การพ ฒนาตนเอง ช มชน ส งคม ม.ต น กศน

การมีส่วนร่วมของประชาชน (Public Participation) หมายถึง กระบวนการที่ประชาชนและผู้ที่เกี่ยวข้องมีโอกาสได้เข้าร่วมในการแสดงทัศนะ ร่วมเสนอปัญหา ประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้อง ร่วมคิด แนวทางร่วมแก้ไขปัญหาและร่วมในกระบวนการดัดสินใจ การที่สังคมจะพัฒนาได้อย่างมีคุณภาพจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเริ่มด้นที่จะทำการพัฒนา หน่วยที่ย่อยที่สุดของสังคมก่อน ซึ่งได้แก่ การพัฒนาคน การพัฒนาในลำดับต่อมาเริ่มกันที่ครอบครัว และต่อยอดไปจนถึงชุมชน สังคม และประเทศ

1. การพัฒนาตนเอง และครอบครัว

การพัฒนาตนเอง หมายถึง การพัฒนาตนเองด้วยตนเอง หรือการสอนใจตนเองในการสร้าง อุปนิสัยที่ดี ซึ่งจะส่งผลให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและทำให้สังคมเกิดความสงบสุข

การพัฒนาครอบครัว หมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัด และประเทศ การพัฒนาสังคมในหน่วยย่อย นำไปสู่การพัฒนาสังคมที่เป็นหน่วยใหญ่ มักจะมีจุดเริ่มด้นที่เหมือนกัน คือ การพัฒนาที่ตัวบุคคล ถ้าประชาชนได้รับการพัฒนาให้เป็นบุคคลที่มีจิตใจดีงาม มีความเอื้อเพื่อ มีคุณธรรม รู้จัก การพึ่งพาตนเอง มีความร่วมมือร่วมใจ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีความเชื่อมั่นในถูมิปัญญาของตนเอง และพร้อมที่จะรับความรู้ใหม่ๆ ซึ่งการพัฒนาคนที่ดีที่สุด คือ การรวมกลุ่มประชาชนให้เป็นองค์กรเพื่อพัฒนาคนในกลุ่ม เพราะกลุ่มคนนั้นจะก่อให้เกิดการเรียนรู้ เกิดการคิดและแก้ปัญหา หรือกลุ่มที่พัฒนาด้านบุคลิกภาพของคนในการทำงานร่วมกัน จะช่วยให้คนได้เกิดการพัฒนาในด้านความคิด ทัศนคติ ความมีเหตุผล ซึ่งเป็นรากฐานที่สำคัญของระบอบประชาธิปไตย

2. การพัฒนาชุมชน และสังคม

การพัฒนาชุมชนและสังคม หมายถึง การทำกิจกรรมที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของทุกคนในชุมชนร่วมกัน ดังนั้น การพัฒนาชุมชนและสังคม จึงต้องใช้การมีส่วนร่วมของประชาชน ร่วมกันคิด เกี่ยวกับปัญหาต่างๆ ตัดสินใจร่วมกันในกิจกรรมที่เป็นปัญหาส่วนรวม เหตุที่ต้องให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม เนื่องจากประชาชนรู้ว่า ความต้องการของเขาคืออะไร ปัญหาคืออะไร และจะแก้ปัญหานั้นอย่างไร ถ้าประชาชนช่วยกันแก้ปัญหา กิจกรรมทุกอย่างจะนำไปสู่ความต้องการที่แท้จริง

หลักการพัฒนากับการมีส่วนร่วมของประชาชน

1. การมีส่วนร่วมในการค้นหาปัญหาและสาเหตุของปัญหา เป็นขั้นตอนที่สำคัญที่สุด เพราะถ้าประชาชนไม่สามารถเข้าใจปัญหาและหาสาเหตุของปัญหาด้วยตนเองไม่ได้ กิจกรรมต่างๆ ที่ตามมาก็จะไม่เกิดประโยชน์ เนื่องจากประชาชนขาดความรู้ ความเข้าใจ และไม่สามารถมองเห็นความสำคัญของกิจกรรมนั้น

2. การมีส่วนร่วมในการวางแผนการดำเนินงาน ในการวางแผนการดำเนินงานหรือกิจกรรม เจ้าหน้าที่ของรัฐควรที่จะต้องเข้าใจประชาชน และเข้าไปมีส่วนร่วมในการวางแผน โดยคอยให้คำแนะนำ ปรึกษา หรือชี้แนะกระบวนการดำเนินงาน ให้กับประชาชนจนกว่าจะเสร็จสิ้นกระบวนการ

3. การมีส่วนร่วมในการลงทุนและปฏิบัติงาน เจ้าหน้าที่รัฐควรจะช่วยสร้างแรงบันดาลใจและจิตสำนึกให้ประชาชน โดยให้รู้สึกถึงความเป็นเจ้าของให้เกิดสำนึกในการดูแลรักษาหวงแหนสิ่งนั้น

4. การมีส่วนร่วมในการติดตามและประเมินผลงาน ควรให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการติดตามและประเมินผลงาน เพื่อที่จะสามารถบอกได้ว่างานที่ทำไปนั้นได้รับผลดีเพียงใด ก่อให้เกิดประโยชน์หรือไม่ ดังนั้น ในการประเมินผลควรที่จะต้องมีทั้งประชาชนในชุมชนนั้น และบุคคลภายนอกชุมชนช่วยกันพิจารณาว่า กิจกรรมที่กระทำลงไป นั้นเกิดผลดีหรือไม่ดีอย่างไร ซึ่งจะทำให้ประชาชนเห็นคุณค่าของการทำกิจกรรมนั้นร่วมกัน

ตัวอย่าง

เรื่องการบริหารจัดการของเสียโดยเตาเผาขยะและการบำบัดของเสียของเทศบาลนครภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต

สืบเนื่องจากปริมาณขยะที่มีมากถึง 500 ตัน/วัน ซึ่งเกินความสามารถในการกำจัดโดยเตาเผาที่ มีอยู่สามารถกำจัดขยะได้ 250 ตัน/วัน หลุมกลบขยะของเทศบาลมีเพียง 5 บ่อ ซึ่งถูกใช้งานจนหมด และไม่สามารถรองรับขยะได้อีก ประชาชนได้เข้าไปมีส่วนร่วมโดยให้ความร่วมมือในการกัดแยกขยะก่อนทิ้ง ซึ่งแยกตาม ลักษณะของขยะ เช่น

1. ขยะอินทรีย์ หรือขยะเปียกที่สามารถย่อยได้ตามธรรมชาติ เทศบาลนครภูเก็ต ได้นำไปทำ ปุ๋ยสำหรับเกษตรกร

2. ขยะรีไซเคิล เช่น แก้ว พลาสติก กระดาษ ทองแดง เป็นด้น นำไปจำหน่าย

3. ขยะอันตราย เช่น ถ่านไฟฉาย หลอดไฟ เป็นด้น นำไปฝังกลบและทำลาย

4. ขยะทั่วไปที่จะนำเข้าเตาเผาขยะเพื่อทำลาย

ในการจัดกระบวนการดังกล่าว ส่งผลให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสิ่งแวดล้อมที่ดี ให้กับจังหวัดภูเก็ต อีกทั้งเป็นการบูรณาการในการดำเนินกิจกรรมร่วมกันระหว่างส่วนราชการเทศบาลนครภูเก็ต และภาคประชาชนเป็นการสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับประชาชน ในการร่วมกันสร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมที่ดีต่อกัน

กิจกรรมบทที่ 4

ข้อ 1 ให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่ม 3 – 4 คน ต่อ 1 กลุ่ม และให้ร่วมกันศึกษารูปแบบขั้นตอนในการวางแผนโดย ช่วยกันระดมความคิด อภิปราย จากนั้นทำการสรุปและร่วมกันจัดทำแผนการพัฒนาชุมชนหรือหมู่บ้านของผู้เรียน ให้มีความเป็นอยู่ที่ดี โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง มากลุ่มละ 1 แผน

ข้อ 2 ให้ผู้เรียนศึกษาตัวอย่างของการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ในการเข้าร่วมพัฒนาสังคม จากนั้นให้ร่วมกันจัดทำแนวทางการบริหารจัดการ โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนในด้านต่อไปนี้

