Wondershare filmora ต ว เต ม โหลด ฟร

คือ โปรแกรมตัดต่อวีดีโอมากความ สามารถ ตัวโปรแกรมมีหน้ าตา โปรแกรมทีเรียบง่าย สวยงามน่ าใช้ งาน โปรแกรมนี เปนโปรแกรมตัดต่อ วีดีโอทีใช้งานง่าย มีโหมดการใช้งาน ให้เลือกใช้ด้วยกันทังหมด 4 ระดับ ไม่มีลายนา และโหลดใช้งานฟรี

ข้อดี 1 . มี ห ล า ย โ ห ม ด ก า ร ใ ช ้ง า น ใ ห้ เ ลื อ ก ต า ม ความเหมาะสม 2.เครืองมือต่างๆ ดูใช้งานง่ายกว่า โปรแกรมตัดต่ออืนๆ 3.เชือมต่อกับโซเชียลทังดึงรู ปและแชร์ได้ 4.ไฟล์โปรแกรมมีขนาดเล็ก 5.โปรแกรมมีทัง UI และสี สั นทีสวยงาม 6.ตัวทดลองใช้งานได้เต็มรู ปแบบไม่มีกัก

วธิ กี ารติดตังและ ดาวน์โหลด Wondershare Filmora x

ทาํ การดาวน์โหลด ทาํ การเข้ า โฟลเดอร์ ทีทาํ การแตกไฟล์ พร้อมแตกไฟล์จะได้โฟลเดอร์ตามภาพ

หลักจากเข้าโฟลเดอร์ เลือก _INSTALL คลิกขวา RUN AS

ไปที FILMORA 10.0.0.91 เลือก STRANDARD จากนั นกด NEXT>

หลังจากกด NEXT เลือก CONTINUE จากนั นกด NEXT>

หลังจากกด NEXT เลือกตาํ แหน่ ง จัดเก็บไฟล์ NEXT>

หลังจากกด NEXT กด DON'T หากไม่ ต้องการให้ โปรแกรมแสดง อยู่ START MENU NEXT>

หลังจากกด NEXT การเลือกลักษณะ การทาํ งานสามารถทาํ ตามนี ได้เลย (เลือกรู ปแบบเบืองต้น) จากนั นกด NEXT>

1. เลอื กแท็บ Insert เลือกรูปแบบท่ีตอ้ งการในสว่ นของ Layouts (จากตวั อย่าง เราเลือกรปู แบบ อันแรกสดุ )

2. เมอ่ื เลือกรปู แบบเสร็จแลว้ ดาเนนิ การแทรกเนื้อหาได้เลยโดยแทรกภาพโดยคลกิ ท่เี คร่ืองหมายบวก(+) 2.1 ถา้ รูปของเราอย่ใู นเครือ่ งคอมพิวเตอร์ เลอื กท่ี Upload 2.2 ถ้ารูปของเราอยู่ในทีอ่ ื่นๆ เช่น Facebook Instagram หรืออื่น ๆ ที่ออนไลน์อยู่แล้ว เลือก

ที่ Select image ถา้ รูปของเราอยู่ใน Google Drive เลอื กท่ี From Drive

3. จะได้รูปแบบของเนื้อหาที่สวยงาม โดยเราสามารถทาตามขั้นตอนนี้ไปเรื่อย ๆ เพื่อเพิ่มเนื้อหา ใหก้ ับเวบ็ ไซตข์ องเรา โดยเปล่ยี นรปู แบบการจดั วางเนอื้ หาเป็นแบบอน่ื

15 การเปล่ียนสพี น้ื หลงั ให้กับเน้ือหา ที่ด้านซ้ายของเนื้อหา เมื่อนาเมาส์ไปชี้จะมีไอคอนข้ึนมา 3 ช้ินคือ

1. รปู จานสี ใชส้ าหรบั เปล่ียนสพี ื้นหลังของเนอ้ื หา 2. รูปกระดาษซ้อนกัน ใช้สาหรับคัดลอกรูปแบบของเนื้อหาไปใช้ซ้า เช่น ถ้าต้องการเขียนเนื้อหา ทม่ี ีรูปแบบเดยี วกัน สีเดียวกัน 3. ถงั ขยะ ใชส้ าหรับลบเน้อื หาออกจากเว็บไซต์

การแทรกลิงก์ (Insert link)

การแทรกสามารถทาได้ทั้งตัวอักษร และรูปภาพ มีขั้นตอนดังน้ี เลือกตัวอักษร หรือข้อความ หรือ รปู ภาพ คลิกทีป่ มุ่ Insert link (รูปโซ่) นา URL ที่เราต้องลิงก์ไปมาใส่ เสร็จแล้วคลกิ ท่ีปมุ่ Apply

การเผยแพร่เว็บไซต์ (website) คลกิ ทีป่ มุ่ Publish ตง้ั ชอ่ื URL ของเวบ็ ไซต์ เสร็จแลว้ คลิกท่ปี มุ่ Publish อีกครั้ง

การใช้กเู กิลสไลด์ (Google Slide) เพอื่ นาเสนอ ความหมายของการนาเสนอขอ้ มลู

การนาเสนอข้อมูล หมายถึง กระบวนการ วิธีการการสื่อสารเพื่อเสนอข้อมูล ความรู้ ความคิดเหน็ หรือ ความต้องการไปสู่ผู้รับสาร โดยใช้เทคนิคหรือวิธีการต่าง ๆ อันจะทาให้บรรลุผลสาเร็จตาม จุดมุง่ หมายของการนาเสนอ จดุ ม่งุ หมายในการนาเสนอ

1. เพือ่ ใหผ้ ู้รบั สาร รับทราบความคดิ เห็นหรือความต้องการ 2. เพอ่ื ใหผ้ ้รู บั สารพจิ ารณาเรอ่ื งใดเร่อื งหนึ่ง 3. เพื่อใหผ้ รู้ ับสารไดร้ บั ความรู้จากข้อมูลทน่ี าเสนอ เช่น ในการฝกึ อบรมหรอื การสมั มนา ใช้ในการบรรยาย สรปุ ผลการดาเนินงานตา่ งๆ 4. เพ่อื ใหผ้ ู้รบั สารเกดิ ความเขา้ ใจทถ่ี ูกต้อง การใช้ กเู กลิ สไลด์ (Google Slide) เพื่อนาเสนอ 1. สมัครใชง้ าน Gmail 2. เขา้ เว็บไซต์ drive.google.com 3. การเรม่ิ สร้างงานนาเสนอ สามารถทาไดโ้ ดย คลิกท่ปี มุ่ New เลือก Google Slides

