกี่ยวกับเอกสารที่นำมาใช้ในการทบทวน วรรณกรรมท่ีเก่ียวข้องทน่ี ักวิจยั ควรนำมาใช้ ๕ ประเภท ดังนี้

(๑) รายงานผลการวิจัย (research findings) ข้อเท็จจริง (facts) และสถิติต่างๆ (statistics) รายงานวิจัยเป็นแหล่งสำคัญที่ช่วยให้ผู้วิจัยทราบว่าองค์ความรู้เรื่องนั้นเป็นอย่างไรมาจากแหล่งใดใช้กรอบ แนวคดิ ใดรวมทง้ั วธิ กี ารวจิ ยั

(๒) ทฤษฎี (theory) งานวรรณกรรมประเภทนี้มีประโยชน์มากต่อผู้วิจัยในด้านการให้กรอบ แนวคดิ และการชี้นำปัญหาการวจิ ัย

(๓) ระเบียบวิธีการ (methodology) นอกจากบริบทเกีย่ วกับเรื่องที่ผู้วิจยั สนใจแล้วการที่จะ ได้มาซึ่งความรู้นั้นๆก็เป็นสิ่งสำคัญที่ผู้วิจัยควรให้ความสำคัญด้วยเช่นกันเช่น ระเบียบวิธีการวิจัยต่างๆ เครื่องมือวดั ต่างๆ เปน็ ตน้

(๔) ความคิดเห็นและทัศนคติ (opinion and viewpoints) วรรณกรรมเหล่านีจ้ ะมีประโยชน์ ในดา้ นการกำหนดแนวคดิ และปญั หาการวจิ ยั

(๕) รายงานกรณีศึกษา (case reports) บทความเกี่ยวกับสถานการณ์ทางคลินิก (clinical descriptions) และบนั ทกึ ประสบการณ(์ anecdotes) วรรณกรรมประเภทนี้มกั มาจากประสบการณข์ องผเู้ ขยี น ซึ่งเป็นสว่ นสะท้อนปัญหาทางคลินิกที่เกดิ ขึ้นงานวรรณกรรมประเภทนี้จะช่วยจดุ ประกายความคิดในการหา ปญั หาและแนวทางในการท าวิจัยใหแ้ กผ่ วู้ จิ ยั ได้๑๐

๑๐POLIT, DF & HUNGLER, BP., Nursing research: Principles and methods, 6th, ( Philadelphia: Lippincott.,1999).

๗๐ Advanced Research Methodology on Peace สำหรับรายงานผลการวิจัยสำหรับการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาสามารถนำผลการศึก ษาวิจยั

ของวิทยานิพนธร์ ะดับปริญญาที่มีระดับเดียวกับทีศ่ ึกษาหรอื สูงกว่าได้ แต่ ควรหลีกเล่ียงการนำผลการศึกษา ระดับปริญญาท่ีต่ำกว่าในระดบั ทผ่ี ู้ศกึ ษากำลงั ศึกษาอยู่ เช่น หากผูศ้ ึกษาอยู่ในระดับปริญญาโทสามารถนำผล การศึกษาทั้งในระดับปริญญาโทและเอกมาใช้ในการอ้างอิงได้ แต่ถ้าหากผู้ศึกษาอยู่ในระดับปริญญาเอกควร พยายามใช้ผลการศึกษาในระดับปริญญาโทให้น้อยที่สุด ยกเว้นประเด็นนั้นเป็นเรื่องจำเพาะเจาะจงและ การศกึ ษาในระดับปรญิ ญาเอกยังไมม่ ีผลการศกึ ษาในประเดน็ ท่ีตอ้ งการศึกษา

๓.๓ แหล่งสบื คน้ วรรณกรรมที่เกย่ี วขอ้ ง

ดว้ ยเทคโนโลยใี นโลกยคุ ดจิ ทิ ัลทีก่ ้าวล้ำและทันสมัยทำให้ขอ้ มูลข่าวสารต่างๆ ปรากฏอยู่ในระบบ ออนไลน์จำนวนมาก และแม้การศึกษาปัจจบุ ันกใ็ ช้ระบบการสอนออนไลน์ สื่อการสอน แหล่งข้อมูลเรียนรู้ที่ กว้างที่สุดและเข้าถึงได้สะดวกรวดเร็วที่สุดปัจจุบันนี้คือการใช้อินเทอร์เนต ซึ่งแหล่งเข้าถงึ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง แบง่ เปน็ ฐานข้อมลู งานวิจยั ตา่ งประเทศและในประเทศ ดงั นี้