  • 1. 2551 ËŒÒÁ¨Ó˹‹Ò ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹àÅ‹Á¹Õé¨Ñ´¾ÔÁ¾•´ŒÇÂà§Ô¹§º»ÃÐÁҳἋ¹´Ô¹à¾×èÍ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒµÅÍ´ªÕÇÔµÊÓËÃѺ»ÃЪҪ¹ ÅÔ¢ÊÔ·¸•à»š¹¢Í§ Êӹѡ§Ò¹ ¡È¹. Êӹѡ§Ò¹»ÅÑ´¡ÃзÃǧÈÖ¡ÉÒ¸Ô¡Òà สำนักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. ชุมชน ( สค 21003 ) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน เอกสารทางวิชาการลำดับที่ 35/2554
  • 3. พุทธศักราช 2551 ที่มีวัตถุประสงคในการพัฒนาผูเรียน ใหมีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปญญาและศักยภาพในการประกอบอาชีพ การศึกษาตอ และ สามารถดำรงชีวิตอยูในครอบครัว ชุมชน สังคม ไดอยางมีความสุข โดยผูเรียนสามารถนำ หนังสือเรียนไปใช ดวยวิธีการศึกษาคนควาดวยตนเอง ปฏิบัติกิจกรรมรวมทั้งแบบฝกหัดเพื่อ ทดสอบความรูความเขาใจในสาระเนื้อหา โดยเมื่อศึกษาแลวยังไมเขาใจ สามารถกลับไปศึกษา ใหมได ผูเรียนอาจจะสามารถเพิ่มพูนความรูหลังจากศึกษาหนังสือเรียนนี้ โดยนำความรูไป แลกเปลี่ยนกับเพื่อนในชั้นเรียน ศึกษาจากภูมิปญญาทองถิ่น จากแหลงเรียนรูและจากสื่ออื่นๆ ในการดำเนินการจัดทำหนังสือเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ไดรับความรวมมือที่ดีจากผูทรงคุณวุฒิและผูเกี่ยวของหลายทาน ที่คนควาและเรียบเรียงเนื้อหาสาระจากสื่อตางๆ เพื่อใหไดสื่อที่สอดคลองกับหลักสูตร และ เปนประโยชนตอผูเรียนที่อยูนอกระบบอยางแทจริง สำนักสงเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย ขอขอบคุณคณะที่ปรึกษา คณะผูเรียบเรียง ตลอดจนคณะผูจัดทำทุกทาน ที่ไดใหความรวมมือดวยดี ไว ณ โอกาสนี้ สำนักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยหวังวาหนังสือชุดนี้ จะเปนประโยชนในการจัดการเรียนการสอนตามสมควร หากมีขอเสนอแนะประการใด สำนักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอนอมรับไวดวยความ ขอบคุณยิ่ง สำนักงาน กศน.
  • 4. ชุมชน สังคม 1 ความหมายความสำคัญของการพัฒนาตนเองและครอบครัว 2 แนวทางในการพัฒนาตนเอง 3 ความหมาย และความสำคัญของการพัฒนาชุมชน 4 หลักการพัฒนาชุมชน 6 บทที่ 2 ขอมูลที่เกี่ยวของกับการพัฒนาชุมชน 8 ความหมาย ความสำคัญ และประโยชนของขอมูล 9 ขอมูลที่เกี่ยวของกับการพัฒนาชุมชน 10 เทคนิคและวิธีการเก็บขอมูลชุมชน 12 การวิเคราะหขอมูล 13 บทที่ 3 การจัดทำแผนชุมชน 15 กระบวนการจัดทำแผนพัฒนาชุมชน 16 ขั้นตอนการจัดทำประชาพิจารณแผนชุมชน 18 ขั้นตอนการทำเวทีประชาคม 19 การมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน 21 ระดับการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน 23 บทที่ 4 การเผยแพรผลการปฏิบัติ 25 การเขียนโครงการพัฒนาชุมชน 26 การเขียนรายงานผลการดำเนินงานพัฒนาชุมชน 28 บรรณานุกรม 33 ภาคผนวก ตัวอยางโครงการ 35
  • 5. สังคม รหัสวิชา 2104 ระดับมัธยมศึกษาตอนตนเปนหนังสือเรียน สำหรับผูเรียนที่ลงทะเบียนเรียนเปนนักศึกษา นอกระบบ ในการศึกษาแบบเรียนเลมนี้ผูเรียนควรปฏิบัติดังนี้ 1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเขาใจในหัวขอสาระสำคัญ ผลการเรียนรูที่คาดหวัง และขอบขายเนื้อหาเปนลำดับแรก 2. ศึกษารายละเอียดเนื้อหาของแตละบทอยางละเอียด และทำกิจกรรมตาม ที่กำหนด แลวตรวจสอบกับแนวตอบกิจกรรมที่กำหนดไวทายเลม ถาผูเรียน ตอบผิดเปนสวนใหญควรกลับไปศึกษาและทำความเขาใจในเนื้อหานั้นใหม ใหเขาใจกอนที่จะศึกษาเรื่องตอไป 3. ปฏิบัติกิจกรรมทายเรื่องของแตละเรื่องใหครบถวน เพื่อเปนการสรุปความรู ความเขาใจของเนื้อหาในเรื่องนั้นๆอีกครั้ง และการปฏิบัติกิจกรรมของแตละ เนื้อหาแตละเรื่อง ผูเรียนสามารถนำไปตรวจสอบกับครูผูรูและเพื่อนๆ ที่รวม เรียนในรายวิชาและระดับเดียวกันได 4. หนังสือเลมนี้มี 4 บท คือ บทที่ 1 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม บทที่ 2 ขอมูลที่เกี่ยวของกับการพัฒนาชุมชน บทที่ 3 การจัดทำแผนชุมชน บทที่ 4 การเผยแพรผลการปฏิบัติ คำแนะนำในการใชหนังสือเรียน
  • 6. รหัสวิชา สค 21003 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน สาระสำคัญ 1. ความหมาย ความสำคัญ หลักการและประโยชนของการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม 2. ความสำคัญของขอมูล วิธีการจัดเก็บและวิเคราะหขอมูลอยางงาย 3. การมีสวนรวมในการวางแผนพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม และการนำไปใช ในชีวิตประจำวัน ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. อธิบายสาระสำคัญที่เกี่ยวของกับการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม 2. จัดเก็บและวิเคราะหขอมูลอยางงาย 3. มีสวนรวมและนำผลจากการวางแผนพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ไปใชในชีวิต ประจำวัน ผลการเรียนรูที่คาดหวัง บทที่ 1 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม บทที่ 2 ขอมูลที่เกี่ยวของกับการพัฒนาชุมชน บทที่ 3 การจัดทำแผนชุมชน บทที่ 4 การเผยแพรผลการปฏิบัติ
  • 7. ทำเปนกระบวนการและประเมินผลอยางตอเนื่อง ค. ยึดประชาชนเปนหลักในการพัฒนา ง. พัฒนาทุกดานไปพรอมๆกันอยางรวบรัดและเรงรีบ 2. แนวทางในการพัฒนาตนเองอันดับแรกคืออะไร ก. ปลุกใจตนเอง ข. สำรวจตนเอง ค. ลงมือพัฒนาตนเอง ง. ปลูกคุณสมบัติที่ดีงาม 3. กิจกรรมใดเปนกิจกรรมระดับประเทศ ก. การสัมมนา ข. การสำรวจประชาสมติ ค. การประชุมกลุมยอย ง. การจัดทำเวทีประชาคม 4. ขอใดเปนบทบาทที่สำคัญที่สุดของประชาชนในการดูแลชุมชน ก. เขารวมประชุมทุกครั้ง ข. แสดงความเห็นในการประชุม ค. เห็นคลอยตามผูนำทุกเรื่อง ง. ทำกิจกรรมพัฒนาชุมชนรวมกันทุกครั้ง 5. สถาบันใดที่มีสวนสำคัญเปนลำดับแรกปองกันไมใหเกิดปญหาสังคม ก. สถาบันการเงิน ข. สถาบันศาสนา ค. สถาบันครอบครัว ง. สถาบันการศึกษา แบบทดสอบกอนเรียน
  • 8. การทำประชาพิจารณ ค. การเลือกตั้ง ง. การเขียนโครงการ 7. ขอใดไมใชเทคนิคการเก็บรวบรวมขอมูลในชุมชน ก. อธิบาย ข. สังเกต ค. สัมภาษณ ง. สนทนากลุม 8. วัตถุประสงคของการทำประชาพิจารณคือขอใด ก. ตอบสนองความตองการของผูบริหาร ข. ใหเกิดความคิดรวบยอดในการปฏิบัติงาน ค. ปองกันการประทวงของผูเสียประโยชน ง. รวบรวมความคิดเห็นของผูเกี่ยวของ 9. ขอใดบงบอกถึงความสำเร็จของโครงการ ก. การประเมินโครงการ ข. ตัวชี้วัดผลสำเร็จของโครงการ ค. การสรุปผลและรายงานโครงการ ง. วัตถุประสงคของโครงการ 10. ขอใดเปนวิธีการเขียนรายงานผลการดำเนินงานที่ถูกตอง ก. ถูกตอง กระชับรัดกุม ชัดเจนและสละสลวย ข. เขียนบรรยายรายละเอียดใหมากที่สุด ค. เขียนใหเปนภาษาวิชาการมากๆ ง. เขียนโดยแบงเปนขอยอยๆ เฉลย 1. ง 2. ข 3. ข 4. ง 5. ค 6. ก 7. ก 8. ง 9. ข 10. ก