4. การตั้งชือ่ งานนาเสนอ สามารถทาได้ตามภาพ

17 5. การเลือกรูปแบบของงานนาเสนอ โดยเข้าไปทีเ่ มนู Slide เลือก Change theme แล้วเลือก รปู แบบทช่ี อบในทีน่ ้ีขอเลือกเป็น Meterial

6. การสรา้ งแผน่ งานเพิม่ คลิกขวาทแี่ ผ่นงาน แลว้ เลอื ก New Slide

7. การคัดลอกแผน่ งานทเี่ ราจดั ไว้แล้ว คลิกขวาทแ่ี ผ่นงาน แลว้ เลือก Duplicate Slide

18

8. การใชง้ านแผงเคร่ืองมอื หลัก

8.1 สรา้ ง Slide เพ่มิ 8.2 ยอ้ นกลับ 8.3 ยกเลิกการยอ้ นกลับ 8.4 สงั่ พมิ พอ์ อกทางเครอื่ งพิมพ์ 8.5 ลา้ งการตั้งค่า 8.6 ขยายหน้าจอ ลดขนาดหน้าจอ 8.7 ตวั เลือกการช้ี 8.8 สรา้ งกลอ่ งขอ้ ความ 8.9 แทรกรปู ภาพ 8.10 แทรกรูปรา่ ง 8.11 แทรกเส้น 8.12 แทรกภาพพ้นื หลงั 8.13 จดั รปู แบบแผ่นงาน 8.14 เลอื กรูปแบบแผ่นงาน 8.15 กาหนดการเคลือ่ นไหว 9. การเรยี กดูงานนาเสนอ สามารถคลกิ ไดท้ ี่ป่มุ “Present”

เรื่องที่ 04 อปุ กรณ์ (accessories)

อุปกรณ์(accessories) ที่จะกล่าวถึงในส่วนที่ 04 นี้ อาจจะมีทั้งอุปกรณ์ที่จาเป็น และอุปกรณ์ ทเี่ สรมิ ศกั ยภาพผลงานใหด้ เี ยย่ี ม ดงั นน้ั คณุ ครไู ม่จาเปน็ ต้องมีอปุ กรณ์ทุกชิ้นท่ีกลา่ วมาก็ได้ โดยแบง่ ออกเปน็ หมวดหมดู่ งั น้ี

1. อปุ กรณ์(accessories) สาหรบั ตัดต่อคลิปวดิ ีโอ / สร้างสื่อ

คอมพิวเตอร์ PC/ โน้ตบุ๊ก (Notebook) แท็บเล็ต (Tablet) และสมาร์ทโฟน (Smart phone) ใช้สาหรับสร้างไฟล์นาเสนอ เปิดไฟล์นาเสนอ บันทึกภาพหน้าจอขณะนาเสนอ บันทึกเสียง ตัดต่อคลิป วิดโี อ (Video) และนาคลิปวดิ โี อ (Video) ขน้ึ สู่ ยทู ูป YouTube

2. อปุ กรณ์(accessories)สาหรับบนั ทึกวดิ โี อ (Video)

ในกรณีที่คุณครูต้องการบันทึกวิดีโอ (Video) แค่หน้าจออุปกรณ์ เสียง พร้อมเปิดสื่อครูอาจใช้ แค่คอมพิวเตอร์ (Computer PC/โน้ตบุ๊ก (Notebook) แท็บเล็ต (Tablet) และสมาร์ทโฟน (Smartphone) เปิดสื่อแล้วใช้โปรแกรมบันทึกวิดีโอ (Video) หน้าจอทาการบันทึกวิดีโอ (Video) กเ็ พียงพอแลว้

จากกรณีด้านบน แต่ครูต้องการได้เสียงที่คมชัดขึ้น สามารถต่อไมโครโฟนเพิ่มเข้าไปได้ หรือถ้า ต้องการได้ภาพวิดีโอ (Video) ที่คมชัดขึ้น สามารถต่อกล้อง Webcam เพิ่มเติมได้ หรืออาจจะใช้กล้อง ถ่ายภาพจริง ๆ ต่อเข้า กับการ์ดแปลงสัญญาณ แล้วต่อเข้าคอมพิวเตอร์ (Computer) ก็จะได้ภาพวิดีโอ (Video) ที่มีคณุ ภาพเพิ่มขน้ึ ไปอีก

ในกรณีที่คุณครูต้องการถ่ายวิดีโอ (Video) ตนเองพร้อมเสียง ครูสามารถใช้กล้องบันทึกวิดีโอ (Video) ตั้งบนขาตั้งกล้องแล้วถ่ายได้เลย หรืออาจจะใช้สมาร์ทโฟน (Smart phone) ตั้งบนขาตั้งกล้อง แลว้ ถา่ ยกไ็ ดเ้ หมือนกนั

19 3. โปรแกรมสาหรับบันทึกวิดีโอ (Video) โปรแกรมสาหรับบันทึกวิดีโอ (Video) หน้าคอมพิวเตอร์ (Computer PC ) โนต้ บุ๊ก (Notebook) ได้แก่

โปรแกรมสาหรับบันทกึ วดิ ีโอ (Video) OBS Studio

โปรแกรมสาหรบั บันทกึ วิดีโอ (Video) Camtasia Studio

โปรแกรมสาหรบั บันทึกวดิ โี อ (Video) Loom

โปรแกรมสาหรบั บันทึกวดิ ีโอ (Video) Wondershare Filmora Scrn

โปรแกรมสาหรับบันทกึ วิดโี อ (Video) หน้าจอแทบ็ เลต็ /สมาร์ทโฟนแอนดรอยด์ ไดแ้ ก่ AZ Screen Recorder โปรแกรมสาหรับบันทึกวิดีโอ (Video หน้าจอแท็บเล็ต/สมาร์ทโฟนไอโอเอส ได้แก่ Screen Recording 4. โปรแกรม(Program)สาหรับตัดต่อ วิดีโอในคอมพิวเตอร์ (Computer/PC ) โน้ตบุ๊ก (Notebook) ไดแ้ ก่

. โปรแกรม(Program)สาหรับตัดตอ่ วดิ โี อ Adobe Premiere

20

- .

โปรแกรม(Program)สาหรับตดั ตอ่ วิดโี อ Sony Vegas

. โปรแกรม(Program)สาหรับตัดต่อ วิดโี อ Wondershare Filmora . โปรแกรม(Program)สาหรับตดั ตอ่ วิดีโอ Final Cut (สาหรบั Mac OSX) . โปรแกรม(Program)สาหรับตัดตอ่ วิดีโอ Davinci Resolve . โปรแกรม(Program)สาหรบั ตดั ตอ่ วดิ ีโอ และ iMovie (สาหรบั Mac OSX, iOS และ iPad OS)

เรอื่ งท่ี 05 การใช้โปรแกรม (Program) การใช้งานโปรแกรม(Program) Wondershare Filmora

การใช้งานโปรแกรม (Program) iMovie

การใชง้ านโปรแกรม (Program) Wondershare Filmora Scrn

การใช้งานโปรแกรม (Program) AZ Screen Recorder

การใช้งานโปรแกรม (Program)Screen Recording

ความรเู้ บอ้ื งตน้ เก่ยี วกับวิดโี อ (Video)

วิดีโอ (Video) เป็นองค์ประกอบของมัลติมีเดียที่มีความสาคัญเป็นอย่างมากเนื่องจากวิดีโอ (Video) ในระบบดจิ ติ อลสามารถนาเสนอขอ้ ความหรอื รปู ภาพ (ภาพนงิ่ หรือภาพเคลอ่ื นไหว)ประกอบกับ เสียงได้สมบูรณ์มากกว่าองค์ประกอบชนิดอื่น ๆ อย่างไรก็ตาม ปัญหาหลักของการใช้วิดีโอ (Video) ในระบบมัลติมีเดีย (Multimedia System)ก็คือการสิ้นเปลืองทรัพยากรของพื้นที่บนหน่วยความจา จานวนมาก เนื่องจากการนาเสนอวิดีโอจะต้องประกอบด้วยจานวนภาพไม่ต่ากว่า 30 ภาพต่อวินาที (Frame/Second) ถ้าหากการประมวลผลภาพดังกล่าวไม่ได้ผ่านกระบวนการบีบอัดขนาดของสัญญาณ มาก่อน การนาเสนอภาพเพียง 1 นาที อาจต้องใช้หน่วยความจามากกว่า 100 MB ซึ่งจะทาให้ไฟล์ มีขนาดใหญ่เกินขนาดและมีประสิทธิภาพในการทางานที่ด้อยลง ซึ่งเมื่อมีการพัฒนาเทคโนโลยี ที่สามารถบีบอัดขนาดของภาพอย่างต่อเนื่องจนทาให้ภาพวิดีโอ (Video) สามารถทางานได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ มากยิง่ ข้นึ และกลายเป็นสอื่ ทีม่ บี ทบาทสาคัญตอ่ ระบบมลั ติมีเดยี (Multimedia System)

การตัดภาพยนตร์ คอื การลาดับภาพจากภาพยนตร์ท่ีถ่ายทาไว้โดยนาแตล่ ะฉากมาเรียงกันตามโครงเร่ือง Storyboard จากน้นั ใชเ้ ทคนิคการตดั ตอ่ ทาให้ภาพและเสียงมคี วามสัมพันธท์ ี่ต่อเนอื่ งกนั ทาใหไ้ ด้ภาพยนตรท์ ีส่ ือ่ สาร เร่ืองราวทตี่ อ่ เนื่องและสมบูรณ์ ถอื ไดว้ า่ การตดั ตอ่ ภาพยนตร์ เป็นข้ันตอนสาคัญอยา่ งหนึง่ ของการสรา้ ง ภาพยนตร์ก่อนการนาไปเผยแพร่ ชนิดของวดิ โี อ (Video) วดิ โี อ (Video) ทใี่ ช้งานอยู่ในปจั จุบันสามารถแบง่ ได้เป็น 2 ชนิดคอื 1. วดิ โี ออนาล็อก (Analog Video) เปน็ วดิ ีโอท่ที าการบนั ทกึ ข้อมลู ภาพและเสียงใหอ้ ยใู่ นรูปของ สัญญาณอนาลอ็ ก(รูปของคลนื่ ) สาหรับวดิ ีโอประเภทนี้ เช่น VHS (Video Home System) ซ่ึงเป็นมว้ น เทปวดิ โี อ (Video) ท่ีใชด้ กู ันในสมยั กอ่ น เม่อื ทาการตดั ตอ่ ขอ้ มูลของวิดีโอชนิดน้ี อาจจะทาใหค้ ณุ ภาพลด นอ้ ยลง 2. วิดีโอดิจิตอล (Digital Video) เป็นวิดีโอที่ทาการบันทึกข้อมูลภาพและเสียงที่ได้มาจากกล้อง ดิจิตอล ให้อยู่ในรูปของสัญญาณดิจิตอล คือ 0 กับ 1 ส่วนการตัดต่อข้อมูลของภาพและเสียงที่ได้ มาจากวิดีโอดิจิตอล (Digital Video) นั้น จะแตกต่างจากวิดีโออนาล็อก (Analog video) เพราะข้อมูล ที่ได้จะยังคงคุณภาพความคมชัดเหมือนกับข้อมูลต้นฉบับ การพัฒนาของวิดีโอดิจิตอลส่งผลให้วิดีโอ อนาล็อก (Analog video) ได้จางหายไปจากวงการมลั ติมเี ดยี

23

มาตรฐานการแพรภ่ าพวดิ โี อ (Video) มาตรฐานการแพรภ่ าพทง้ั สาม ไดแ้ ก่ NTSC, PAL และ SECAM เป็นมาตรฐานท่นี ิยมใช้กันในหลาย

พื้นที่ทั่วโลก และได้มีการพัฒนามาตรฐานใหม่ขึ้นมา เรียกว่า “HDTV (High-Definition Television” ทาให้ผผู้ ลิตมัลตมิ เี ดยี จาเปน็ ท่จี ะตอ้ งทราบถึงมาตรฐานท่ใี ช้งานในแตล่ ะพน้ื ทอ่ี ย่างเหมาะสมดังน้ี

1. National Television System Committee (NTSC) เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบในการต้ัง มาตรฐาน ที่เกี่ยวกับโทรทัศน์และวิดีโอในสหรัฐ มาตรฐานนี้เป็นการเข้ารหัสข้อมูลแบบสัญญาณ อิเลก็ ทรอนิกสก์ าหนดให้สรา้ งภาพดว้ ยเส้นในแนวนอน 525 เส้นตอ่ เฟรม ในอัตรา 30 เฟรมตอ่ วินาที มีสี 16 ล้านสีที่แตกต่างกันและอัตรารีเฟรช เป็น 60 Halt-Frame (Interlace) ต่อวินาที แต่บนจอภาพ คอมพวิ เตอรน์ น้ั จะใชว้ ธิ ีการทเี่ รยี กว่า“Progressive-Scan” ซ่งึ มีความแตกต่างจากจอภาพโทรทัศน์ตรงท่ี สามารถสรา้ งภาพเปน็ แบบเฟรมต่อเฟรม โดยไม่มีการ Interlacing

2. Phase Alternate Line (PAL) เป็นมาตรฐานของโทรทัศน์และวิดีโอที่นิยมในแถบยุโรปรวมถึง ไทยด้วย เป็นการสร้างภาพจากแนวนอน 625 เส้นต่อเฟรม ในอัตรา 25 เฟรมต่อวินาทีและทาการแสดง ภาพด้วยวิธี Interlacing เช่นกันแตจ่ ะแสดงภาพในอัตรารีเฟรช เป็น 50 Halt-Frame ต่อนาที

3. Sequential Color and Memory (SECAM) เปน็ มาตรฐานของการแพรส่ ัญญาณโทรทศั นแ์ ละ วิดีโอ (Video) ที่ใช้กันในฝรั่งเศส ยุโรปตะวันออก ตะวันออกกลาง และประเทศในพื้นที่ใกล้เคียงทาการ แพรส่ ญั ญาณแบบอนาล็อก สว่ นการสร้างภาพจะเปน็ 819 เสน้ ดว้ ยอัตรารีเฟรช 25 เฟรมต่อวนิ าที ซึง่ จะ แตกต่าง จากมาตรฐาน NTCS และ PAL ในเรื่องการผลิต วิธีการแพร่ภาพออกอากาศ และจากสาเหตุท่ี ระบบนี้ ไม่แตกตา่ งจากระบบ PAL มากนักเครื่องรับโทรทัศนใ์ นยุโรปจึงทาการพฒั นาใหส้ ามารถใช้งานได้ ท้ังระบบ PALและ SECAM

4. High-Definition Television (HDTV) เป็นเทคโนโลยีของการแพร่ภาพโทรทัศน์ที่ถูกพัฒนา ขึ้นมาเพื่อแสดงภาพที่มีความละเอียดสูง คือ 1280x720 ซึ่งเป็นความละเอียดสาหรับการแสดงภาพ เช่นเดียวกับโรงภาพยนต์ แต่ในขณะพัฒนานั้นได้มีการโต้เถียงกันระหว่างกลุ่มอุตสาหกรรมโทรทัศน์ กับกลุ่มอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ ว่าจะใช้ความละเอียดจอภาพเป็น 1920x1080 พิกเซล หลังจากน้ัน สรุปได้ว่า ความละเอียดนี้ ไม่เหมาะสม ดังนั้นมาตรฐาน HDTV จึงได้กาหนดให้มีความละเอียดของ จอภาพเป็น 1280x720 การผลติ วดิ โี อ(Video)

1. การวางแผน เป็นการกาหนดเร่ืองราวที่จะถ่ายทาว่าต้องการถ่ายทาสิ่งใด และกาหนดความยาว ของเรื่องเพื่อทจี่ ะไดเ้ ตรยี มอุปกรณ์ต่าง ๆ ใหพ้ รอ้ ม

2. การถ่ายทา เป็นการบนั ทึกภาพเคล่ือนไหว ภาพนิ่งหรือเหตุการณ์สาคญั ตา่ ง ๆ ที่ผู้ผลิตต้องการ จะถา่ ยทาเพือ่ จะได้นาขอ้ มูลนนั้ เกบ็ ไว้

3. การตัดตอ่ เป็นการนาไฟล์หลาย ๆ ไฟล์ที่จัดเกบ็ อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอรม์ าเรียงต่อกนั โดยทา การเลือกภาพและเสียงที่ต้องการ จากนั้นจึงทาการตกแต่งภาพ โดยการเพิ่มเติมข้อมูลต่าง ๆ เช่น สีสัน ความสวยงาม ข้อความ เพิ่มความเร็วหรือลดความเร็วในการแสดงภาพเคลื่อนไหว หรือจะทาการ ปรับเปลีย่ นความยาวของขอ้ มลู ก็ได้

24 4. การจัดทาสื่อประสม เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จาการตัดต่อวิดีโอด้วยเค รื่องคอมพิวเตอร์ โดยนาผลิตภัณฑ์ที่ได้มาทาการเก็บบันทึกให้อยู่ในรูปของไฟล์ต่าง ๆ เช่น ไฟล์วิดีโอ หรือแผ่นดีวีดี ซ่ึงเปน็ สือ่ ท่นี ิยมมากในปัจจุบนั เพือ่ จะได้เก็บผลิตภณั ฑต์ า่ ง ๆ เหลา่ นั้นไว้ หรอื นาออกมาเพอ่ื เผยแพร่ ขน้ั ตอนการสร้างภาพยนตร์ ในการจะสร้างภาพยนตร์แตล่ ะเรอ่ื งหรือสรา้ งรายการดี ๆ สกั รายการหนงึ่ จะตอ้ งผ่านกระบวนการ มากมายจนกวา่ จะมาเป็นภาพยนตรท์ ฉี่ ายออกสสู่ ายตาผชู้ ม ซ่ึงสามารถแบ่งข้นั ตอนที่เป็นมาตรฐานสากล ตามวธิ ีการทางานเป็น 3 ขั้นตอนหลกั ได้แก่

1. Pre – Production (การเตรยี มงานถา่ ย) เป็นขั้นตอนการเตรียมงานสร้างภาพยนตร์ ซึ่งถือเป็นขั้นตอนเริ่มต้นที่สาคัญ เรียกได้ว่าเป็น

การวางแผนการทางานทั้งเรื่อง รวมทั้งการวางตัวผู้ทางานและประสานงานทั้งหมด โดยส่วนใหญ่แล้ว จะมลี าดับ ดังนี้

1.1. คดั เลอื กบทภาพยนตร์ รวมไปถึงการคิดบทใหมห่ รือไปเลอื กบทที่มอี ยูแ่ ล้วมาใช้งานโดยบทท่ี ไดจ้ ะเป็นรูปแบบบรรยาย มีบทพดู มีการบรรยายฉากตา่ ง ๆ ซ่งึ เราเรยี กบทภาพยนตร์นวี้ า่ “screenplay”

1.2. ปรบั ให้เป็นบทสาหรับถ่ายทาเป็นการนาบทมาตียอ่ ยลงไปโดยระบใุ หบ้ ทถกู แยกออกเปน็ ฉาก ๆ ใส่รายละเอยี ดเรอื่ งมุมกล้องและการเคล่อื นท่ขี องกล้องขนาดภาพในการถ่ายทา

1.3. จดั ทา Storyboard ในส่วนนีจ้ ะเป็นการแปลงรายละเอยี ดจากตวั หนงั สือเปน็ ภาพรา่ ง เพ่อื มองใหช้ ัดขึ้นว่าแต่ละฉากมลี ักษณะอยา่ งไร เพอื่ ความรวดเรว็ ในข้นั ตอนการถา่ ยทา

1.4. วางตารางการถา่ ยทา สาหรับข้ันตอนน้ีถอื วา่ สาคญั มาก เพราะถอื เปน็ ขั้นตอนสดุ ทา้ ยทีจ่ ะ รวบรวม ทัง้ บท ฉาก นกั แสดง ทมี งาน ช่วงเวลาถา่ ยทา ไวด้ ้วยกัน

25

2. Production (การถา่ ยทา) เปน็ ข้นั ตอนการถา่ ยทาภาพยนตร์เป็นฉาก กลา่ วคอื เปน็ การถ่ายทาตามตารางการถา่ ยทา ในแตล่ ะ

ช่วงของบท 3. Post – Production (ช่วงเก็บรายละเอียด - ตดั ตอ่ )

เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการสร้างภาพยนตร์ เป็นการนาผลงานการถ่ายทาแต่ละช็อตมาตัดต่อให้ มีความต่อเนื่องกันตาม Storyboard และทาการปรับแต่งภาพด้วยเอฟเฟกต์ต่าง ๆ การเพิ่มข้อความ การแต่งสีสันให้ภาพวิดีโอ ตลอดจนการใส่เสียงประกอบ การสร้างความต่อเนื่องของฉาก จนถึงขั้นตอน การแปลงเน้อื งานออกสู่สายตาผู้ชมโดยขัน้ ตอนเหลา่ นจ้ี ะทาในโปรแกรมตดั ตอ่ ภาพยนตรท์ ัง้ หมด

การบบี อัดวิดโี อ (Video)

เป็นการจัดเก็บข้อมูลภาพและเสียงของไฟล์ต้นฉบับให้มีขนาดลดน้อยลง แต่ยังคงมีปริมาณของ ข้อมูลเท่าเดิม แต่ก็เป็นท่ีทราบกันดีแล้วว่าไฟล์อาจจะมีคุณภาพลดน้อยลงไปตามขนาดที่บีบอัด แต่เนื่องจากการบีบอดั ขอ้ มลู มีประโยชน์เปน็ อย่างมากจงึ ทาใหม้ ีการพฒั นาตอ่ มาเรอ่ื ย ๆ ซง่ึ สามารถแสดง ได้ดงั ต่อไปน้ี

1. CODEC: เปน็ เทคโนโลยกี ารบีบอัดและการคลายข้อมลู ซงึ่ สามารถนาไปใชก้ บั ซอฟต์แวร์และ ฮารด์ แวร์ หรืออยา่ งใดอยา่ งหน่งึ ก็ไดโ้ ดยส่วนมาก CODEC จะนิยมใชก้ ันในการบบี อัดแบบ MPEG,Indeo และ Cinepak

2. MPEG: (Moving Picture Experts Group) เปน็ มาตรฐานการบีบอัดสญั ญาณภาพและเสยี ง โดยใช้ระบบ DCT ซ่ึงเป็นระบบท่ใี ชก้ ับระบบวดี โี อ คุณภาพสงู ท่วั ไปจะมีความคลา้ ยคลงึ กบั การบบี อดั ขอ้ มลู แบบ JPEG แต่จะลดจานวนขอ้ มลู ท่ีซ้ากันของภาพตอ่ ไปด้วยการบีบอัดขอ้ มลู แบบ MPEG น้เี ป็น แบบไมส่ มมาตร เนือ่ งจากขัน้ ตอนในการเขา้ รหัสสญั ญาณวิดีโอ นานกวา่ ขัน้ ตอนการถอดรหสั ขอ้ มูลโดย MPEG ได้ถกู พฒั นาข้ึน อย่างต่อเน่อื งดงั นี้

1. MPEG-1 ใช้กับวิดีโอ ที่ดูตามบ้าน เป็นที่รู้จักกันดีในชื่อ VHS ซึ่งไฟล์ที่ได้จากการบีบอัดข้อมูล แบบนี้สามารถใช้เครื่องเล่น CD ทั่วไป อ่านหรือเขียนข้อมูลได้ แต่ยังให้ภาพที่ค่อนข้างหยาบ สัญญาณสี แต่ละจุดไม่สามารถกาหนดเป็นสีที่ถูกต้องได้ ถ้าเป็นระบบที่ใช้อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ช่วยในการถอดรหัส จะ แสดงภาพทช่ี ัดเจนได้เตม็ จอภาพ แต่ถ้าใช้ซอฟต์แวรอ์ ย่างเดียวจะแสดงภาพท่ีชดั เจนไดเ้ พยี งครึง่ จอภาพ

2. MPEG-2 เพื่อใช้ในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ โดยเฉพาะการบีบอัดข้อมูลแบบนี้ก่อนที่ คอมพิวเตอร์จะคานวณผลเพื่อแทนค่าจุดสีต่าง ๆ ภาพจะถูกแบ่งออกเป็นส่วน ๆ และจะคานวณทีละ หลาย ๆ ภาพ เรยี กว่า “GOP (Group of Picture) “ซ่ึงเป็นการมองภาพครั้งละ 8-24 ภาพ โดยจะดูจาก ภาพที่หนึ่งของ GOP เป็นหลัก จากนั้นจะทาการเข้ารหัสภาพ แล้วมองภาพถัดไปว่ามีความแตกต่างจาก ภาพแรกที่จุดใด จากนั้นจะทาการเปรียบเทียบและเก็บเฉพาะที่แตกต่างของภาพไว้ในเฟรมนั้นส่วนภาพ ต่อไปก็ทาการเปรียบเทียบกับภาพติดกัน แล้วเก็บส่วนต่างไว้เช่นกัน ทาให้สามารถลดจานวนข้อมูลที่ ตอ้ งการเก็บและเกบ็ บนั ทึกข้อมูลที่ต้องการถอดรหัสได้

26

3. MPEG-3 เพอ่ื ใช้งานกบั โทรทศั น์ท่มี ีความคมชดั สูง หรอื เรยี กวา่ HDTV (High – Definition Television) เป็นโทรทศั นด์ จิ ิตอลชนดิ ใหมท่ ่ีใชใ้ นสหรัฐ แต่ไม่ได้นามาใช้งานเนอ่ื งจากไมป่ ระสบความสาเร็จ

4. MPEG-4 เปน็ มาตรฐานท่ีใกล้เคียงกบั Quick Time เพอ่ื ใชง้ านทางด้านมัลติมีเดียทมี่ ีแบนดว์ ดิ ท์ (Bandwidth) ต่า ซึ่งสามารถรวมภาพ เสียง และส่วนประกอบอื่นท่ีคอมพิวเตอร์สร้าง ขึ้นได้ ที่สาคัญ MPEG-4 ได้ถกู ออกแบบให้มีความสามารถในเชิงโต้ตอบกบั วัตถตุ า่ ง ๆ ในภาพได้

5. MPEG-7 เป็นตัวเชื่อมรายละเอียดเนื้อหามัลติมีเดียเข้าด้วยกัน (Multimedia Content Description Interface) โดยมีจุดหมายที่จะสร้างมาตรฐานการอธิบายข้อมูลข่าวสารของมัลติมีเดีย เพ่ือใชใ้ นการสนบั สนุนความหมายของขอ้ มูลข่าวสารต่าง ๆ บนส่ือ

รปู แบบของไฟล์วิดโี อ ใช้บนเว็ป

เป็นรปู แบบท่ใี ช้ในการบนั ทึกขอ้ มลู ภาพและเสยี งทสี่ ามารถนามาแสดงผลบนเว็บไดเ้ ลย มีหลาย รูปแบบ โดยมรี ายละเอียดดังตารางต่อไปน้ี

1. *.rm/ *.ra/ *.ram เปน็ ฟอร์แมตทพ่ี ัฒนาโดยบรษิ ัท RealNetwork นยิ มใช้นาเสนอขอ้ มูลไฟล์ ผ่านอินเตอรเ์ นต็ โดยใชโ้ ปรแกรม Real Player

2. *.MPEG2 / *.MPEG4 เปน็ ฟอร์แมตที่สามารถเปิดไดด้ ว้ ยโปรแกรม Windows Media Player 3. *.asf/ *.wmv เปน็ ฟอร์แมตท่คี ล้ายคลึงกบั *.MPEG2/ *.MPEG4 สามารถเปิดไฟล์ทัง้ สองได้ ดว้ ยโปรแกรม Windows Media Player เช่นกัน 4. *.viv เปน็ ฟอรแ์ มตทส่ี ามารถเปดิ ไฟลไ์ ดด้ ว้ ยโปรแกรม Vivo Active Player แตใ่ นปัจจุบันน้ไี ด้ เลกิ ใช้ไปแลว้ 5. *.mov เป็นฟอรแ์ มตท่ีพัฒนาโดยบริษัท Apple นิยมใช้นาเสนอข้อมลู ไฟลผ์ ่านอนิ เทอร์เน็ต โดยใชโ้ ปรแกรม Quick Time 6. *.avi (Audio / Video Interleave) เป็นฟอร์แมตทีพ่ ฒั นาโดยบริษัทไมโครซอฟต์เรียกว่า Video for Windows มีนามสกลุ เปน็ *.avi ปจั จบุ นั มโี ปรแกรมแสดงผลติดต้ังมาพรอ้ มกบั ชุด Microsoft Windows Window คือ Windows Media Player น่ันเอง

ความสาคัญ

การตัดตอ่ ลาดบั ภาพมคี วามสาคัญในส่วนท่ที าใหผ้ ู้ดเู ข้าใจเร่อื งราวท่ีนาเสนอและไดอ้ ารมณ์อยา่ ง ต่อเน่ืองตั้งแต่เริ่มต้นจนจบเร่อื ง

1. การดงึ ผู้ดใู ห้เข้าไปเก่ียวของและเป็นส่วนหนง่ึ กบั เหตุการณใ์ นเรื่องทาให้ผดู้ ูเกิดสภาพอารมณ์ ตามทีผ่ ตู้ ดั ตอ่ ต้องการ

2. การสรา้ งเรื่องราวอยา่ งต่อเนือ่ ง 3. การเชอ่ื มต่อภาพใหด้ ลู ืน่ ไหล 4. การแกไ้ ขจุดบกพร่องทีอ่ าจจะเกดิ มาจากการถา่ ยทา 5. การกาหนดเวลา หรอื การกาจัดเวลา

27 การใชง้ านโปรแกรม Wondershare Filmora

Filmora เป็นซอฟต์แวร์ตัดต่อวิดีโอที่เรียบง่ายและมีประสิทธิภาพสาหรับทั้ง Windows และ Mac มันมีคณุ สมบัตสิ าหรบั ทง้ั โปรแกรมตัดตอ่ วิดโี อแบบธรรมดาและมอื อาชพี

ในที่นี้ขอแนะนาโปรแกรมตัดต่อวิดีโอที่มีขนาดเล็ก ความสามารถครบ และใช้งานง่ายนั่นคือ โปรแกรม Wondershare Filmora มีขั้นตอนการใชง้ านดังน้ี

1. เปดิ โปรแกรม Wondershare Filmora

2. เลอื ก New Project

3. ลากเมาส์ดึงไฟล์วิดโี อที่บนั ทกึ ไว้มาใสใ่ นสว่ นวดิ ีโอ1

4. สามารถเล่นวิดีโอ หยุด และเล่ือนได้จากเมนคู วบคมุ วิดีโอ

28 5. ถ้าต้องการตัดวิดีโอส่วนไหนออก สามารถทาได้โดยเลื่อนเส้น TimeLine ไปยังจุดที่ต้องการ แลว้ คลกิ ที่ปุ่ม กรรไกร Split แล้วกดปมุ่ Delete เพื่อลบออกไดเ้ ลย 6. สามารถเพม่ิ ข้อความไดท้ เี่ มนู Titles

7. ในกรณีทีม่ หี ลายคลปิ สามารถใสส่ ่วนของรอยตอ่ วดิ โี อไดท้ ี่เมนู Transition

8. สามารถใสไ่ อคอน หรือสัญลกั ษณ์ตา่ งๆ ไดท้ เี่ มนู Element

9. เมื่อตดั ตอ่ วดิ โี อเสร็จแล้ว สามารถนาวิดีโอออกมาใชง้ านไดด้ ังน้ี

9.1 คลิกท่ปี ุ่ม Export 9.2 ต้งั ชื่อวดิ โี อในช่อง Name และเลือกสถานทีเ่ กบ็ ไฟลว์ ดิ โี อที่ช่อง Save to 9.3 คลกิ ที่ Settings เพื่อตง้ั ค่าวดิ ีโอ 9.4 เลอื กคลกิ ท่ี Frame Rate 30 fps 9.5 คลิกปมุ่ OK 9.6 คลิกปุม่ Export หลงั จากนี้กร็ อให้โปรแกรมทางานใหเ้ สร็จ

29 การใชง้ านแอพพลเิ คชัน iMovie

ไอมูฟว่ี iMovie เป็นแอพพลิเคชันหรือโปรแกรมซอฟต์แวร์ย่อย ในชุดซอฟต์แวร์ของไอไลฟ์ ที่ผลิตโดยบริษัท แอปเปิลซึ่งไว้ใช้ร่วมกับระบบปฏิบัติการ แมค โอเอส เอ็กซ์, ไอโอเอส และ แมคโอเอส เป็นโปรแกรม ซอฟต์แวร์ที่สาหรับการจัดการ, แก้ไขตัดต่อภาพยนตร์ โดยปัจจุบันได้พัฒนาถึงเวอร์ช่ันสาหรับไอโอเอส แล้ว วธิ ีการใช้งานมีดงั นี้ 1. ดาวน์โหลดโปรแกรมไดจ้ าก App Store พมิ พ์คาค้นว่า ไอมูฟว่ี iMovie 2. กดท่ีปมุ่ Get เพ่ือตดิ ตัง้ แอพพลเิ คชนั

3. เม่ือตดิ ตง้ั แอพพลิเคชนั เรียบรอ้ ยแล้ว เปดิ แอพพลิเคชัน iMovie ขน้ึ มา กดที่ Create Project

4. เลือกท่ี Movie

30 5. เมือ่ เขา้ มาแลว้ แอพพลิเคชันจะใหเ้ ราเลือกไฟล์ภาพ และวิดโี อ โดยสามารถเลอื กได้จากโฟลเดอร์ ดา้ นซา้ ยมอื แลว้ กดที่ภาพ หรอื วดิ ีโอท่ีตอ้ งการ เมื่อเลือกได้ครบแล้ว สามารถเพ่มิ เตมิ ไดห้ ลงั จากน้ี กดที่ Create Movie

6. เมื่อเลือกภาพและวิดีโอเข้ามาในแอพพลิเคชันแล้ว เราสามารถเลื่อนภาพและวิดีโอได้โดย การใชม้ ือกดแลว้ เลื่อนซา้ ย-ขวา และสามารถเริม่ เลน่ วิดโี อได้โดยการกดที่ปุ่ม Play

7. ในกรณีที่ใส่ภาพนิ่ง แอพจะใส่ transition มาให้อัตโนมัติ เราสามารถปิดได้โดยกดที่ภาพแล้ว จะมปี ุ่มใหก้ ดเพือ่ ปดิ

8. ในสว่ นเร่ิมต้น สามารถเพม่ิ Titles ได้โดยการกดที่ Timeline แลว้ เลือกป่มุ Titles

31 9. ในสว่ นของรอยตอ่ ระหวา่ งคลิปแอพพลิเคชันจะมีเอฟเฟคมาให้ โดนสามารถเปล่ยี นเป็นรูปแบบ อื่น ๆ ไดโ้ ดยกดทเ่ี อฟเฟคน้นั แลว้ เลอื กในรปู แบบทีต่ ้องการ

10. ในวิดีโอที่ใส่เข้าไป สามารถปรับแต่งได้ด้วยการกดที่วิดีโอที่ต้องการ หลังจากนั้นแอพ จะมเี ครอ่ื งมอื มาให้ดังน้ี

10.1 Actions : เครื่องมอื ทจี่ าเปน็ คือ Split ใช้สาหรบั ตดั วดิ ีโอในส่วนของเส้น Timeline ทบั อยู่ 10.2 Speed : ใชส้ าหรับเร่งความเรว็ ของวดิ โี อ หรอื ลดความเรว็

10.3 Volume : ใชส้ าหรบั เพ่มิ -ลด ระดบั เสียงของวดิ โี อ

32

10.4 Titles : ใช้สาหรบั แทรกขอ้ ความลงไปในคลิป

10.5 Filters : วดิ โี อทเ่ี ราแทรกลงไป สามารถเกรดสไี ดโ้ ดยการใส่ฟิลเตอร์

11. แทรกเสยี ง โดยการกดทป่ี ุ่มเคร่ืองหมายบวก + ขวามอื บน แลว้ เลือกแท็บ Audio โดยแอพ iMovie จะมีเสียงให้เราได้ใช้ฟรีเมื่อแทรกเสียงเข้ามาแล้วสามารถกดที่ Timeline เสียงเพื่อตัดหรือ ปรับเพิ่ม-ลด เสียงได้