๑) ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat University Theses) ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์แบบออนไลน์บนเมนู TU Digital Collection ประกอบด้วยวิทยานิพนธร์ ะดบั ปริญญาโท – เอก มากกว่า 2 หม่ืนรายการ ให้บรกิ ารในรปู แบบ Open Access ดาวนโ์ หลดวทิ ยานพิ นธ์ได้แม้จะอยู่ภายนอกมหาวิทยาลัย >> https://digital.library.tu.ac.th

๒) Thai Digital Collection (TDC) สำนกั งานคณะกรรมการการอดุ มศึกษาแหล่งรวมวทิ ยานพิ นธ์ และงานวิจัย ในรูปแบบเอกสารฉบับเต็ม จากมหาวิทยาลัยและหน่วยงานต่าง ๆ ในประเทศไทย >> http://tdc.thailis.or.th/tdc/basic.php** ใช้งานนอกเครอื ข่ายมหาวทิ ยาลยั ตอ้ งสมัครสมาชิกกอ่ น

๓) Research Gateway Common Service สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) แพลตฟอร์มเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลงานวิจัยจากแหล่งต่าง ๆ ภายในประเทศ เช่น คลังข้อมูลงานวิจัย ไทย (TNRR) ศูนย์ข้อมลู การวจิ ัยดิจทิ ลั (DRIC) รวมทง้ั มหาวิทยาลัยต่าง ๆ (แตไ่ ม่ไดม้ ี Full Text ทุกรายการนะ) >> http://www.researchgateway.in.th **ก่อนใช้งานต้องสมัครสมาชกิ

๕) ฐานข้อมูลวารสารวิชาการ Thai Journals Online (ThaiJO) ฐานข้อมูลที่รวบรวม วารสารวิชาการ ครอบคลุมทุกสาขาวิชา ให้บริการในรูปแบบเอกสารฉบับเต็ม >> https://www.tci- thaijo.org

๖) ศูนย์ข้อมูลการวิจัย Digital (วช.) รวมรวบงานวิจัยไว้มากมาย และสามารถดาวน์โหลดเป็น เอกสารฉบับเต็ม หรือเฉพาะบทที่ต้องการได้ >> http://dric. nrct.go.th/Index **ก่อนใช้งานต้องสมัคร สมาชกิ

๗) คลังปัญญาจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั Chulalongkorn University Intellectual Repository (CUIR) คลังวิจัยสถาบันของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประกอบด้วยงานวิจัยจากอาจารย์ นักวิจัย บุคลากร นักศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาโท – เอก ให้บริการในรปู แบบเอกสารฉบับเตม็ >> https://cuir.car.chula.ac.th