  • 9. สังคม (สค 21003) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 1 สาระสำคัญ ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการพัฒนาตนเอง ครอบครัวและชุมชน ประกอบดวย ความหมายความสำคัญแนวทางการพัฒนาตนเองความหมายความสำคัญและหลักการพัฒนา ชุมชนเปนสิ่งจำเปนที่ตองทำความเขาใจเปนพื้นฐานเนื่องจากมีความเกี่ยวของสัมพันธตอเนื่อง กับกระบวนการพัฒนาชุมชนและสังคม ผลการเรียนรูที่คาดหวัง เมื่อศึกษาบทที่ 1 จบแลว ผูเรียนสามารถ 1. อธิบายความหมาย ความสำคัญ และแนวทางการพัฒนาตนเองได 2. อธิบายความหมาย ความสำคัญ และหลักการพัฒนาชุมชนได 3. กำหนดแนวทางและจัดทำแผนในการพัฒนาตนเองและครอบครัวได ขอบขายเนื้อหา เรื่องที่ 1 ความหมายและความสำคัญ ของการพัฒนาตนเองและครอบครัว เรื่องที่ 2 แนวทางในการพัฒนาตนเอง เรื่องที่ 3 ความหมายและความสำคัญของการพัฒนาชุมชน เรื่องที่ 4 หลักการพัฒนาชุมชน บทที่ 1 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม
  • 10. สังคม (สค 21003) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน2 บทที่ 1 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ปจจุบันเปนที่ยอมรับกันโดยทั่วไปวา คนเปนทรัพยากรที่มีคุณคาของสังคม สังคมจะพัฒนาและเจริญขึ้นไปไดขึ้นอยูกับคุณภาพของคนที่เปนองคประกอบของสังคม นั้น การจะพัฒนาชุมชนไดจึงตองเริ่มตนที่การพัฒนาคนเปนอันดับแรก นอกจากนี้ การพัฒนาชุมชนตองยึดหลักการมีสวนรวมของประชาชนเปนปจจัยพื้นฐานที่สำคัญ เพราะเปาหมายสุดทายของ การพัฒนาคือคน เนื่องจากคนเปนทั้งทรัพยากรที่จะถูก พัฒนาและเปนทั้งผูไดรับผลประโยชน จากการพัฒนานั่นเอง เรื่องที่ 1 ความหมายและความสำคัญ ของการพัฒนาตนเองและครอบครัว 1.1 ความหมายของการพัฒนาตนเอง นักวิชาการหลายทานใหความหมายของการพัฒนาตนเองในลักษณะที่คลายคลึงกัน สรุปความไดวา การพัฒนาตนเองคือการปรับปรุงดวยตนเองใหดีขึ้นกวาเดิม ทั้งดานรางกาย จิตใจ อารมณและสังคม เพื่อใหสามารถทำกิจกรรมที่พึงประสงคตามเปาหมายที่ตนตั้งไว เพื่อการดำรงชีวิตรวมกับผูอื่นไดอยางปกติสุข รวมทั้งเพื่อใหเปนสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน และสังคม 1.2 ความสำคัญของการพัฒนาตนเอง โดยทั่วไป คนทุกคนตางตองการดำรงชีวิตอยูรวมกับผูอื่นอยางมีความสุข ทั้งใน ครอบครัว ชุมชน และสังคมปจจัยสำคัญประการหนึ่งของการมีชีวิตที่มีความเปนปกติสุข คือการปรับปรุงและพัฒนาตนเอง ทั้งวิธีคิดและการกระทำหรือพฤติกรรมที่แสดงออกทั้งดาน รางกาย จิตใจ อารมณและสังคม เพื่อใหสามารถปรับตนเองเขากับสังคมและสิ่งแวดลอมที่ดี การพัฒนาตนเองมีความสำคัญสรุปไดดังนี้ 1. เปนการเตรียมตนเองในดานตางๆ เชน รางกาย จิตใจ อารมณ สังคม รวมทั้งสติ ปญญาใหสามรถรับกับสถานการณตางๆที่อาจเกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน
  • 11. สังคม (สค 21003) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 3 2. มีความเขาใจตนเอง เห็นคุณคาของตนเอง ทำใหสามารถทำหนาที่ตามบทบาท ของตนเองในครอบครัว ชุมชน และสังคมไดอยางเต็มกำลังความสามารถ 3. สามารถปรับปรุงการปฏิบัติตน และแสดงพฤติกรรมใหเปนที่ยอมรับของบุคคล รอบขางในครอบครัว ชุมชน และสังคม 4. สามารถกำหนดแนวทางการพัฒนาตนเอง ใหพัฒนาไปสูเปาหมายสูงสุดของ ชีวิตตามที่วางแผนไว 5. เปนแบบอยางการพัฒนาของคนในครอบครัว ชุมชน และสังคม 6. เปนการเตรียมคนใหมีความพรอมในการดำรงตนใหอยูในสังคมอยางมั่นใจ มีความสุข และเปนกำลังสำคัญของการพัฒนาชุมชนและสังคม 1.3 ความสำคัญของการพัฒนาครอบครัว ครอบครัวเปนหนวยยอยของสังคม การพัฒนาสังคมในหนวยยอยไปสูสังคม หนวยใหญที่หมายถึงชุมชน มีจุดเริ่มตนที่เหมือนกันนั่นคือการพัฒนาที่คนบุคคล หาก บุคคลในครอบครัวไดรับการพัฒนาใหเปนบุคคลที่มีจิตใจดี มีความเอื้อเฟอชวยเหลือ เกื้อกูลตอกันรูจักพึ่งพาตนเองมีความคิดมีเหตุผลพรอมที่จะรับการพัฒนาในสิ่งใหมๆยอมทำ ครอบครัวเปนครอบครัวที่มีความเขมแข็ง มีความสุข สามารถชวยเหลือครอบครัวอื่นๆ ใน ชุมชนนั้นๆได หากครอบครัวสวนใหญในชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองไดและตางใหความ รวมมือชวยเหลือซึ่งกันและกัน ชุมชนนั้นๆยอมเกิดความมั่นคงเขมแข็ง และชวยเหลือชุมชน อื่นๆได เมื่อชุมชนสวนใหญเขมแข็งยอมสงผลใหสังคมโดยรวมเขมแข็งมั่นคงตามไปดวย และ ที่สำคัญจะกอใหเกิดคานิยมของการพึ่งพาเกื้อหนุนเอื้อเฟอเผื่อแผ และชวยเหลือซึ่งกันและกัน ที่นำไปสูเปาหมายของการอยูรวมกันอยางอบอุน และมีความสุข เรื่องที่ 2 แนวทางในการพัฒนาตนเอง การพัฒนาตนเองใหประสบความสำเร็จ สามารถอยูรวมกับบุคคลตางๆในครอบครัว และชุมชนไดอยางมีความสุข มีแนวทางการพัฒนาได ดังนี้ 1. การสำรวจตนเอง เพื่อจะไดทราบวาตนเองมีคุณสมบัติที่ดีและไมดีอยางไร บาง เพื่อที่จะหาแนวทางการปรับปรุงพัฒนาตนเองใหดีขึ้น การสำรวจตนเองอาจทำไดหลาย วิธี เชน การตรวจสอบตนเองดวยเหตุและผล การใหบุคคลใกลชิดชวยสำรวจ ชวยพิจารณา อยางตรงไปตรงมา
  • 12. สังคม (สค 21003) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน4 2. การปลูกฝงคุณสมบัติที่ดีงาม เปนการนำเอาแบบอยางที่ดีของบุคคลสำคัญที่ ประทับใจมาเปนตัวแบบ เพื่อปลูกฝงคุณสมบัติที่ดีใหกับตนเอง ใหประสบความสำเร็จ สมหวังตามที่คาดหวังไว 3. การปลุกใจตนเอง การปลุกใจตนเองใหมีความเขมแข็งที่จะตอสูกับอุปสรรค ดานตางๆนั้น มีความจำเปนยิ่ง เพราะเมื่อตนเองมีจิตใจที่แข็มแข็งมีความมุงมั่นจะสามารถตอสู กับปญหา และอุปสรรครวมทั้งสามารถดำเนินการพัฒนาตนเองใหบรรลุเปาหมาย การปลุกใจ ตนเองสามารถทำไดหลายวิธี เชน การนำตัวแบบของผูประสบความสำเร็จมาเปนแบบอยาง การใชอุปสรรคเปนตัวกระตุน การใชขอมูลหรือการรับคำแนะนำจากผูใกลชิดหรือผูรู ฯลฯ 4. การสงเสริมตนเองเปนการสรางกำลังกายกำลังใจใหเขมแข็งสรางพลังความคิด ที่สามารถปฏิบัติได เชน การเลนกีฬา การออกกำลังกาย การพักผอน การฝกสมาธิ การเขารับ การฝกอบรมเรื่องที่เราสนใจ เปนตน 5. การลงมือพัฒนาตนเอง การพัฒนาตนเองสามารถทำไดหลายวิธี เชน อาน หนังสือเปนประจำ รวมกิจกรรมตางๆของชุมชนตามความสนใจการศึกษาดูงาน การศึกษาตอ การพบปะเยี่ยมเยียนเพื่อนหรือผูที่รูจักสนิทสนม การหมุนเวียนเปลี่ยนงาน การทำงานรวมกับ ผูอื่น การพยายามฝกนิสัยที่ดีดวยความสม่ำเสมอ การสรางความสัมพันธที่ดีกับผูอื่น ฯลฯ เรื่องที่ 3 ความหมาย และความสำคัญของการพัฒนาชุมชน 3.1 ความหมายของการพัฒนาชุมชน ความหมายของคำวา “พัฒนาชุมชน” ผูรูไดใหความหมายไวหลากหลาย สรุปไดดังนี้ 1) การรวบรวมกำลังของคนในชุมชนรวมกันดำเนินการปรับปรุง สภาพ ความเปนอยูของคนในชุมชนใหมีความเขมแข็งเปนปกแผน โดยความ รวมมือ กันระหวางประชาชน ในชุมชนและหนวยงานภายนอก 2) เปนกระบวนการที่ประชาชน รวมกันดำเนินการกับเจาหนาที่หนวยงาน ตางๆ เพื่อทำใหสภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดลอมของ ชุมชน เจริญขึ้น กวาเดิม 3) เปนวิธีการสรางชุมชนใหเจริญโดยอาศัยกำลังความสามารถของ ประชาชน และรัฐบาล