12. จากข้อ 11 สามารถเลอื กแทบ็ Media เพื่อเพิ่มภาพ หรือวดิ โี อ เพ่มิ เตมิ ลงไปได้ 13. เมอ่ื ตดั ต่อวิดีโอเสร็จแล้ว กดปุม่ Done แล้วกดท่ีปมุ่ บันทึก

33 การใช้งานโปรแกรม Wondershare Filmora Scrn

Filmora เป็นซอฟต์แวร์ตัดต่อวิดีโอที่เรียบง่ายและมีประสิทธิภาพสาหรับทั้ง Windows และ Mac มันมคี ณุ สมบตั ิสาหรบั ทงั้ โปรแกรมตดั ต่อวิดโี อแบบธรรมดาและมืออาชีพ 1. เปดิ ส่อื ท่ีตอ้ งการนาเสนอ ในตวั อย่างใชส้ ือ่ คอื Microsoft PowerPoint

2. ตอ่ ไมโครโฟนเพ่ือความคมชดั ของเสยี ง 3. เปิดโปรแกรม Wondershare Filmora Scrn

4. ตง้ั ค่าโปรแกรม ดังน้ี

4.1. Save to : เลอื กสถานทจี่ ดั เก็บไฟล์วิดโี อท่บี นั ทกึ ได้ 4.2. Frame Rate : เลอื กความต่อเนือ่ งของไฟลว์ ิดโี อ ในทน่ี ี้แนะนาเป็น 30 fps 4.3. Quality : เลอื กความละเอียดของไฟลว์ ิดีโอ ในท่นี แ้ี นะนาตงั้ เป็น Best 4.4. คลกิ เลือกท่ี Camera เมื่อตอ้ งการใหเ้ ห็นหน้าของผู้บรรยาย 5. เม่ือเสร็จแลว้ คลิกทีป่ ุม่ บนั ทึก ปุ่มสแี ดง 6. คณุ ครูเริ่มบรรยาย หรอื สอน 7. เมอื่ บันทกึ วิดีโอเสร็จแลว้ สามารถหยดุ ไดโ้ ดยกดปุม่ F9

34

การใชง้ านโปรแกรม AZ Screen Recorder

1. ดาวน์โหลดแอพพลิเคช่ัน Application AZ Screen Recorder 2. สามารถเรมิ่ ตน้ ใช้งานด้วยการคลิกเลอื กทไ่ี อคอนแอพพลเิ คช่ัน Application AZ Screen Recorder

3. เมื่อเปิดแอพขึ้นมาแล้ว ตัวแอพจะมีไอคอนลอยอยู่ด้านข้างของหน้าจอ และเมื่อกดไปท่ีไอคอน จะมเี มนูขึน้ มา 4 เมนู ดงั น้ี

3.1 ป่มุ สาหรับการบนั ทกึ วดิ ีโอหน้าจอ 3.2 ปุ่มสาหรับดูวดิ ีโอหรือรปู ภาพ และการต้ังคา่ ตา่ ง ๆ

3.3 ปมุ่ ตัวเลือกเพม่ิ เตมิ ประกอบดว้ ย การถา่ ยภาพน่งิ หนา้ จอ, การเปดิ กลอ้ งหนา้ สาหรับ ผทู้ ตี่ ้องการบันทึกหนา้ จอพร้อมหน้าตวั เอง และ ปุ่มสาหรบั พูก่ ัน

3.4 ปมุ่ สาหรบั Live ออกไปยงั SocialMedia

4. เมื่อบนั ทึกวิดโี อเสรจ็ แลว้ สามารถกดหยดุ ได้ดว้ ยปุ่มลอยตามขน้ั ตอนข้อที่ 3.

35 การใช้งานโปรแกรม Screen Recording

1. ปดั ท่ีหนา้ จอมมุ ขวาบนลงมาแล้วจะมีแอพพลเิ คชนั ทใี่ ชส้ าหรบั บนั ทกึ วดิ โี อหน้าจอ Screen Recording 2. กดค้างที่ Screen Recording

3. เลอื กเปิด Microphone

4. ในกรณีที่ไม่มีแอพ Screen Recording ตอนที่ปัดหน้าจอลงมา สามารถไปเปิดได้ที่ Setting เลือกเมนู Control Center แล้วแตะเครื่องหมายบวกที่หน้าแอพ Screen Recording แล้วทาตาม ขน้ั ตอนที่ 1 อีกคร้ัง

5. เมื่อบันทึกวิดีโอหน้าจอเสร็จแล้ว สามารถหยุดได้โดยการปัดที่หน้าจอมุมขวาบนลงมา แล้ว กดหยดุ ทแ่ี อพพลเิ คชนั Screen Recording

เร่ืองท่ี 06 การอัปโหลดคลปิ วิดีโอขึ้น YouTube

1. เปิดเวบ็ ไซต์ YouTube ขนึ้ มา ลงชื่อเข้าใชง้ านใหเ้ รียบรอ้ ย 2. ทเ่ี มนดู า้ นบน เลือกเมนู สรา้ ง แล้วเลอื ก อัปโหลดวิดีโอ

3. คลิกทป่ี ุ่ม เลอื กไฟล์ คลกิ เลือกไฟลว์ ดิ โี อท่ตี ดั ต่อเสร็จแลว้ คลิกทีป่ ุม่ Open

4. พมิ พช์ ื่อของวดิ โี อตามตอ้ งการ และสามารถใสค่ าอธบิ ายเพ่มิ เติมไดด้ ้วย

5. เลอื กภาพขนาดยอ่ หรอื สามารถสรา้ งภาพเองจากโปรแกรมสาเร็จรปู แล้วนามาอัปโหลดใส่ลง ไปก็ได้

37

6. คลิกเลือก ไม่ วดิ โี อนี้ไม่ไดส้ ร้างมาเพื่อเด็ก

7. คลกิ ปมุ่ ถดั ไป 8. ในสว่ นของระดบั การแชร์ เลอื ก สาธารณะ

9. คลิกท่ีปุม่ เผยแพร่

38

บรรณานุกรม

ครไู อท.ี (2563). เทคนคิ การตดั ตอ่ ภาพด้วยส่ือดจิ ทิ ลั . [ออนไลน]์ สบื ค้นเมื่อ 15 มกราคม 2564, จาก