ระเบยี บวธิ ีวจิ ยั ช้ันสูงวา่ ด้วยสนั ตภิ าพ ๗๑ ๘) ฐานข้อมูลงานวิจัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง ฐานข้อมูลรวมงานวิจัย และวิทยานิพนธ์ของ มหาวิทยาลยั รามคำแหง (ยกเวน้ สารนพิ นธ์ไมม่ ีออนไลน์) >> http://library.lib.ru. ac.th/ screens/ main menu_thx.html ๙) ฐานข้อมูลงานวิจัย มหาวิทยาลัยนเรศวร NU Digital Repository รวบรวมผลงานวิจัยของ บุคลากร วิทยานิพนธ์ และปริญญานิพนธ์ระดับปริญญาตรี ของมหาวิทยาลัยนเรศวร >> http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace ๑๐) ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ มธบ. อิเล็กทรอนิกส์ (DPU e-Theses) ฐานข้อมูลวทิ ยานิพนธ์ สาร นิพนธ์ ภาคนพิ นธ์ และงานคน้ คว้าอิสระ ของมหาวิทยาลัยธรุ กิจบณั ฑติ ย์ ระดบั ปริญญาโทและปริญญาเอก >> https://lib.dpu.ac.th/page.php?id=6488 ๑๑) ฐานข้อมลู Dspace มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร ฐานข้อมลู ทจ่ี ดั เกบ็ วิทยานิพนธ์ระดับบัณฑิตศึกษา และเผยแพรใ่ ห้ผอู้ ่านทัว่ ไปสามารถเขา้ ถงึ ได้ >> http://www.graduate.su.ac.th/dspace/index.php ๑ ๒ ) ค ล ั ง ป ั ญ ญ า ม ห า ว ิ ท ย า ล ั ย ส ง ข ล า น ค ร ิ น ท ร ์ PSU Knowledge Bank มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สามารถใช้เสิร์ชเอ็นจินของทางคลังเข้าไปส่องงานวิจัยและวิทยานิพนธ์ของ สถาบนั ได้ โดยแต่ละงานวจิ ยั จะถกู จัดให้อยู่ภายใต้คณะวิชาตา่ งๆ >> http://kb.psu.ac.th/psukb ๑๓) ฐานขอ้ มูลสถาบนั บัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์ (นดิ ้า) ฐานขอ้ มูลวิทยานพิ นธ์ สารนิพนธ์ ภาค นิพนธ์ และงานค้นคว้าอิสระ ของมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ระดับปริญญาโทและปริญญาเอก >> http://libsearch.nida.ac.th ๑๔) ฐานข้อมูลงานวจิ ัย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) รวมงานวิจัยที่สนับสนนุ ทุน วิจัย โดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ให้บริการในรูปแบบเอกสารฉบับเต็ม >> https://elibrary.trf.or.th/default2018.asp ๑๕) งานวิจัย สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา รวบรวม งานวิจัย รายงานการศึกษา และโครงการศึกษาวิจัย (เข้าไปที่เมนู ห้องสมุดกฎหมาย >> ผลงานวิจัย) >> http://www.krisdika.go.th ๑๖) ฐานข้อมูลงานวิจัยด้านแรงงาน I กลุ่มงานวิจยั และวางแผนกำลงั แรงงาน สำนกั เศรษฐกิจการ แรงงาน กระทรวงแรงงาน แหล่งรวมงานวิจัยด้านแรงงาน ให้ข้อมูลทั้งบทคัดย่อ และเอกสารฉบับเต็ม >> http://research.mol.go.th/2013 ๑๗) ฐานข้อมูลงานวิจัย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช รวบรวมงานวิจัยและวิทยานิพนธ์ไว้ อย่างมากมาย >> http://ird.stou.ac.th/dbresearch/index.php งานวิจัย สถาบันพระปกเกล้า รวม งานวิจัย บทความ และวิทยานิพนธ์ ที่ได้รับทุนสนับสนุนโดยสถาบันพระปกเกล้า หากต้องการดาวน์โหลด เอกสารต้องสมคั รสมาชิกก่อน ซ่ึงสามารถ Login ด้วย Facebook >> http://www.kpi.ac.th

๗๒ Advanced Research Methodology on Peace ๑๘) ProQuest Dissertations & Theses วิทยานิพนธ์จากมหาวิทยาลัยกว่า 700 แห่งทั่วโลก

ประกอบด้วยวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท-เอก มากกว่า 2.4 ล้านรายการ >> http://search.proquest. com๑๑

๑๙) Google Scholar : Google Scholar เป็นวิธีที่ง่ายๆ ในการค้นหางานเขียนทางวิชาการได้ อย่างกว้างขวาง สามารถค้นหาในสาขาวิชาและแหล่งข้อมูลต่างๆ มากมายได้จากจุดเดียว: บทความ peer- reviewed วิทยานิพนธ์ หนงั สอื บทคัดยอ่ และบทความจากสำนกั พมิ พ์ทางวิชาการ แวดวงวชิ าชีพ ที่เก็บร่าง บทความ มหาวิทยาลยั และองคก์ รด้านการศึกษาอน่ื ๆ

๒๐. SCOPUS : SCOPUS เป็นฐานข้อมูลบรรณานุกรม ครอบคลุมวารสาร,รายงานการประชุม, หนังสอื ชดุ , สทิ ธบิ ตั ร ดา้ นวิทยาศาสตร์และสงั คมศาสตรจ์ ำนวนมาก