  • 13. สังคม (สค 21003) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 5 4) เปนการเปลี่ยนแปลงที่มีการกำหนดทิศทางที่พึงปรารถนาโดยการมี สวนรวม ของคนในชุมชน สรุปไดวาการพัฒนาชุมชนคือการกระทำที่มุงปรับปรุงสงเสริมใหกลุมคนที่อยู รวมกันมีการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ดีขึ้นในทุกๆดานทั้งดานที่อยูอาศัยอาหารเครื่องนุงหม สุขภาพรางกาย อาชีพที่มั่นคง ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน โดยอาศัยความรวมมือจาก ประชาชนภายในชุมชน และหนวยงานองคกรตางๆทั้งจากภายในและภายนอกชุมชน 3.2 ความสำคัญของการพัฒนาชุมชน จากการอยูรวมกันของครอบครัวหลายๆครอบครัวจนเปนชุมชน ความเปนอยู ของคนแตละครอบครัวยอมมีความสัมพันธกันมีความสลับซับซอนและมีปญหาเกิดขึ้นมากมาย จึงจำเปนตองอาศัยความรวมมือกันของบุคคลหลายๆฝาย โดยเฉพาะประชาชนเจาของชุมชน ที่เปนเปาหมายของการพัฒนาตองรวมกันรับรูรวมมือกันพัฒนาและปรับปรุงแกไขใหเกิดความ เปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น เพื่อความสงบสุขของชุมชนนั้นๆ การพัฒนาชุมชนจึงมีความสำคัญ พอจะจำแนกไดดังนี้ 1. สงเสริมและกระตุนใหประชาชนไดมีสวนรวมในการแกไขปญหาพัฒนาตนเอง และชุมชน 2. เปนการสงเสริมใหประชาชนมีจิตวิญญาณ รูจักคิด ทำ พัฒนาเพื่อสวนรวม และเรียนรูซึ่งกันและกัน 3. เปนการสงเสริมการรวมกลุมในการดำเนินชีวิตตามระบอบประชาธิปไตย 4. ทำใหปญหาของชุมชนลดนอยลงและหมดไป 5. ทำใหสามารถหาแนวทางปองกันไมใหปญหาในลักษณะเดียวกันเกิดขึ้นอีก 6. ทำใหเกิดความเจริญกาวหนาขึ้น 7. ทำใหเกิดการอยูรวมกันอยางมีความสุข ตามสภาพของแตละบุคคล และเกิด ความภาคภูมิใจในชุมชนของตนเอง 8. ทำใหชุมชนนาอยู มีความรักความสามัคคี เอื้ออาทรชวยเหลือเกื้อกูลซึ่งกัน และกัน 9. เปนรากฐานสำคัญของการพัฒนาสังคมและประเทศชาติ
  • 14. สังคม (สค 21003) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน6 เรื่องที่ 4 หลักการพัฒนาชุมชน หลักการพัฒนาชุมชน เปนหลักสำคัญในการดำเนินงานพัฒนาชุมชน เพื่อสรางสรรค ไปสูความสำเร็จตามเปาหมาย ยึดถือการสรางความเจริญใหกับชุมชนโดยอาศัยหลักการ สรุปไดดังนี้ 1. ประชาชนมีสวนรวม การดำเนินกิจกรรมของการพัฒนาทุกขั้นตอน ประชาชน จะตองเขามามีสวนเกี่ยวของและมีสวนรวม ตั้งแต รวมคิด ตัดสินใจ วางแผน ปฏิบัติและประเมินผล ประชาชนตองกลาคิด กลาแสดงออก เพราะผลที่เกิดจาก การดำเนินงานสงผลโดยตรงตอประชาชน 2. พิจารณาวัฒนธรรมและสภาพความเปนอยูของชุมชน หากทุกฝายที่เกี่ยวของ ในการพัฒนาไดทราบและเขาใจขอมูลเกี่ยวกับวัฒนธรรมและสภาพความ เปนอยูของชุมชนในทุกๆดานจะชวยใหการคิดการวางแผนและการดำเนินงาน พัฒนาเปนไปในทิศทางที่ถูกตองเหมาะสม 3. ใหความสำคัญกับคนในชุมชน โดยคนในชุมชนตองเปนหลักสำคัญหรือเปน ศูนยกลางของการพัฒนาโดยเริ่มจากการคนหาความตองการและปญหาที่แทจริง ของชุมชนตนเองใหพบ เพื่อนำไปสูกระบวนการพัฒนาในขั้นตอไป 4. การพัฒนาตองไมรวบรัดและเรงรีบ การดำเนินงานควรคำนึงถึงผลของการ พัฒนาในระยะยาวดำเนินงานแบบคอยเปนคอยไป เพื่อใหทุกคนมีความพรอม มีความเชื่อมั่นไดมีเวลาพิจารณาคิดไตรตรองถึงผลที่จะเกิดขึ้นในขั้นตอนตอไป และในระยะยาวทั้งผลที่สำเร็จและไมสำเร็จ มิใชเรงรีบดำเนินการใหเสร็จอยาง รวบรัดและเรงรีบเพราะการเรงรีบและรวบรัดใหเสร็จอาจนำไปสูความลมเหลว 5. ทำเปนกระบวนการและประเมินผลอยางตอเนื่อง การพัฒนาชุมชนควรดำเนิน การดวยโครงการที่หลากหลายภายใตความตองการที่แทจริงของชุมชน ขณะ เดียวกันควรประเมินผลดวยการมีสวนรวมของทุกฝายที่เกี่ยวของอยางตอเนื่อง เพื่อจะไดรับทราบขอดี ขอเสีย บทเรียนความสำเร็จ ไมสำเร็จ เพื่อนำไปสูการ พัฒนาที่ดีขึ้นกวาเดิม หลักการพัฒนาชุมชนดังกลาวขางตนเปนหลักการโดยทั่วไป ที่มุงหวังใหประชาชน รวมมือกันพัฒนาชุมชนของตนโดยมีเปาหมายสูงสุดคือประชาชนมีความเปนอยูที่ดีและสังคม มีชุมชนที่นาอยู เพราะฉะนั้น หากเราเปนสมาชิกของชุมชนใดก็ควรเขาไปมีสวนรวมใหความ รวมมือกับชุมชนนั้นๆเชนรวมประชุมอยางสรางสรรคแสดงความคิดเห็นแลกเปลี่ยนความคิด รวมพัฒนาทุกขั้นตอนเพื่อนำไปสูเปาหมายที่ทุกฝายรวมกันกำหนดขึ้นนั่นเอง
  • 15. สังคม (สค 21003) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 7 กิจกรรม 1. ใหผูเรียนคนควาเพิ่มเติม"แนวทางในการพัฒนาตนเองประโยชนและหลักการ ชุมชนเพิ่มเติมจากแหลงความรูตางๆ เชน หองสมุด อินเทอรเน็ต ฯลฯ 2. ใหผูเรียนอธิบายสิ่งตอไปนี้ตามความเขาใจของผูเรียนโดยสรุปและเขียนบันทึก ลงในสมุดของตนเอง 2.1 ความหมายของคำวา "การพัฒนา" 2.2 ความสำคัญในการพัฒนาตนเอง 2.3 แนวทางในการพัฒนาตนเอง 2.4 ความหมายของคำวา "การพัฒนาชุมชน" 2.5 ประโยชนของการพัฒนาชุมชน 2.6 หลักการพัฒนาชุมชน 3. ผูเรียนแบงกลุมอภิปรายรวมกันคิดประเด็นตอไปนี้แลวนำเสนอผลการอภิปราย ของกลุมตอเพื่อนๆ 3.1 แนวทางในการพัฒนาตนเองใหเปนบุคคลที่พึงประสงคและเปนที่ยอมรับ ของสังคม 3.2 แนวทางในการพัฒนาและการปฏิบัติตน เพื่อใหครอบครัวอบอุน 3.3 แนวทางการพัฒนาชุมชนของตนเองใหเปนชุมชนที่เขมแข็ง 4. ใหผูเรียนจัดทำแผนพัฒนาตนเองและครอบครัวตามแนวทาง ขอ 3.1 และขอ 3.2
  • 16. สังคม (สค 21003) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน8 บทที่ 2 ขอมูลที่เกี่ยวของกับการพัฒนาชุมชน สาระสำคัญ การศึกษาความรูเบื้องตนที่เกี่ยวกับขอมูล เชน ความหมาย ความสำคัญ และประโยชน ของขอมูลจะชวยใหมีความเขาใจขอมูลที่เกี่ยวของกับการ พัฒนา ชุมชนซึ่งมีหลายดานดวยกัน เชน ขอมูลดานครอบครัว ขอมูลดานเศรษฐกิจ ขอมูลดานสังคม ฯลฯ ขอมูลแตละดานลวน มีความจำเปนและสำคัญตอการพัฒนาชุมชน ผลการเรียนรูที่คาดหวัง เมื่อศึกษาบทที่ 2 จบแลว ผูเรียนสามารถ 1. อธิบายความหมาย ความสำคัญ และประโยชนของขอมูล 2. ระบุขอมูลในดานตางๆที่เกี่ยวกับการพัฒนาชุมชนไดอยางนอย 5 ดาน 3. ยกตัวอยางรายการของขอมูลในแตละดานที่เกี่ยวของกับการพัฒนาชุมชนได 4. อธิบายเทคนิคและวิธีการเก็บขอมูลชุมชนไดอยางนอย 3 วิธี 5. สำรวจขอมูลชุมชนได 6. มีสวนรวมในการวิเคราะหขอมูลชุมชน ขอบขายเนื้อหา เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสำคัญ และประโยชนของขอมูล เรื่องที่ 2 ขอมูลที่เกี่ยวของกับการพัฒนาชุมชน เรื่องที่ 3 เทคนิคและวิธีการเก็บขอมูลชุมชน เรื่องที่ 4 การวิเคราะหขอมูล