นอกเหนอื จากน้ีสำหรับแหล่งสืบค้นฐานข้อมลู ที่ผู้เขยี นแนะนำเนื่องขจากเกี่ยวข้องกับสาขาวิชา สนั ตศิ ึกษาท่ผี ู้ศึกษาควรหมน่ั เขา้ ไปคน้ หาหรือสืบค้น ไดแ้ ก่

-ห้องสมุดมหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย http://library.mcu.ac.th/home/ -ฐานข้อมูลงานวจิ ัย Thailis ซึ่งมีมหาวิทยาลัยจำนวนมากเปน็ สมาชกิ และสามารถให้ดาวน์โหลด งานวจิ ยั ผลงานวชิ าการฉบับเตม็ ไดเ้ มือ่ สมัครสมาชิก http://newtdc.thailis.or.th/ -ห้องสมุด วช. http://www.riclib.nrct.go.th/landing.php -หอ้ งสมุดพระปกเกล้า http://www.kpi-lib.com/kpi/opac/index.php -สถาบนั วจิ ัยพทุ ธศาสตร์ http://bri.mcu.ac.th/new/ -ฐานข้อมูลการสืบค้นพระไตรปฎิ ก E-Tipitaka เปน็ โปรแกรมสืบคน้ พระไตรปิฎกที่มีหลายฉบบั ให้ เลือก รวมทั้งฉบับมหาจฬุ าฯ แนะนำให้ผูศ้ ึกษาดาวน์โหลดเก็บไว้ในเครื่องเพื่อสะดวกในการสืบค้น และควร ดาวน์โหลด พจนานุกรมฉบบั ประมวลศพั ท์ ประมวลธรรม เพือ่ ใช้ในการศึกษาศัพทท์ างพระพทุ ธศาสนา

ทั้งนี้เทคนิคในการสืบค้นข้อมูล นอกเหนือจากฐานข้อมูลออนไลน์เหล่านี้ ในการสืบค้นผู้ศึกษา สามารถใช้คำสำคัญหรอื key word งานวจิ ยั ในการคน้ หาได้ และหากไม่เจอควรลองใช้คำท่ีใกล้เคยี งซง่ึ จะชว่ ย ให้การสบื ค้นมปี ระสิทธภิ าพยงิ่ ขึน้

๓.๔ เทคนิคการเรยี บเรียงประเดน็ ในการทบทวนวรรณกรรม

การทบทวนวรรณกรรมทดี่ ีตอ้ งมกี ารวางเนือ้ หาและประเด็นให้ผอู้ า่ นไดต้ ิดตามความคิดและการให้ เหตุผลและการนำไปสู่การสรุปที่ผู้วิจัยต้องการสื่อให้เห็น ดังนั้นการจะเรียบเรียงประเด็นในการทบทวน วรรณกรรมที่ดีนั้น ผู้ศึกษาต้องตระหนักถึงกิจกรรมหลักของการทบทวนวรรณกรรมที่มีลักษณะที่ดีต้องมี กจิ กรรมท่ที ำอยู่ ๕ เร่อื ง ซึ่งมหาวทิ ยาลัยอดี ีธ โคเวน (Edith Cowen University) ไดเ้ สนอไว้ ๕ กจิ กรรม ดังน้ี

๑๑ ศูนย์วจิ ยั และจดั การความรู้เพ่ือการควบคมุ ยาสูบ, [ออนไลน์], แหลง่ ทม่ี า: https:// www.trc.or.th/th/, [๓ ตุลาคม ๒๕๖๔].

ระเบยี บวิธวี ิจัยช้ันสูงวา่ ด้วยสนั ตภิ าพ ๗๓ ๓.๔.๑ สาระสำคญั หลักของการทบทวนวรรณกรรม (๑) การอา้ งองิ (citation) หมายความวา่ ผ้วู จิ ัยจะต้องมีจุดมุ่งหมายหลักอยู่ที่การนำวรรณกรรม มาอา้ งอิงให้ถกู ต้อง (๒) การเปรียบเทียบ (comparison) หมายถงึ การเปรยี บเทียบข้อโตเ้ ถียงต่างๆ (arguments) ทฤษฎตี ่างๆ (theory) ระเบยี บวธิ กี ารวิจยั ที่แตกต่างกนั (methodologies) แนวทาง (approaches) และข้อ คน้ พบ (findings) ทีต่ า่ งกนั ที่ปรากฏอยู่ในวรรณกรรมทผ่ี เู้ ขยี นวรรณกรรมเหล่านน้ั เหน็ ด้วยหรือไม่เห็นด้วยและ มผี ู้ใดบ้างท่ใี ช้แนวทางร่วมกัน (๓) การแสดงให้เห็นความแตกต่าง (contrast) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องข้อถกเถียง เนื้อหา สาระ ระเบียบวิธี และขอ้ คน้ พบในวรรณกรรมว่าผู้เขียนงานวิชาการมคี วามเหน็ ขดั แยง้ กนั และไดม้ ีการอภิปราย ไว้ในเร่อื งใดมากทส่ี ุด (๔) การวิพากษ์วิจารณ์ (critique) ว่ามีข้อโต้แย้งใดที่น่าเชื่อถือมากกว่า เพราะเหตุใด และ แนวทางใด ขอ้ ค้นพบใด วธิ วี ิทยาการใด นา่ เชอ่ื ถือ ถูกต้อง และเหมาะสมมากที่สดุ เพราะเหตุใด โดยพรรณนา ให้ชดั เจนว่าผเู้ ขียนผลงานน้นั ๆ ได้พดู อะไรและทำอะไร (๕) การเชื่อมโยง (connect) ผลงานวิจยั ในอดตี เข้ากับเรื่องราวของการวิจยั ท่ีทำ และพจิ ารณา ว่างานที่ผู้วิจัยทำขึ้นนั้นใช้ ประโยชน์จากสิ่งที่ได้มีการกล่าวไว้ในงานวิจัยในอดีตอย่างไร ต่างจางานในอดีต อย่างไร และสังเคราะห์เข้าดว้ ยกนั อย่างไร๑๒

กล่าวได้ว่า การจะเรียบเรยี งประเด็นทีไ่ ดจ้ ากการทบทวนวรรณกรรมตอ้ งอาศัยเวลามากท้ังในการ ค้นหาเอกสารที่สำคัญและเกี่ยวข้องใหค้ รบถ้วน การอ่านจับความสาระสำคัญให้ถกู ต้องชัดเจน การคิดในเชงิ เปรยี บเทียบความแตกตา่ งและการวิพากษ์วจิ ารณ์ทน่ี า่ เช่อื ถอื ดังน้นั การทบทวนวรรณกรรมจำเป็นต้องมีการ วางแผนและระบบการทำงานไวล้ ว่ งหนา้ เพ่อื ให้ไดม้ าซึง่ การทบทวนวรรณกรรมท่มี คี ุณภาพ

๓.๔.๒ ขนั้ ตอนการพฒั นาการทบทวนวรรณกรรม การเขียนงานทบทวนวรรณกรรมให้มีประสทิ ธภิ าพ โดยสรุปมีแนวทาง ๕ขัน้ ตอนท่ีสำคัญ ดังนี้ (๑) การกลั่นกรองข้อมลู จากการสงั เคราะห์และประเมินข้อมูล ผู้วิจัยรวบรวมข้อมูลที่เกีย่ วขอ้ ง กบั หัวขอ้ วจิ ัยทีจ่ ะศึกษาโดยการอ่านข้อมลู เหล่านน้ั เพ่ือนำมาสงั เคราะหแ์ ละประเมนิ เพอื่ ระบถุ งึ แนวคิดทส่ี ำคญั และความสำคัญของวรรณกรรมนั้น วิธีการที่นิยมใช้คือการจดบันทึกหัวข้อท่ีเกี่ยวข้องเพื่อจะนำ ไปสู่การ กำหนดโครงสร้างของการทบทวนวรรณกรรม โดยอาจนำเอาวิธีการใชแ้ ผนทแี่ นวคดิ (concept map) และการ ใชต้ ารางการสังเคราะห์ (synthesis matrix) มาใช้เพื่อกล่นั กรองแนวคดิ และทฤษฎีทเ่ี กย่ี วข้องให้อยูใ่ นขอบเขต ท่ีต้องการศกึ ษา

๑๒สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธ์, ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์, พิมพ์ครั้งที่ ๑๕, (กรุงเทพมหานคร: ห้าง หนุ้ สว่ นจำกัดสามลดา, ๒๕๕๕), หนา้ ๑๐๑-๑๐๒.