  • 17. สังคม (สค 21003) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 9 บทที่ 2 ขอมูลที่เกี่ยวของกับการพัฒนาชุมชน ขอมูลที่เปนขอเท็จจริงที่เกี่ยวของกับการพัฒนาชุมชนมีหลายดานดวยกัน แตละดานควรรูและทำความเขาใจ เพราะเปนสิ่งจำเปนและสำคัญสำหรับกระบวนการ พัฒนาชุมชน ทั้งนี้เพื่อเปนเครื่องมือในการนำไปสูการวางแผน การกำหนดทิศทาง เปาหมาย การตัดสินใจ การปฏิบัติและประเมินผลของการปรับปรุงและพัฒนาชุมชน ใหนาอยู และดีขึ้นกวาเดิมในทุกๆ ดาน เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสำคัญ และประโยชนของขอมูล 1.1 ความหมายของขอมูล มีผูรูไดใหความหมายของขอมูลในลักษณะเดียวกันสรุปไดวา ขอมูล หมายถึง ขอเท็จจริงของสิ่งตางๆ ที่อยูรอบตัวเรา เชน คน สัตว สิ่งของ สถานที่ ธรรมชาติ ฯลฯ ที่ถูก บันทึกไวเปนตัวเลข สัญลักษณ ภาพ หรือเสียงที่ชวยทำใหรูถึงความเปนมา ความสำคัญ และ ประโยชนของสิ่งเหลานั้น ความหมายของขอมูลตามพจนานุกรมราชบัณฑิตยสถานพ.ศ.2525ไดใหความหมาย วาขอมูลหมายถึงขอเท็จจริงสำหรับใชเปนหลักในการคาดการณ คนหาความจริงหรือการคิด คำนวณ กลาวโดยสรุป ขอมูลหมายถึงขาวสารหรือขอเท็จจริงที่เกิดขึ้นกับสิ่งตางๆ ที่เปน สัญลักษณ ตัวเลข ขอความ ภาพหรือเสียงที่ไดมาจากวิธีการตางๆ เชน การสังเกต การนับ การวัดและบันทึกเปนหลักฐานใชเพื่อคนหาความจริง ตัวอยาง เชน ก. สุนันทประกอบอาชีพทำนา ข. ตำบลทำนบ มีจำนวนครัวเรือน 350 ครัวเรือน ค. อบต.เกาะยอ ชาวบานมีอาชีพทำสวนผลไมและทำประมง ง. จังหวัดสงขลามีหองสมุดประชาชนประจำอำเภอ 16 แหง จากตัวอยาง จะเห็นวา ขอ ข และ ง เปนขอมูลที่เปนตัวเลข ขอ ก และ ค เปนขอมูล ที่ไมเปนตัวเลข
  • 18. สังคม (สค 21003) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน10 จากความหมายและตัวอยางของขอมูล จะเห็นไดวาขอมูลแบงเปน 2 ความหมาย คือขอมูลที่มีลักษณะเปนตัวเลขแสดงปริมาณเรียกวาขอมูลเชิงปริมาณและขอมูลที่ไมใชตัวเลข เรียกวา ขอมูลเชิงคุณภาพ 1.2 ความสำคัญและประโยชนของขอมูล ขอมูลที่เปนขอเท็จจริงของสิ่งตางๆ ที่อยูรอบตัวเราลวนมีประโยชนตอการพัฒนา ตนเอง ชุมชนและสังคม ทั้งนี้ขึ้นอยูกับการเลือกนำมาใชใหถูกตองเหมาะสมกับสถานการณ และโอกาส โดยทั่วไปขอมูลจะใหประโยชนมากมาย เชน 1. เพื่อการเรียนรู ศึกษา คนควา 2. เพื่อเปนแนวทางการพัฒนาดานตางๆ 3. เพื่อการนำไปสูการปรับปรุงแกไขในสิ่งที่ดีกวา 4. เพื่อใชประกอบเปนหลักฐานอางอิงประเด็นสำคัญ 5. เพื่อการวางแผน การปฏิบัติ และการประเมินผล 6. เพื่อการตัดสินใจ ฯลฯ จากประโยชนดานตางๆ ที่กลาวถึง ขอยกตัวอยางประโยชนของขอมูลในการชวย การตัดสินใจ เชน ถารูขอมูลเกี่ยวกับคะแนนการเรียนวิชาคณิตศาสตร ผลคะแนนระหวาง เรียนไมนาพึงพอใจ แตผูเรียนตองการใหสอบผานวิชานี้ ผูเรียนจะตองวางแผนการเรียนและ เตรียมพรอมกับการสอบใหดี ขยันเรียน ขยันทำแบบฝกหัดมากขึ้นผลการเรียนวิชานี้นาจะผาน แตถาไมรูขอมูลเลยโอกาสที่จะสอบไมผานก็จะมีมากกวา ในการพัฒนาชุมชนและสังคมจำเปนตองอาศัยขอมูลดานตางๆ ไดแก ขอมูลเกี่ยวกับ ดานความเปนมา ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมือง การปกครอง ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี ทรัพยากร สิ่งแวดลอม สาธารณสุข และการศึกษา เปนตน เรื่องที่ 2ขอมูลที่เกี่ยวของกับการพัฒนาชุมชน การพัฒนาชุมชน จำเปนตองอาศัยขอมูลหลายๆ ดาน เพื่อใชในการเรียนรูและคนหา ความจริงที่เปนพลังภายในของชุมชนที่ยังไมไดพัฒนา หรือยังพัฒนาไมเต็มที่ ขอมูลที่สำคัญที่ เกี่ยวของกับการพัฒนาชุมชน มีดังนี้
  • 19. สังคม (สค 21003) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 11 1. ขอมูลเกี่ยวกับครอบครัวและประชากร ไดแก ขอมูลรายรับ รายจาย หนี้สิน ของครอบครัว จะชวยใหเห็นที่มาของปญหาความยากจนหรือที่มาของรายได จำนวนรายไดและรายจายของครอบครัวในชุมชน จำนวนครัวเรือน เปนตน 2. ขอมูลดานเศรษฐกิจ ไดแก จำนวน ประเภทของการผลิต การกระจายผลผลิต การเปนเจาของถือครองที่ดิน การเปนเจาของสถานประกอบการ โรงงาน และ รานคา การนำเขาทรัพยากรจากภายนอก การใชทรัพยากรที่มีอยูในทองถิ่น การใชแรงงาน การบริโภคสินคา การใชประโยชนที่ดิน อาชีพ ชนิดของพืช ที่ปลูก ชนิดและจำนวนสัตวที่เลี้ยง ผลผลิต รายได เปนตน 3. ขอมูลดานประเพณีและวัฒนธรรม ไดแก จำนวนกลุมที่สงเสริมประเพณีและ วัฒนธรรม การละเลน การกีฬาของทองถิ่น ความหลากหลายทางวัฒนธรรม ความเชื่อ ศาสนา ระบบเครือญาติ 4. ขอมูลดานการเมือง การปกครอง ไดแก การเลือกผูนำของคนในชุมชนและ บทบาทของผูนำ การมีสวนรวมของคนในชุมชน ดานการปกครองและการ พัฒนา การตัดสินใจของผูนำชุมชน โครงสรางอำนาจ ความสัมพันธของคนใน ชุมชนและระหวางกลุม การรวมกลุม การแบงกลุม เปนตน 5. ขอมูลดานสังคม ไดแก การศึกษาอบรม การเรียนรู แหลงเรียนรูในชุมชน การดูแลสุขภาพ การใชทรัพยากร การใชภูมิปญญา กองทุนสวัสดิการ การรับ ความชวยเหลือจากภายนอก เปนตน 6. ขอมูลดานระบบนิเวศและสิ่งแวดลอม ไดแก สภาพทรัพยากรธรรมชาติ ดิน น้ำ อากาศการจักการแหลงน้ำเชนแมน้ำลำคลองทะเลปาชายเลนสัตวบกสัตวน้ำ สภาพการดำรงชีวิตของพืชและสัตว การพัฒนาชุมชนกับจำนวนและปริมาณ ของทรัพยากร เปนตน 7. ความตองการของชุมชน เปนความตองการที่แทจริงของชุมชนดานตางๆ ขอมูล ดานตางๆเหลานี้จะเปนตัวชี้เกี่ยวกับ"ทุน"ที่มีอยูในชุมชนซึ่งตองคนหาสำรวจ รวบรวมและวิเคราะหเพื่อนำมาพัฒนาชุมชน การสำรวจ เก็บรวบรวมขอมูล จะตองรวมมือชวยกันหลายฝายนอกจากนี้ผูสำรวจตองมีความละเอียดในการใช เครื่องมือเพราะยิ่งไดขอมูลที่มีความละเอียดมากยิ่งสงผลตอความแมนยำในการ วิเคราะหความตองการความจำเปนของชุมชน
  • 20. สังคม (สค 21003) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน12 เรื่องที่ 3เทคนิคและวิธีการเก็บขอมูลชุมชน เทคนิคและวิธีการเก็บขอมูลที่เกี่ยวของกับการพัฒนาชุมชนมีหลายวิธี เชน การสังเกต การสัมภาษณ การใชแบบสอบถาม การศึกษาจากเอกสาร การสนทนากลุม การสำรวจ การจัดเวทีประชาคมสวนการจะเลือกใชเทคนิควิธีการใดจึงจะเหมาะสมขึ้นอยูกับหลายๆปจจัย เชน แหลงขอมูล ความสะดวก ความประหยัด ฯลฯ การศึกษาและรวบรวมขอมูลชุมชน ผูศึกษาสามารถกระทำโดยยึดวัตถุประสงคของการศึกษา โดยอาจจำแนกประเด็นหลัก และประเด็นยอยเพื่อใหไดรายละเอียดใหคลอบคลุมทุกดานเทคนิควิธีการเก็บขอมูลมีวิธีตางๆ เชน 1. การสังเกต เปนวิธีการเก็บรวบรวมขอมูล โดยผูสังเกตเฝาดูพฤติกรรมจริงหรือ เหตุการณจริงโดยผูสังเกตอาจเขาไปทำกิจกรรมรวมในเหตุการณ หรือไมมี สวนรวมโดยการ เฝาดูอยูหางๆ ก็ได การสังเกตมีทั้งแบบที่มีโครงสรางกับ แบบไมมีโครงสราง การสังเกตแบบมี โครงสรางผูสังเกตตองเตรียมหัวขอ ขอบขาย ประเด็น ที่ตองใชในการสังเกตลวงหนา แลว บันทึกรายละเอียดสิ่งที่ สังเกตพบเห็นตามหัวขอ ประเด็นที่ตองใชในการสังเกตลวงหนา แลว บันทึกรายละเอียดสิ่งที่สังเกตพบเห็นตามหัวขอประเด็นการสังเกตแบบไมมีโครงสรางเปนการ สังเกตไปเรื่อยๆ ตามสิ่งที่พบเห็น 2. การสัมภาษณ เปนวิธีการเก็บขอมูลโดยผูสัมภาษณและผูใหสัมภาษณตอง พบหนากัน และมีการสัมภาษณซักถามโดยใชภาษาเปนตัวกลางในกลางสื่อสาร การสัมภาษณ มีทั้งแบบมีโครงสรางและแบบไมมีโครงสราง การสัมภาษณ แบบมีโครงสรางผูสัมภาษณจะ เตรียมคำถาม เรียงลำดับคำถามไวลวงหนาตาม วัตถุประสงคของการสัมภาษณ สวนการ สัมภาษณแบบไมมีโครงสรางเปนการสัมภาษณแบบพูดคุยไปเรื่อยๆจะถามคำถามใดกอนหลัง ก็ไดไมมีการเรียงลำดับ คำถาม 3. การใชแบบสอบถาม ผูเก็บขอมูลจะตองเตรียมและออกแบบสอบถามลวงหนา แบบสอบถามจะประกอบดวยคำชี้แจง วัตถุประสงค รายการขอมูลที่ตองการถาม จำแนกเปน รายขอ ใหผูตอบตอบตามขอเท็จจริง 4. การศึกษาจากเอกสาร เปนการรวบรวมขอมูลที่มีผูเรียบเรียงไวแลวในลักษณะ ของเอกสารประเภทตางๆ เชน บทความ หนังสือ ตำรา หรือเว็บไซต การเก็บขอมูลดวยวิธีนี้ จะตอง คำนึงถึงความทันสมัย 5. การสนทนากลุม เปนการรวบรวมขอมูลดานเศรษฐกิจ สังคม ประชากร อาชีพ ฯลฯจากวงสนทนาที่เปนผูใหขอมูลที่ถูกคัดสรรวาสามารถใหขอมูลใหคำตอบตรงตามประเด็น คำถามที่ผูศึกษาตองการ มีการถามตอบและถกประเด็นปญหา โดยเริ่มจากคำถามที่งายตอการ
  • 21. สังคม (สค 21003) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 13 เขาใจแลวจึงคอยเขาสูคำถามที่เปนประเด็นหลักของการศึกษาแลวจบดวยคำถามประเด็นยอยๆ ขณะเดียวกันมีผูบันทึกเก็บขอมูล จากคำสนทนาพรอมบรรยากาศ และอากัปกิริยาของสมาชิก กลุมแลวสรุปเปน ขอสรุปของการ สนทนาแตละครั้ง 6. การสำรวจ การสำรวจขอมูลชุมชนทำไดในลักษณะตางๆ เชน 1) ขอมูลที่ ครอบครัวควรทำเอง ไดแก บัญชีรายรับ-รายจายของครอบครัว แตละครอบครัว รวมทั้งหนี้สิน 2) ขอมูลทั่วไปของครอบครัว ไดแก จำนวนสมาชิก อายุ การศึกษา รายได ที่ทำกิน เครื่องมือ อุปกรณ ความรูของคนในครอบครัว และ การดูแล สุขภาพ เปนตน 3) ขอมูลสวนรวมของ ชุมชน ไดแก ประวัติความเปนมาของชุมชน ทรัพยากร ความรู ภูมิปญญาเฉพาะดาน การ รวมกลุม โครงการ ของชุมชน ผูนำ เปนตน สำหรับวิธีการเก็บขอมูลดวยเทคนิคการสำรวจอาจใชแบบสอบถาม หรือแบบ สัมภาษณตามความสะดวก ความประหยัดของผูเก็บขอมูล และไมสรางความ ยุงยากใหกับผูให ขอมูล 7. การจัดเวทีประชาคม เปนการพบปะของผูคนที่เปนผูแทนระดับของกลุมตางๆ ในชุมชนซึ่งผูคนเหลานี้มีขอมูล ประสบการณ ความคิดที่หลากหลาย ไดมารวมกันแลกเปลี่ยน ขอมูล ประสบการณ ความคิด เพื่อรวมกันกำหนดวิสัยทัศน วิเคราะห สถานการณ ปญหา วางแผน ดำเนินงาน ติดตามประเมินผลการทำงาน รวมกัน เพื่อนำไปสูการพัฒนาชุมชนให สามารถบรรลุเปาหมายรวมกัน สวน เครื่องมือที่สำคัญในการจัดเวทีประชาคม คือ ประเด็น คำถามที่มีลักษณะเปน คำถามปลายเปด เพื่อทำใหผูรวมเวทีสามารถตอบและอภิปรายได ละเอียดตามความรูความคิดและประสบการณของแตละคนทำใหไดคำตอบที่เปนขอมูลเชิงลึก ซึ่งแตเปนประโยชนตอการวิเคราะหขอมูลในแตละดานตอไป เรื่องที่ 4การวิเคราะหขอมูล หลังจากการเก็บขอมูลเสร็จสิ้นแลว ผูเก็บขอมูลควรนำผลจากการจัดเก็บขอมูล ไปตรวจสอบความถูกตองและสมบูรณกับแหลงขอมูลอีกครั้งเพื่อยืนยันความถูกตอง และ เพิ่มเติมขอมูลในสวนที่ยังไมสมบูรณใหสมบูรณมากที่สุด ขั้นตอนถัดมาคือการวิเคราะหขอมูล การวิเคราะหขอมูล เปนการนำขอมูลที่เก็บรวบรวมมาได มาจัดกระทำโดยจำแนก จัดกลุม จัดระบบ หมวดหมู เรียงลำดับ คำนวณคาตัวเลข (เชิงปริมาณ) ตีความ สรุป และนำเสนอในรูปแบบตางๆ ใหสามารถสื่อความหมายได เชน ตาราง แผนภูมิ ภาพ ฯลฯ ขั้นตอนของการวิเคราะหขอมูลชุมชนอาจตองอาศัยผูรูเกี่ยวกับการวิเคราะหขอมูลเขามา ใหความรวมมือชวยเหลือในการวิเคราะหและเผยแพรขอมูล แตขณะเดียวกัน ประชาชนใน ชุมชนตองมีสวนรวมเขามาแลกเปลี่ยนเรียนรูเพื่อใหเกิดการเรียนรูรวมกัน
  • 22. สังคม (สค 21003) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน14 กิจกรรม ใหผูเรียนทำกิจกรรมตอไปนี้ 1. เขียนอธิบายตามความเขาใจของผูเรียน 1.1 ความหมาย 1.2 ความสำคัญและประโยชนของขอมูล 2. เขียน ระบุ ขอมูลที่เกี่ยวกับการพัฒนาชุมชนอยางนอย 5 ดาน พรอมยกตัวอยาง รายการขอมูลในแตละดาน 3. อธิบายเทคนิควิธีการเก็บขอมูลชุมชน มา 3 วิธี 4. ใหออกแบบเครื่องมือ และออกสำรวจขอมูลของชุมชนของผูเรียนพรอมนำ เสนอผลการสำรวจแลกเปลี่ยนในกลุม 5. ใหหาโอกาสเขามามีสวนรวมในขั้นตอนของการวิเคราะหขอมูลชุมชนและหรือ เชิญผูรูเกี่ยวกับวิธีการวิเคราะหขอมูลชุมชนมาอธิบายรวมแลกเปลี่ยนเรียนรู
  • 23. สังคม (สค 21003) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 15 บทที่ 3 การจัดทำแผนพัฒนาชุมชน สาระสำคัญ แผนพัฒนาชุมชนเปนแผนหลักที่รวมแนวทางการพัฒนาชุมชนทุกดานที่เกิดจากการ มีสวนรวมของคนในชุมชนรวมกันเรียนรูและจัดทำขึ้นโดยมีกระบวนการและขั้นตอนของการ พัฒนาที่เปนรูปธรรมชัดเจน เพื่อนำไปใชในการแกไขปญหาและพัฒนาชุมชน ผลการเรียนรูที่คาดหวัง เมื่อศึกษาบทที่ 3 จบแลว ผูเรียนสามารถ 1. อธิบายขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนาชุมชนและการทำประชาพิจารณแผนชุมชน 2. สรางสถานการณจำลองในการจัดเวทีประชาคมได 3. มีสวนรวมในการจัดทำแผนและประชาพิจารณ รวมทั้งการประชุมกลุมยอย 4. ประเมินระดับการมีสวนรวมในการพัฒนาชุมชนของประชาชนในชุมชนได ขอบขายเนื้อหา เรื่องที่ 1 กระบวนการจัดทำแผนพัฒนาชุมชน เรื่องที่ 2 ขั้นตอนการทำประชาพิจารณแผนชุมชน เรื่องที่ 3 ขั้นตอนการทำเวทีประชาคม เรื่องที่ 4 การมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน เรื่องที่ 5 ระดับการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน
  • 24. สังคม (สค 21003) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน16 เรื่องที่ 1กระบวนการจัดทำแผนพัฒนาชุมชน การจัดทำแผนพัฒนาชุมชนแตละชุมชนอาจมีขั้นตอนของการดำเนินการพัฒนาชุมชน แตกตางกันไป ขึ้นอยูกับบริบทสิ่งแวดลอมของชุมชนนั้นๆ แตโดยทั่วไปการจัดทำแผนพัฒนา ชุมชน มีขั้นตอนตอเนื่องเปนกระบวนการตามลำดับ ตั้งแตขั้นการเตรียมการและวางแผน ขั้นการจัดทำแผนพัฒนา และขั้นการนำแผนไปสูการปฏิบัติ ดังนี้ 1. ขั้นการเตรียมการและการวางแผน เปนการเตรียมความพรอมในดานตางๆ ดังนี้ 1.1 การเตรียมหาบุคคลที่เกี่ยวของเชนคณะทำงานคณะวิชาการอาสาสมัคร ผูนำ ฯลฯ 1.2 การเตรียมการจัดเวทีสรางความตระหนักรวมในการเปนเจาของชุมชน รวมกัน เชน การรวมคิด รวมวางแผน รวมปฏิบัติ ทุกขั้นตอน 1.3 การศึกษาพัฒนาการของชุมชนโดยการศึกษาสำรวจวิเคราะหสังเคราะห ขอมูลทุกๆ ดานของชุมชน เชน ดานเศรษฐกิจ ดานประเพณีวัฒนธรรม ดานการเมืองการ ปกครอง เปนตน 1.4 การศึกษาดูงานชุมชนตนแบบ เพื่อเรียนรูจากประสบการณตรงจากชุมชน ตนแบบที่ประสบความสำเร็จ จะไดเห็นตัวอยางการปฏิบัติจริงที่เปนรูปธรรม เพื่อที่จะไดนำสิ่ง ที่ดีๆ ที่เปนประโยชนมาประยุกตใชกับชุมชน ตนเอง และชวยกันคิดวาชุมชนของตนควรจะ วางแผนบริหารจัดการที่จะ นำไปสูการพัฒนาไดอยางไร 2. ขั้นการจัดทำแผนพัฒนา ประกอบดวยขั้นตอนยอยๆ ดังนี้ 2.1 การรวมกันนำขอมูลที่ไดจากการเตรียมการมารวมกันวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาสและอุปสรรคของชุมชน เพื่อประเมินความสามารถและ ประสบการณของ ชุมชนเพื่อนำไปสูการกำหนดภาพอนาคตของชุมชน ตามที่คาดหวัง (วิสัยทัศน) บทที่ 3 การจัดทำแผนพัฒนาชุมชน แผนพัฒนาชุมชน มีลักษณะเปนแผนหลักที่รวมแนวทางการพัฒนาทุกๆ ดานของ ชุมชน เปนแผนที่เกิดจากการมีสวนรวมของผูคนในชุมชนและเครือขายที่เกี่ยวของรวมกัน จัดทำขึ้น เพื่อมุงใหคนในชุมชนไดเรียนรูและรวมดำเนินการแกไขปญหารวมกัน
  • 25. สังคม (สค 21003) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 17 2.2 การรวมกันคนหา และกำหนดการเลือกที่เหมาะสมในการพัฒนา (ยุทธศาสตร) 2.3 รวมกันกำหนดแผนงาน โครงการ กิจกรรม และเขียนเอกสารแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่จะพัฒนาแกปญหาหรือปองกันปญหา 2.4 นำแผนงาน โครงการ และกิจกรรม นำเสนอแลวพิจารณารวมกันและ ใหขอมูลเพิ่มเติม เพื่อใหเห็นภาพรวมเพื่อการประสานเชื่อมโยงและเพื่อ การแบงงาน กันรับ ผิดชอบ 2.5 เมื่อคณะทำงานทุกฝายเห็นชอบ จึงนำรางแผนชุมชนไปทำการประชา พิจารณ แลกเปลี่ยนเรียนรูในเวทีเพื่อสรางความเขาใจกับสมาชิกของชุมชนทั้งหมด เปนการ รวมใจเปนหนึ่งเดียวที่จะดำเนินการพัฒนารวมกัน ตามแผน 2.6 ปรับปรุง แกไข แผนใหถูกตองเหมาะสมตามมติ ความคิดเห็นที่ไดจาก การประชาพิจารณ 3. การนำแผนไปปฏิบัติและประเมินผลการปฏิบัติงานประกอบดวยขั้นตอนยอยๆ ดังนั้น 3.1 จัดลำดับความสำคัญของแผนงานโครงการ 3.2 วิเคราะหความเปนไปไดของแตละโครงการ 3.3 จัดฝกอบรม เพิ่มเติมประสบการณความรูเกี่ยวกับประเด็นที่สำคัญที่ กำหนดไวในแผนเพื่อขยายผลการเรียนรูไปยังคนในชุมชน 3.4 จัดระบบภายใน เชื่อมโยงเครือขายทั้งภายในภายนอกเพื่อสรางความ เขมแข็งใหกับชุมชน 3.5 ดำเนินการปฏิบัติตามแผน 3.6 ติดตามความกาวหนา และประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผน รวมทั้ง ประเมินผลการดำเนินงานโครงการและกิจกรรมที่อยูในแผน เพื่อปรับปรุงแผนใหมีความ สมบูรณยิ่งขึ้น สำหรับผูที่จะทำหนาที่ในการประเมิน คือ แกนนำและคนในชุมชน เพราะคนเหลานี้ เปนทั้งผูบริหารจัดการ ผูปฏิบัติ และผูรับประโยชนโดยตรง การประเมินผลเมื่อเสร็จสิ้นโครงการ หลังจากทุกฝายไดรวมมือกันทำงานตามแผนชุมชนของตนเองแลวควรจัดประชุม สรุปผลการดำเนินงานรวมมือกันเมื่อเสร็จสิ้นโครงการเพื่อเปนการสรุปบทเรียนทั้งโครงการวา ไดผลลัพธตามเปาหมายหรือไม นั่นคือ คนในชุมชนมีพัฒนาการและเกิดการเปลี่ยนแปลง อยางไร มีสิ่งที่ดีๆ อะไรเกิดขึ้นบางที่เปนผลพวงของการพัฒนา มีปญหาอุปสรรคอยางไร
  • 26. สังคม (สค 21003) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน18 มีวิธีการแกไขใหบรรลุผลสำเร็จหรือไมอยางไรถาจะพัฒนาตอไปควรปรับปรุงขั้นตอนใดฯลฯ ทั้งนี้เพื่อรวบรวมขอคิดเห็นหลังการทำงานแลว ถอดและสรุปเปนบทเรียน เพื่อเปนแนวทางใน การทำกิจกรรมหรือโครงการพัฒนาอื่นตอไป เรื่องที่ 2 ขั้นตอนการทำประชาพิจารณแผนชุมชน เมื่อชุมชนรวมกันจัดทำแผนชุมชนและโครงการเสร็จแลวขั้นตอนตอไปจะเปนการนำ แผนชุมชนฉบับรางไปพิจารณาขอรับความคิดเห็นจากประชาชนที่มีสวนไดสวนเสียหรือไดรับ ผลกระทบจากแผนที่จัดทำขึ้น เรียกขั้นตอนนั้นวา “การทำประชาพิจารณ” การทำประชาพิจารณแผนชุมชน เปนการนำเสนอแผนใหประชาชนในชุมชนได รับทราบโดยทั่วกัน ในขั้นตอนนี้ควรใหโอกาสประชาชนไดอภิปราย แลกเปลี่ยนเรียนรู ใหขอเสนอแนะ ปรับปรุงแกไข เปนการแสดงออกรวมกันในเวที เปนการวิพากษวิจารณใน ลักษณะที่สรางสรรค เพื่อที่จะรวมมือกันดำเนินงานใหบรรลุเปาหมาย นั่นคือ การพัฒนา ชุมชนที่อาศัยการพึ่งพาตนเองโดยอาศัยแผนงานโครงการและกิจกรรมที่รวมกันกำหนดขึ้นการ ประชาพิจารณควรดำเนินการดังนี้ 1. เตรียมการประชาสัมพันธสื่อสารใหประชาชนไดเขารวมเวทีประชาพิจารณ เตรียมเอกสารแผนงานโครงการที่รวมกันคิด รวมกันกำหนดติดตอและเตรียมวิทยากร และคณะผูดำเนินการรวมทั้งเตรียมความพรอมในการจัดเวที 2. จัดเวที สรางความเขาใจกับสมาชิกของชุมชนทั้งหมด โดยเชิญผูนำ ตัวแทน กลุมตางๆ และประชาชนในชุมชนรวมเวที 3. ประชาพิจารณวิพากษวิจารณแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมแรงรวมใจใหเปนหนึ่งเดียว เพื่อรวมกันปฏิบัติการตามแผน 4. ปรับปรุง แกไขแผนใหมีความถูกตองเหมาะสมตามมติของที่ประชุมโดย เขียน แผนเปนลายลักษณอักษร จัดทำเปนเอกสารใหชุมชนไดศึกษาและนำไป ปฏิบัติใหเปนไปใน แนวทางเดียวกัน องคประกอบของแผนชุมชน โดยทั่วไป แผนชุมชนมีองคประกอบหลักในการเขียนดังนี้ คือ 1. วิสัยทัศน (ภาพอนาคตที่จะไปใหถึง) 2. เปาหมาย
  • 27. สังคม (สค 21003) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 19 3. ยุทธศาสตร (กลวิธี) 4. วัตถุประสงค 5. ขอมูลชุมชน ที่จำแนกเปนหมวดหมู 6. แผนงาน โครงการ และกิจกรรม 7. แผนการปฏิบัติงาน แนวทางหรือวิธีการดำเนินการ 8. จำนวนงบประมาณ และที่มาของงบประมาณ 9. ระยะเวลาดำเนินการ 10. ตัวบงชี้ความสำเร็จ สวนองคประกอบปลีกยอยอื่นอาจเขียนเพิ่มเติมตามความจำเปนและเหมาะสมตาม บริบทสิ่งแวดลอมของแตละชุมชน เรื่องที่ 3ขั้นตอนการทำเวทีประชาคม เวทีประชาคมเปนสถานที่ที่ผูคนรวมตัวกันเพื่อพูดคุย แลกเปลี่ยนขอมูลความคิดเห็น แกไขปญหาพัฒนา หรือปฏิบัติรวมกัน เพื่อประโยชนของชุมชน โดยใชการมีสวนรวมในการ คนหาขอมูลวิเคราะหขอมูลและกำหนดกิจกรรมที่จะนำความเห็นรวมขับเคลื่อนไปสูการปฏิบัติ ขั้นตอนการทำประชาคม (กรมการพัฒนาชุมชน, 2543, 420) มีขั้นตอนดังนี้ 1. ขั้นเตรียมการ 1.1 ศึกษา วิเคราะห ขอมูลที่เกี่ยวของกับชุมชน และที่เปนประเด็นรวมของ ชุมชน กำหนดประเด็นเนื้อหา และวิธีการ 1.2 จัดตั้งคณะทำงานประชาคม พรอมทั้งกำหนดบทบาทหนาที่ของคณะ ทำงานใหชัดเจน เชน ผูนำประชาคมทำหนาที่กระตุนใหประชาชนไดรวมคิดตามประเด็น สรางบรรยากาศการมีสวนรวมผูชวยผูนำประชาคม ทำหนาที่เสนอประเด็นที่ผูนำประชาคม เสนอไมครบถวนหรือผิดพลาดรวมทั้งบรรยากาศใหเกิดการตื่นตัวเกิดการผอนคลายผูอำนวย ความ สะดวก ทำหนาที่ใหบริการดานตางๆ เปนตน 1.3 กำหนดจำนวนประชาชนกลุมตางๆ ที่เปนผูมีสวนไดสวนเสีย ประมาณ 30-50คนเชนกรรมการหมูบานผูนำกลุมอาชีพผูนำทองถิ่นผูนำตามธรรมชาติและอาสาสมัคร เปนตน 1.4 กำหนดระยะเวลาของการทำประชาคม โดยพิจารณาใหมีความเหมาะสม ตามความพรอมของประชาชนและขึ้นอยูกับประเด็นการพูดคุย แตตองไมกระทบตอเวลาการ ประกอบอาชีพของประชาชน

แนวทางในการพัฒนาตนเองทั้ง 4 ด้าน มีอะไรบ้าง

1. เป็นการปรับปรุงสิ่งที่บกพร่อง และ พัฒนาพฤติกรรมให้เหมาะสม 2. เป็นการเตรียมตนให้พร้อมในด้านต่างๆ เพื่อรับสถานการณ์ใหม่ๆ ได้ด้วย ความรู้สึกที่ดีต่อต่อเอง 3. เป็นการวางแนวทางให้ตนเองสามารถพัฒนาไปสู่เป้าหมายในชีวิตได้อย่างมั่นใจ 4. ส่งเสริมความรู้สึกในคุณค่าแห่งตนให้สูงขึ้น

ความเจริญมั่นคง 10 ด้านมีอะไรบ้าง

สังคมอยู่เย็นเป็นสุข มีความสมานฉันท์ และเอื้ออาทรต่อกัน ในด้านการพัฒนาทางสังคมนั้น อาจกล่าวได้ว่า ทำไปเพื่อให้คนมีความมั่นคง 10 ด้าน คือ ด้านการมีงานทำและรายได้ ด้านครอบครัว ด้านสุขภาพอนามัย ด้านการศึกษา ด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน (ส่วนบุคคล) ด้านที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อม ด้านสิทธิและความเป็นธรรม ด้านสังคม ...

ควรพัฒนาตนเองเรื่องใดมากที่สุด

สิ่งสำคัญที่สุดในการพัฒนาตัวเองคือเรื่องของสุขภาพ ควรพักผ่อนให้เพียงพอและกินอาหารที่มีประโยชน์ รวมถึงการออกกำลังกายสม่ำเสมอก็ช่วยให้ร่างกายแข็งแรงและผ่อนคลายความเครียดอีกด้วย เลิกนิสัยไม่ดี และปลูกฝังนิสัยใหม่

กิจกรรมพัฒนาสังคมและชุมชน มีอะไรบ้าง

แนะนำกิจกรรมจิตอาสา สำหรับการทำ CSR.

1. โครงการปล่อยเต่าคืนสู่บ้าน.

2. อาสาป่าชุมชน และ ชนเผ่า.

3. โครงการอนุรักษ์ไม้หมายเมือง.

4. อาสาปลูกป่าชายเลนบางปู.

5. โครงการ Read for the blind..

6. โครงการบริจาคเลือดกับสภากาชาด.

7. โครงการเมตตาธรรมค้ำจุนโลก.

8. โครงการพวงหรีดสานบุญ by Carenation..