๗๔ Advanced Research Methodology on Peace (๒) การกำหนดแนวคิดหลักของวรรณกรรมและการโต้แยง้ หลกั ของการทบทวนวรรณกรรม เมื่อ

นักวิจยั ได้เริม่ ต้นในการสังเคราะห์ในการวิจัย ให้ระบุว่าอะไรคือแนวคิดหลักท่ีเกีย่ วข้องกับหวั ข้อหรอื คำ ถาม ของการวจิ ยั และแนวคิดที่แตกต่างจากสิ่งที่นักวิจยั ต้องการศกึ ษา ซ่ึงดำเนนิ การผา่ นการใช้ตารางการสังเคราะห์ (synthesis matrix)

(๓) การกำหนดโครงสร้างและจัดระบบการทบทวนวรรณกรรม การกำหนดโครงสรา้ งของการ ทบทวนวรรณกรรมต้องครอบคลุมถึงนิยามศพั ท์พื้นฐานท่ีเกี่ยวข้องกับหัวข้อที่จะศึกษา กล่าวถึงความสำคญั ของหัวข้อทีศ่ กึ ษา งานวิจัยที่ได้ดำเนนิ การในหัวข้อที่เกี่ยวข้องและประเด็นทีค่ วรจะดำเนนิ การหรือตรวจสอบ เพิม่ เตมิ และข้อสรปุ ท่ชี ัดเจนถึงความจำเปน็ ในการศกึ ษาและวตั ถุประสงคข์ องการวิจัยท่ีได้มาจากการทบทวน วรรณกรรม

(๔) การเขียนงานการทบทวนวรรณกรรม เมื่อมีแนวคิดหลักของการทบทวนวรรณกรรมเป็น ระบบ ตามลำดับขัน้ ต่อไปคือ การเขียนงานทบทวนวรรณกรรมที่ประกอบด้วยบทนำมุ่งเน้นไปที่ความสำคัญ ของหัวข้อทีศ่ ึกษา งานวิจยั ท่ีผ่านมา และข้อโต้แย้งในหัวข้อหรือสาขาที่ศึกษา เนื้อหาครอบคลมุ ถึงหัวขอ้ หลัก และหัวข้อรองของงานที่ได้ทำ การทบทวนที่ประเมินจากองค์ความรูล้ ่าสุดที่เกี่ยวข้องในหัวข้อหรือสาขานน้ั และบทสรุป ชี้ให้เห็นว่างานวิจัยที่ผ่านมานำไปสู่การพัฒนางานของนักวิจัยได้อย่างไร และการนำ เอาไป ประยกุ ต์ใชใ้ นการอภปิ รายผลและนำ ไปสกู่ ารเสนอแนะเพอื่ การวิจยั ในครัง้ ต่อไป

(๕) การเขียนบรรณานกุ รม การเขียนบรรณานุกรมเพ่ือระบุแหล่งท่ีมาของข้อมูลตามรปู แบบท่ี กำหนดเพื่อใหผ้ ู้ที่จะทำวจิ ยั ในหวั ขอ้ ที่เกี่ยวข้องสามารถนำ ไปศึกษาขอ้ มูลเพิ่มเตมิ ได้๑๓

ตารางที่ ๓.๑ ตัวอยา่ งการใชร้ ะบบบตั รคำช่วยในการบันทึกเอกสารที่นำมาทบทวน

ชือ่ ผ้แู ต่ง ชือ่ เรื่อง ประเภทของ ปีท่ตี พี ิมพ์ แหลง่ ทีม่ า/ ขอ้ สงั เกตที่

เอกสาร สถาบัน, เกย่ี วข้องกับ

แหลง่ ตีพิมพ์ ประเด็น

ศึกษา

๑...................

๒................... ๓...................

๑๓ชัยเสฏฐ์ พรหมศร, “แนวทางการทบทวนวรรณกรรมสำหรับงานวิทยานิพนธ์ ระดับบัณฑิตศึกษา”, วารสาร นักบริหาร, ปที ่ี ๓๔, (ฉบับที่ ๑ มกราคม-มถิ นุ ายน ๒๕๕๗): ๑๔-๑๕.

ระเบยี บวธิ วี ิจยั ชั้นสงู ว่าด้วยสันตภิ าพ ๗๕

ตารางท่ี ๓.๒ ตัวอยา่ งการใช้ตารางสังเคราะหง์ านวจิ ัย ตวั แปรท่ใี ช้ ผลการศึกษา

ช่อื ผู้แต่ง วิธีดำเนินการ กลุม่ ตัวอยา่ ง เครือ่ งมือที่ สำหรบั ท่ไี ด้ วิจัย และวิธีการ ใช้ใน สุ่ม งานวจิ ัย การศกึ ษา

๑.................... ๒................... ๓....................

๓.๔.๓ ลำดบั ขั้นตอนในการเขยี นทบทวนวรรณกรรม การเรียบเรียงทบทวนวรรณกรรมที่ดีควรดำเนนิ เรื่องอย่างเป็นระบบเป็นลำดับซ่ึงจะทำให้ผูอ้ า่ น ติดตามแล้วเกิดความเข้าใจในสิ่งที่ผูว้ ิจยั พยายามจะให้เหตุผลที่นำไปสู่การวิจัยที่จะศึกษา ทั้งนี้วิธีการลำดับ ความเขียนและนำเสนออาจไม่ไดม้ ีกฎตายตัวขึ้นอยกู่ บั วธิ ีการของผ้วู ิจัย แตโ่ ดยภาพรวมสำหรับนักวิจัยมือใหม่ หรอื ผทู้ กี่ ำลงั ศกึ ษาบัณฑิตศกึ ษา การมีแนวทางลำดบั การเขียนทบทวนวรรณกรรมกจ็ ะช่วยให้เร่ิมต้นทำความ เขา้ ใจในการทบทวนวรรณกรรมมากขึ้น การนำเสนอเรยี บเรยี งทบทวนวรรณกรรมโดยทวั่ ไปมีลำดบั ดังน้ี (๑) การเขียนคำนิยาม เป็นการอธิบายความหมายของคำหรือวลีที่ใช้ชื่อเฉพาะเรื่องที่วิจัย ซึ่งไม่ใชเ่ ปน็ คำ หรือวลีที่มีความหมายทีค่ นทั่วไปรูค้ วามหมายดีอยูแ่ ล้ว หรือเปน็ คำ-วลีทีไ่ ม่ใช่เป็นทีเ่ ข้าใจกนั ทวั่ ไป หรือเป็นคำวลที ต่ี อ้ งการให้มคี วามหมายเฉพาะ (๒) การลำดับความทีต่ ้องการอธิบาย ควรเริม่ จากภาพรวมทส่ี ะท้อนถงึ หัวข้อเรอื่ งท่ีวจิ ยั หรือเรม่ิ จากแนวคิด ทฤษฎี ทเี่ ปน็ การอธบิ ายตัวแปรตามเปน็ การเขยี นศึกษาแบบอนุมาน (deductive approach) (๓) แนวคิด ทฤษฎีอธิบายเกย่ี วกับตัวแปรอิสระหรือตวั แปรเหตุ โดยเรมิ่ จากตวั แปรทห่ี น่ึง สอง และสามตามลำดบั การลำดบั ความจะบง่ ชเ้ี ป็นนัยใหเ้ ห็นความสมั พนั ธ์ระหวา่ งตัวแปรอสิ ระและตวั แปรตาม (๔) งานวิจัยที่เกีย่ วขอ้ ง เป็นงานวิจยั ทม่ี ีผวู้ ิจยั ท่เี กยี่ วข้องกบั หวั ข้อวิจยั เร่ือง ไว้แลว้ ท่ีอธิบายหรือ บ่งชคี้ วามสัมพันธร์ ะหว่างตวั แปรอิสระและตวั แปรตามของผลการวจิ ยั อาจตรงท้งั หมดหรือบางสว่ น แต่ส่วนท่ี ต่างกนั คอื ประชากรและพืน้ ทศ่ี ึกษา๑๔

๓.๕ เทคนิคและรูปแบบการเขียนทบทวนวรรณกรรม

๓.๕.๑ เทคนิคและรปู แบบการเขยี นทบทวนวรรณกรรม รูปแบบการเขยี นทบทวนวรรณกรรมไดร้ บั การพฒั นามาควบคู่กบั ระเบยี บวธิ ีวิจัยที่หลากหลายขึ้น ทำให้เขยี นทบทวนวรรณกรรมเร่มิ มรี ูปแบบท่หี ลากหลาย สชุ าติ ประสิทธิร์ ัฐสนิ ธ์ ได้นำเสนอรปู แบบการเขียน ทบทวนวรรณกรรมไว้ ๕ ประเภท ไดแ้ ก่ การทบทวนวรรณกรรมแบบดั้งเดมิ (Traditional literature review) การทบทวนวรรณกรรมเชิงระบบ (Systematic review) การทบทวนวรรณกรรมแบบวิเคราะห์เมธี (Meta-

๑๔ประเวศน์ มหารัตนส์ กุล, หลักการและวธิ กี ารเขียนงานวิจัย งานวิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์, หน้า ๑๓๗-๑๓๘.

๗๖ Advanced Research Methodology on Peace analysis) การทบทวนวรรณกรรมแบบสังเคราะห์เมธี (Meta-synthesis) และท้ายสดุ การทบทวนวรรณกรรม แบบเชงิ บูรณาการบอกเลา่ (Narrative integrated literature review)

(๑) การทบทวนวรรณกรรมแบบดั้งเดิม หรือแบบพรรณนาความ(Traditional or narrative literature review) มีลักษณะที่สำคัญ คือ การนำวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องมาวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็งในเชิง เปรียบเทียบกับวรรณกรรมชิ้นอื่นๆ และทำการสังเคราะห์วรรณกรรมเหล่านั้นไว้ด้วยกัน เป็นการทบทวน วรรณกรรมเพือ่ นำมาสรปุ ระบชุ ่องว่างของความรู้ (Knowledge gap) หรอื ความขดั แยง้ หรอื ความไมส่ อดคล้อง ขององค์ความรู้ โดยชี้ให้เห็นว่างานวิจัยที่จะศึกษาสามารถช่วยอุดช่องว่าง หรือให้ข้อยุติเกี่ยวกับความไม่ สอดคล้องของความรู้ได้อย่างไร การทบทวนลักษณะนี้จะทำได้ดีก็ต่อเมื่อผู้ทบทวนมีปัญหาการวิจัยและมี เป้าหมายของการทบทวนวรรณกรรมที่ชัดเจน ลักษณะวลีการเขียนการทบทวนแบบนี้ที่นิยมใช้กันมากคือ “สอดคลอ้ ง” “มคี วามเห็นคล้ายกัน” “อยา่ งเดียวกันกบั ” ทั้งน้ีผูศ้ ึกษาควรเพม่ิ เน้ือหาวิเคราะห์ความเหน็ และ/ หรือ แสดงให้เห็นชอ่ งว่างของความรู้ หรือ ความขดั แย้งกัน หรือ ความแตกตา่ งกนั ในมมุ มองของผู้ศกึ ษาทำให้ การทบทวนวรรณกรรมนนั้ มีคณุ ค่าในทางวชิ าการ

(๒) การทบทวนวรรณกรรมเชิงระบบ (Systematic literature review) เป็นการทบทวน

วรรณกรรมทกี่ ำลงั เปน็ ท่ีนยิ มมากที่สดุ ในปจั จุบนั เพราะเป็นแนวทาง ทีเ่ ข้มงวด และจริงจังมากกว่า

การทบทวนวรรณกรรมแบบอื่น และ มีการนิยามกิจกรรมต่างๆ ที่ต้องทำไว้อย่างชัดเจน ว่าจะต้องทำอะไร

อย่างไร โดยละเอยี ดทกุ ขัน้ ตอน จดุ เดน่ ของการทบทวนวรรณกรรมเชงิ ระบบ คือ มีความสมบรู ณแ์ บบเบ็ดเสรจ็

หางานวิจัยได้จากไหนบ้าง

แหล่งข้อมูลการวิจัย (Research Sources).

คลังสถาบัน มศว (SWU IR).

ฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์กลางของประเทศไทย (THAIJO).

ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ในประเทศไทย (TDC) [นอกเครือข่าย-เชื่อมต่อSWUVPN]​​​​​​​.

วารสารอิเล็กทรอนิกส์ มศว (SWU e-Journals).

เว็บไซต์การศึกษาของประเทศไทย.

ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI).