การสร างส อม ลต ม เด ย ถาวร สายส บ

คมู่ อื บัตรสร้าคงสมู่ ุขือภบาัตพรส“รส้าบงสชุข.โภมาเดพล“”ส1บชวิท.โมยาเดลลยั ”: 11 ชวุมิทชยนาลยั :ก1 ชมุ ชน ก

โปรแกรมคัดกรองและดูแลภาวะซมึ เศร้า ก ข ก4าร9จัดการฟันผุด้วย สบช. โมเดล 1

ฝากไว้ใสใ่ จสขุ ภาพ 6

20

24

30

37

42

48 50 52

54

ข คูม่ ือบัตรสร้างสขุ ภาพ “สบช.โมเดล” 1 วิทยาลัย: 1 ชุมชน ข ค่มู ือบตั รสร้างสุขภาพ “สบช.โมเดล” 1 วทิ ยาลยั : 1 ชุมชน

“อโรคยา ปรมาลาภา” ความไม่มีโรคเป็นลาภ อันประเสริฐ เป็นพุทธวจนะที่คนไทยคุ้นเคยกันดี และเป็นที่ ปรารถนาของทุกคน หากแต่การดูแลสุขภาพให้แข็งแรง ลดโอกาส การเกิดโรคเป็นสิ่งที่ “ทำได้ไม่ยาก” แต่คนส่วนใหญ่จะบอกว่า “ยากที่จะทำ” โรคที่คุกคามสุขภาพของคนไทยและคนทั่วโลกใน ปัจจุบันนี้ นอกจากโรคโควิด-19 แล้วก็คือโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ท่สี ำคัญคอื โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

ศาสตราจารย์พิเศษ ดร. นพ.วิชัย เทียนถาวร อธิการบดี สถาบันพระบรมราชชนก เปน็ ผนู้ ำแนวคิดการคดั กรองและเฝ้าระวงั โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ปิงปองจราจรชีวิต 7 สี มาดำเนินงานเฝ้า ระวังควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โดยคัดกรอง ประชาชนตั้งแต่อายุ 15-60 ปี แยกบุคคลตามภาวะสุขภาพ เป็น กลุ่มปกติ (สีขาว) กลุ่มเสี่ยง (สีเขียวอ่อน) กลุ่มป่วย 2 ระดับ (สี เหลือง ส้ม) และกลุ่มป่วยระดับรุนแรง (สีแดง) และกลุ่มที่มี ภาวะแทรกซ้อน (สีดำ) โดยมีเป้าหมายว่า กลุ่มสีขาว ต้องไม่เป็น ผู้ป่วยรายใหม่โดยเน้นการสร้างสุขภาพ “3 อ. 3 ลด” กลุ่มเส่ียง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เน้นการสร้างสุขภาพด้วยเพื่อให้เป็นกลุ่ม ปกติและไม่เปน็ ผู้ปว่ ย กลุ่มป่วยลดความรุนแรงโดยการรบั ประทาน ยาตามแผนการรักษาให้ครบถ้วน ถูกต้องร่วมกับการสร้างสุขภาพ เพื่อลดความรุนแรงจากสีแดงเป็นสีส้ม สีเหลือง สีเขียวเข้ม ส่วน

ค่มู อื บตั รสร้าคงสู่มขุอื ภบาตั พรส“รส้าบงสชขุ.โภมาเดพล“”ส1บชวิท.โมยาเดลลัย”: 11 ชวุมิทชยนาลัย:11 ชมุ ชน 1

กลุ่มป่วยระดับรุนแรงต้องลดและป้องกันภาวะแทรกซ้อน ได้แก่ โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด หลอดเลือดสมอง อัมพาต ไตวาย ตา บอด เน้ือตายทป่ี ลายน้วิ มือน้ิวเทา้ โดยเน้นการมสี ว่ นรว่ มของบคุ คล และสร้างความตระหนักรายบคุ คล โดยมีการศึกษาประสิทธิผลของ โปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้ปิงปองจราจร ชีวิต 7 สี พบว่าสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของ ประชาชนและทำให้ระดับความรุนแรงของโรคลดลง และเมื่อเกิด การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ -19 จึงได้นำแนวคิดปิงปองจราจรชีวิต 7 สมี าใชใ้ นการคัดกรองและเฝ้าระวงั โรคโควิด-19 ซ่ึงเปน็ โรคตดิ ต่อ และได้มีนโยบายให้วิทยาลัยในสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก ซ่ึง ประกอบด้วย วิทยาลัยพยาบาล 30 แห่ง วิทยาลัยการสาธารณสุข 7 แห่ง วิทยาลัยเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุขกาญจนา ภิเษก และวิทยาลัยการแพทย์แผนไทยอภัยภูเบศร์ รวม 39 วิทยาลัยนำแนวคิดปิงปองจราจรชีวิต 7 สีในการคัดกรองและเฝ้า ระวังโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและโรคติดต่อ มาบูรณาการกับพันธกิจ สถาบันอุดมศึกษาของสถาบันเพือ่ การสร้างสุขภาวะชุมชน เกิดเปน็ “สบช.โมเดล”

ปิงปองจราจรชีวิต 7 สี นำเครื่องวัดระดับน้ำตาลและ เครื่องวัดความดันโลหิต มาใช้ในการคัดกรองและเฝ้าระวังโรค ไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ เบาหวานและความดันโลหิตสูงแล้ว ทำการแยกประชาชนตามผลการตรวจเป็นปงิ ปองสีตา่ งๆ ดงั น้ี สขี าว มรี ะดับน้ำตาลไม่เกิน 100 mg/dl และความดนั โลหติ ตัวบน ไมเ่ กิน 120 ตัวล่างไมเ่ กิน 80

2 ค่มู อื บัตรสร้างสุขภาพ “สบช.คโมู่มเือดบลตั ”รส1รว้าิทงสยุขาลภัยา:พ1“ชสมุ บชชน.โมเดล” 1 วทิ ยาลยั : 1 ชุมชน 2

สเี ขียวออ่ น มีระดับนำ้ ตาลอยรู่ ะหวา่ ง 100-125 mg/dl และความ ดันโลหติ ตวั บน ไมเ่ กนิ 139 ตวั ล่างไมเ่ กิน 89 สีเขียวเข้ม เป็นผู้ที่ป่วยด้วยโรคเบาหวาน หรือความดันโลหิตสูง และได้รับการรักษาด้วยยาอยู่ สามารถควบคุมระดับน้ำตาลไม่เกิน 125 mg/dl และความดนั โลหติ ตัวบน ไมเ่ กนิ 139 ตัวล่างไมเ่ กนิ 89 สีเหลือง มีระดับน้ำตาลอยู่ระหว่าง 126-154 mg/dl และ ค่า HbA1C ไม่เกิน 7 % และความดันโลหิตอยู่ระหว่าง 140/90- 159/99 mmHg สีส้ม มีระดับน้ำตาลอยู่ระหว่าง 155-182 mg/dl และค่า HbA1C 7-8 % และความดนั โลหิตอย่รู ะหว่าง 160/100-179/109 mmHg สีแดง มีระดับน้ำตาลสงู กว่า 183 mg/dl และค่า HbA1C มากกว่า 8 % และความดนั โลหิตสูงกวา่ 180/110 mmHg สีดำ เป็นผู้ป่วยเบาหวาน หรือความดันโลหิตสูงที่มีโรคแทรกซ้อน ไดแ้ ก่ ไตวายเร้ือรัง เบาหวานขึน้ ตา เท้ามีแผลเรื้อรัง

คู่มือบตั รสร้าคงสู่มุขือภบาัตพรส“รสา้ บงสชุข.โภมาเดพล“”ส1บชวทิ.โมยาเดลลยั ”: 11 ชวุมิทชยนาลัย:31 ชมุ ชน 3

ปิงปองจราจรชีวิต 7 สี ในการคัดกรองและเฝ้าระวังโรค โควิด-19 มีเครื่องมือที่ใช้คัดกรองคือปรอทวัดไข้และชุดตรวจ ATK มีเป้าหมายในการคัดกรองประชาชนทุกคนในสถานการณ์แพร่ ระบาดของโรค แต่ต้องเฝ้าระวังเป็นพิเศษในกลุ่มที่เป็นผู้สูงอายุ หญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีโรคเรื้อรัง เมื่อวัดระดับน้ำตาลในเลือดและ วัดความดันโลหิตของประชาชนแล้ว ทำการแยกประชาชนตาม ผลการตรวจเปน็ ปงิ ปองสตี า่ งๆ ดงั นี้ สขี าว เปน็ คนปกตทิ ต่ี รวจไม่พบเช้อื สเี ขียวออ่ น เปน็ ผู้สมั ผสั เช้อื มีผลตรวจ ATK เป็นลบ แตเ่ ปน็ กลมุ่ 608 (ผสู้ งู อายุ หรอื หญิงตัง้ ครรภ์ หรือมโี รคเร้ือรัง 7 โรคทเ่ี ป็นกล่มุ เส่ยี ง) สเี ขยี วเข้ม เปน็ ผู้สมั ผัสเชอื้ ผลตรวจ ATK เป็นบวก แตไ่ ม่มอี าการ สีเหลือง เปน็ ผู้ปว่ ยทมี่ ผี ลตรวจ ATK เป็นบวก และ/หรือตรวจ ยืนยันด้วย RT-PCR เปน็ บวก แตอ่ าการไม่รนุ แรง มีอุณหภมู อิ ยู่ ระหวา่ ง 37.5-38 องศาเซลเซียส สีส้ม เป็นผู้ป่วยทีม่ ีอาการไม่รุนแรง แต่เป็นกลุ่ม 608 มีอุณหภมู ิอยู่ ระหวา่ ง 38-38.9 องศาเซลเซียส อาจตรวจพบปอดอักเสบ สีแดง เป็นผู้ป่วยที่มีอาการเหนื่อยหอบ ไข้สูงกว่า 39 องศา เซลเซียส ค่าออกซิเจนในเลือดต่ำกวา่ 95% ตรวจพบรอยโรคทป่ี อด สดี ำ ผู้ป่วยอาการรนุ แรง มีโรคแทรกซ้อน ตอ้ งใช้เคร่ืองช่วยหายใจ

ศาสตราจารย์พิเศษ ดร. นพ.วิชัย เทียนถาวร อธิการบดี สถาบันพระบรมราชชนก ให้ความสำคัญกับการสร้างสุขภาพ มากกว่าการซ่อมสุขภาพ ตามสโลแกน “สร้างนำซ่อม” จึงได้ขยาย

4 ค่มู อื บัตรสรา้ งสขุ ภาพ “สบช.คโมู่มเอื ดบลตั ”รส1รว้าิทงสยขุาลภัยา:พ1“ชสุมบชชน.โมเดล” 1 วทิ ยาลัย: 1 ชุมชน 4

แนวคิด สบช.โมเดล ในการคัดกรองและเฝ้าระวังโรคทั้งโรคติดต่อ และโรคไม่ติดต่อ มาสู่การสร้างเสริมสุขภาพ ด้วยการสนับสนุนให้ ประชาชนมีบัตรสร้างสุขภาพ การใช้บัตรสร้างสุขภาพจะช่วยให้ ประชาชนมีสุขภาพที่ดี ปราศจากโรค โดยมีสถานีหรือกิจกรรม 7 อย่าง ได้แก่ 1) การได้รับวัคซีนครบถ้วนทุกช่วงวัย 2) การตรวจ สุขภาพอย่างสม่ำเสมอ 3) หากเกิดการเจ็บป่วยได้รับการรักษาตาม สิทธิ 4) การสรา้ งเสรมิ สุขภาพดว้ ย 3 อ. (อาหาร ออกกำลังกายและ อารมณ์) 3 ล. (ลดเหล้า ลดบุหรี่ และลดอ้วน) 5) ตรวจคัดกรอง เบาหวานและความดันโลหิตตามแนวคิดปิงปองจราจรชีวิต 7 สี อย่างสม่ำเสมอ 6) สามารถใช้บริการการแพทย์ฉุกเฉิน 1669 ได้ อย่างถูกต้อง และ 7) การตรวจคัดกรองและดูแลตนเองเมื่อเกิดโรค ระบาดได้อย่างเหมาะสม ซึ่งจะส่งผลให้ปลอดภัยจากโรคและมี สขุ ภาพท่ีดี

คู่มือบตั รสร้าคงสู่มขุอื ภบาตั พรส“รส้าบงสชุข.โภมาเดพล“”ส1บชวทิ.โมยาเดลลยั ”: 11 ชวุมิทชยนาลยั :51 ชุมชน 5

วคั ซีน (Vaccine) วัคซีนคือสารชนิดหนึ่งที่ฉีดเข้าไปร่างกาย เพื่อสร้าง ภูมคิ มุ้ กนั โรค ตา่ งๆ ส่วนใหญท่ ำมาจาก เชื้อโรค แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ทำ จาก เชื้อโรคที่ตายแล้วมีสารของเช้ือ โรคมาฉีดเข้าตัวเรา และทำจากเชื้อ โรคที่อ่อนแอ ทำให้มันสลบพิษจะได้ไม่ รุนแรง เมื่อฉีดเข้าไปใน ร่างกายคนเรา

รา่ งกายเรากจ็ ะสรา้ งภูมคิ มุ้ กัน กับโรคนัน้ ๆ ความสำคัญของการรับวัคซนี

วัคซีน (vaccine) มีความสำคัญต่อการหยุดยั้งการแพร่ ระบาดของโรคติดเชือ้ หลายชนดิ จึงนับไดว้ ่าวคั ซีนมีความสำคญั ตอ่ การดำรงชีวิตของมนุษย์ไม่แพ้ยารักษาโรค ถึงแม้ว่าวัคซีนหลาย ชนิดจะถูกพิสูจน์แล้วว่ามีความปลอดภัยในการนำไปใช้กับมนุษย์ ก็ตาม แต่ยังคงพบว่าวัคซีนบางชนิดก่อให้เกิดอันตรายที่รุนแรงต่อ ผู้ใช้ ดังนั้นในปัจจุบันจึงได้มีการพัฒนาเทคโนโลยีที่ช่วยเพิ่มความ ปลอดภยั ใหก้ บั วคั ซนี เชน่ วัคซีนรนุ่ ใหมท่ ปี่ ระกอบด้วยrecombinant protein ที่บริสุทธิ์ หรือเป็นวัคซีนเชื่อมผนึก (conjugated vaccine) การทำให้วัคซีนมีประโยชน์และความปลอดภัยสูงขึ้นจะทำให้ผู้ใช้ วัคซีนมีความมั่นใจมากขึ้นว่าวัคซีนสามารถป้องกันโรคได้ดี และมี

6 ค่มู อื บตั รสรา้ งสุขภาพ “สบช.คโมู่มเือดบลัต”รส1รว้าทิ งสยขุาลภยัา:พ1“ชสุมบชชน.โมเดล” 1 วทิ ยาลัย: 1 ชุมชน 6

ความเสี่ยงในการเกิดโรคจากวัคซีนลดลง ความรู้ในด้านต่างๆ ท่ี เกี่ยวข้องวัคซีนมีความสำคัญต่อการนำวัคซีนไปใช้ประโยชน์ และ เป็นแนวทางในการพฒั นาวคั ซีนในอนาคต

กระทรวงสาธารณสุขไดก้ ำหนดให้มบี ริการวคั ซนี พ้นื ฐาน แก่บุคคลทกุ ชว่ งวยั จำแนกตามแต่ละชว่ งวัยไดด้ งั น้ี วัคซีนสำหรับหญิงตง้ั ครรภ์

การฉีดวัคซีน จะช่วยเพิ่มภูมิคุ้มกัน สร้างความแข็งแรงให้ทั้งหญิงตั้งครรภ์และ ทารก หลักการวางแผนการฉีดวัคซีนคือ ควรฉีดแต่ละเข็มห่างกัน 2- 4 สัปดาห์ ตามคำแนะนำของสูติแพทย์ และฉีด วัคซีนตัวที่สำคัญก่อน โดยวัคซีนที่จำเป็น สำหรับหญิงตั้งครรภ์ แบ่งการฉีดวัคซีนเป็น 2 ระยะ คือ ระยะ เตรียมการตง้ั ครรภ์ (กอ่ นตั้งครรภ)์ และวคั ซนี ในระยะตัง้ ครรภ์

1. วคั ซีนระยะเตรยี มการต้งั ครรภ์ (กอ่ นต้งั ครรภ)์ ผู้หญิงทุกคนควรได้รับการฉีดวัคซีนที่จำเป็นก่อนที่จะ ตั้งครรภ์ เพื่อเป็นการเตรียมพร้อม และลดอุบัติการณ์ของการเกิด ภาวะแทรกซ้อนทั้งหญิงตั้งครรภ์และทารก ดังนั้นจึงเป็นสิ่งสำคัญ ทผ่ี ู้หญงิ ทกุ คนควรมีการฉีดวัคซีนท่จี ำเป็นให้ครบ โดยมีวัคซีน ดังนี้

1.1 วัคซีนหัดเยอรมัน สามารถป้องกันการเกิดโรค หัดเยอรมันแต่กำเนิดในทารกหลังคลอด ซึ่งหากมีการติดเช้ือ หัดเยอรมันขณะตั้งครรภ์จะทำให้ทารกมคี วามผดิ ปกติอวัยวะพิการ

คู่มอื บตั รสร้าคงสู่มุขือภบาัตพรส“รส้าบงสชุข.โภมาเดพล“”ส1บชวทิ.โมยาเดลลยั ”: 11 ชวุมิทชยนาลยั :71 ชมุ ชน 7

เชน่ ตาบอด หหู นวกได้ ทส่ี ำคญั ควรคมุ กำเนิดอยา่ งน้อย 1-3 เดือน หลังได้รับวัคซีน ซึ่งขึ้นอยู่กับยี่ห้อของวัคซีน สามารถสอบถาม รายละเอียดได้จากสูติแพทย์ เนื่องจากเป็นวัคซีนไวรัสที่มีชีวิต อาจ สง่ ผลใหท้ ารกในครรภ์เกดิ ความพิการจากวัคซีนได้

1.2 วัคซีนโรคสุกใส หากติดเชื้อสุกใสในช่วงครรภ์ 3 เดือนแรก จะเสี่ยงแทง้ ทารกสมองฝอ่ กระดกู ขาพิการ หากติดช่วง ใกล้คลอด หญิงตั้งครรภ์มักมีภาวะปอดอักเสบหรือระบบหายใจ ล้มเหลวถึงแก่ชีวิตได้ดังนั้นหากกำลังวางแผนจะมีลูกควรท้ิง ระยะเวลาการตง้ั ครรภห์ ลังการฉดี วัคซีนอย่างน้อย 1-3 เดอื น

1.3 วัคซีนไวรัสตับอักเสบ บี การติดเชื้อไวรัสตับ อักเสบบี อาจทำให้เกิดโรคตับอักเสบเฉียบพลัน และอาจเกิด ตับวายได้ หรือบางคนอาจกลายเป็นพาหะของโรค เชื้อนี้สามารถ ติดจากแม่สู่ลูกได้ในขณะตั้งครรภ์ ดังนั้นการตรวจเลือดสามารถ ทราบว่าเป็นพาหะของเชื้อโรคนี้หรือไม่ หรือดูว่ามีภูมิคุ้มกันหรือยงั เพื่อพิจารณาให้รับวัคซนี ไวรสั ตับอักเสบบีก่อนการตั้งครรภ์ โดยฉีด จำนวน 3 เข็ม มีระยะเวลาการฉีด คือ ฉีดเข็มที่ 1 แล้วอีก 1 เดือน ฉีดเข็มที่ 2 จากนั้นอีก 6 เดือนจึงฉีดเข็มที่ 3 แต่ถ้าตรวจพบว่าเป็น พาหะหรือติดเชื้อ พอหลังคลอดลูกภายใน 8 ชม. คุณหมอจะฉีด วคั ซนี ตัวน้ีให้กบั ทารก เพ่อื เร่งภมู ิต่อต้านโรคได้ทันเชน่ กัน

2. วัคซนี ในระยะต้ังครรภ์ 2.1 วัคซีนป้องกันคอตีบ ไอกรน บาดทะยัก ซึ่งถ้าหญิง ตั้งครรภ์เป็นโรคคอตีบ จะมีความรุนแรงทำให้หญิงตั้งครรภ์และ ทารกเสยี ชีวติ ไดจ้ ากการหายใจไมไ่ ด้ กลา้ มเนื้อหัวใจอกั เสบ สำหรบั

8 ค่มู อื บตั รสรา้ งสุขภาพ “สบช.คโม่มู เอื ดบลตั ”รส1รว้าทิ งสยุขาลภัยา:พ1“ชสมุ บชชน.โมเดล” 1 วิทยาลยั : 1 ชุมชน 8

โรคไอกรน เมื่อหญิงตั้งครรภต์ ิดเชื้อทารกจะมรี ะบบหายใจล้มเหลว เสียชีวิตได้ และโรคบาดทะยัก หญิงตั้งครรภ์อาจมีการติดเชื้อจาก บาดแผล ที่อาจเกิดข้ึนกับหญิงตัง้ ครรภ์และทารกตอนคลอด ดังนั้น จึงเป็นความจำเป็นที่หญิงตั้งครรภ์ควรฉีดวัคซีนป้องกันคอตีบ ไอ กรน บาดทะยักให้ได้ตามข้อกำหนดของกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 1-3 เขม็ ตามประวตั ิการได้รบั วัคซนี ของคณุ แมก่ อ่ นตั้งครรภ์

2.2 วัคซีนไข้หวัดใหญ่ชนิดเชื้อตาย เพื่อป้องกันการติด เชื้อไข้หวัดใหญ่ซึ่งเป็นอันตรายมากต่อหญิงตั้งครรภ์ เพราะทำให้ เกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง เช่น ปอดบวม เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ หรือหัวใจวาย โดยกำหนดให้หญิงตั้งครรภ์ทุกคนต้องได้รับการฉีด วัคซีนไข้หวัดใหญ่ 1 ครั้ง โดยให้ฉีดตั้งแต่ตั้งครรภ์ได้ 4 เดือนขึ้นไป (ตั้งแต่อายุครรภ์ 14 สัปดาห)์

ในกรณีที่มีการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่แล้วหญิง ตั้งครรภ์เคยได้รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ระบาดมาก่อนแล้ว หญิงตั้งครรภ์ยังต้องได้รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล เนื่องจาก วัคซีนไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ระบาดสามารถป้องกันการเจ็บป่วยจาก ไขห้ วดั ใหญส่ ายพนั ธรุ์ ะบาดเท่านั้น

ข้อควรระวัง !!! วัคซีนที่ห้ามฉีดเมื่อคุณแม่ตั้งครรภ์แล้ว ได้แก่ วัคซีนไข้

สมองอักเสบ โปลิโอ วัณโรค งูสวัด โรคสุกใส หัด คางทูม หัดเยอรมนั ซงึ่ ถ้าฉีดขณะที่คณุ แมต่ งั้ ครรภแ์ ล้วจะส่งผลให้ลกู ในครรภ์เปน็ อันตราย และอาจพิการได้

(สามารถสอบถามรายละเอียดไดก้ บั สตู ิแพทย)์

คมู่ อื บตั รสร้าคงสมู่ ขุอื ภบาตั พรส“รส้าบงสชุข.โภมาเดพล“”ส1บชวิท.โมยาเดลลัย”: 11 ชวุมทิ ชยนาลยั :91 ชมุ ชน 9

วัคซีนตงั้ แตใ่ นครรภจ์ นถงึ 12 ปี กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดให้มี บริการวัคซีนพื้นฐานที่เด็กทุกคนควร ได้รับช่วงอายุที่เหมาะสม ซึ่งใน

ปจั จุบันประกอบดว้ ยวัคซีน 10 ชนิด ไดแ้ ก่

  1. วัคซีนวัณโรค (BCG) 2) วัคซีนตับอักเสบบี (HB) 3) วัคซีนรวมคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน-ตับ อักเสบบี (DTP-HB) 4) วัคซีนโปลิโอ (OPV) 5) วัคซีน โปลิโอชนิดฉีด (IPV) 6) วัคซีน รวมหัด-คางทูม-หัด เยอรมัน (MMR) 7) วัคซีนไขสมองอักเสบเจอี (LAJE) 8) วัคซีนคอ ตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน (DTP) 9) วัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก (HPV) และ 10) วัคซีนคอตีบ-บาดทะยัก (dT) โดยคำนึงถึงโอกาส เสี่ยงในการเกิดโรค โอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อน และความสามารถ ในการตอบสนองการกระตุน้ ของวัคซนี ในและวัย สรปุ ดังตารางท่ี 1

ตารางท่ี 1 ตารางวคั ซีนตามเกณฑ์ปกติต้ังแตแ่ รกเกดิ ถึง 12 ปี อายุ วคั ซีนท่ใี ห้ ข้อแนะนำ แรกเกดิ HB1 (วคั ซนี ปอ้ งกนั โรคตบั อักเสบบี) ควรให้เรว็ ทีส่ ดุ ภายใน 24 ชวั่ โมงหลงั คลอด BCG (วัคซนี ป้องกันวณั โรค) ฉดี ให้เด็กก่อนออกจาก โรงพยาบาล เฉพาะรายทค่ี ลอดจาก 1 เดือน HB2 (วคั ซีนปอ้ งกันโรคตบั อกั เสบบี) มารดาท่เี ปน็ พาหะของ ไวรัสตบั อักเสบบี

10 คมู่ ือบัตรสร้างสขุ ภาพ “สบช.โมเดล” 1 วิทยาลยั : 1 ชุมชน 10 คู่มอื บตั รสรา้ งสขุ ภาพ “สบช.โมเดล” 1 วิทยาลัย: 1 ชมุ ชน

ค่มู อื บตั รสร้างสขุ ภาพ “สบช.โมเดล” 1 วทิ ยาลยั : 1 ชมุ ชน 11

อายุ วคั ซีนที่ให้ ข้อแนะนำ DTP5 (วัคซีนรวมปอ้ งกนั โรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน)

4 ปี OPV5 (วัคซนี ปอ้ งกันโรคโปลโิ อชนิดรับประทาน)

7 ปี MMR (วคั ซนี รวมป้องกนั โรคหัด-คาง ทมู -หัดเยอรมนั ) เฉพาะรายท่ีไดร้ ับวคั ซีน (ป.1) HB (วัคซีนป้องกนั โรคตับอักเสบบี) ไมค่ รบตามเกณฑ์ LAJE (วคั ซนี ปอ้ งกันโรคไข้สมองอักเสบเจอชี นดิ เชอื้ เป็น 9 ปี ออ่ นฤทธ)ิ์ - ใหใ้ นกรณีทไ่ี ม่มหี ลกั 11 ปี IPV (วัคซนี ป้องกันโรคโปลโิ อชนิดฉดี ) ฐานว่าเคยไดร้ บั เมือ่ แรก (เฉพาะ dT (วคั ซีนปอ้ งกนั โรคคอตีบ-บาดทะยัก) เกิดและไมม่ ีแผลเปน็ นกั เรยี น OPV (วคั ซีนปอ้ งกนั โรคโปลิโอชนดิ รบั ประทาน) - ไมใ่ ห้ในเด็กติดเช้ือเอช หญงิ BCG (วัคซนี ป้องกันวัณโรค) ไอวที ี่มอี าการของโรค ป.5) เอดส์ 12 ปี Influenza (วัคซนี ป้องกนั ไข้หวัดใหญ่) - ในเด็กอายุต่ำกวา่ 9 ปี (ป.6) HPV1 และ HPV2 (วัคซนี ปองกัน มะเร็งปากมดลูกจาก ให้ 2 เขม็ ห่างกัน 1 เชื้อเอชพวี )ี เดอื นในคร้งั แรก dT (วคั ซีนรวมปองกนั โรคคอตบี -บาดทะยัก) - หลังจากน้ันใหฉ้ ีดปีละ ครงั้ - ระยะหา งระหวา งเข็ม หา งกนั อยางนอย 6-12 เดือน - กรณีเดก็ หญงิ ไทยท่ี ไมไดอยใู นระบบการ ศึกษาใหฉีดท่อี ายุ 11-12 ป

12 ค่มู อื บัตรสรา้ งสขุ ภาพ “สบช.คโม่มู เือดบลตั ”รส1รว้าทิ งสยุขาลภัยา:พ1“ชสุมบชชน.โมเดล” 1 วทิ ยาลยั : 1 ชุมชน 12

วัคซีนสำหรบั ผูใ้ หญ่

ตารางที่ 2 วัคซีนสำหรบั ผู้ใหญ่ท่ใี ห้บริการในแผนงานสร้างเสรมิ ภมู ิค้มุ กันโรคของประเทศไทย จำนวนเขม็ ทตี่ ้องให้/ กล่มุ เป้าหมาย วคั ซีนท่ใี ห้ ขอ้ แนะนำ 1.หญิงมีครรภ์ dT Influenza - รายละเอยี ดตามวัคซีนสำหรับหญิงตั้งครรภ์ 2. บุคลากร - 1 ครั้ง ในทุกการต้ังครรภ์ ทางการแพทย์ MR - ใหร้ บั วัคซีนไขห้ วัดใหญเ่ ม่ืออายคุ รรภค์ รบ 4 เดือน โดย 3.บคุ คลทวั่ ไป Influenza อาจเป็นสายพนั ธุเ์ หนือ หรือใต้ dT - กรณหี ญิงตั้งครรภเ์ คยได้รับวัคซนี ไข้หวัดใหญส่ ายพนั ธุ์ ระบาด (Monovalent pandemic influenza vaccine) มาก่อนแล้วยังคงต้องได้รบั วคั ซีนไขห้ วัดใหญ่ ตามฤดกู าล (Seasonal influenza vaccine) เนอ่ื งจาก วัคซนี ไข้หวดั ใหญ่สายพนั ธุ์ระบาดสามารถปอ้ งกนั การ เจบ็ ปว่ ยจากไข้หวัดใหญ่สายพันธรุ์ ะบาดเทา่ น้ัน - 1 คร้ัง - ใหแ้ กบ่ คุ ลากรที่สัมผัสผู้ป่วยรวมถึงนกั ศกึ ษาสาขา วชิ า แพทยแ์ ละสาธารณสุข - 1 ครงั้ (ทกุ ป)ี - 1 ครง้ั เมือ่ อายคุ รบ 20, 30, 40, 50, 60,70,80,90 และ 100 ปี - หากไมเ่ คยหรอื เคยไดร้ บั วคั ซนี ท่มี สี ่วนประกอบของคอ ตีบไม่ครบ 3 คร้ัง ให้วัคซนี dT จำนวน 3 คร้งั หา่ งกนั 0, 1, 6 เดือน จากน้นั นดั รับวัคซีนเขม็ กระตุน้ ทุก 10 ปี

คมู่ ือบัตรสร้างสขุ ภาพ “สบช.โมเดล” 1 วิทยาลัย: 1 ชุมชน 13

ค่มู ือบัตรสร้างสขุ ภาพ “สบช.โมเดล” 1 วิทยาลัย: 1 ชุมชน 13

วคั ซีนสำหรับผสู้ ูงอายุ เนื่องจากปัจจุบันประเทศไทยกำลังเปลี่ยนผ่าน

ไปยังสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ จึงจำเป็นที่เราควรหัน มาให้ความสำคัญและใสใ่ จในคุณภาพชวี ติ ของผู้สูงอายุ เพอ่ื ใหท้ ่านมคี วามสุข ปราศจากโรคภยั และเป็นรม่ โพธิ์ ร่มไทรให้ลูกหลาน ผู้สูงอายุเป็นวัยที่มีภูมิคุ้มกันต่ำกว่า คนวัยหนุ่มสาว ทำให้มีโอกาสติดเชื้อ โรคได้ง่าย รวมถึง มีการติดเชื้อรุนแรง มีภาวะแทรกซ้อนและต้องรักษาตัว ในโรงพยาบาล

ตารางท่ี 3 วัคซนี สำหรบั ผูส้ งู อายุ วัคซีนท่ีให้ ขอ้ แนะนำ วคั ซนี ป้องกนั โรคไขห้ วดั ใหญ่ ฉีดวคั ซีนป้องกนั โรคไข้หวดั ใหญ่ 1 เขม็ ทุกปี วคั ซีนป้องกนั โรคปอดบวม ฉีดวคั ซีนปองกนั โรคปอดบวมชนิด 13 สายพนั ธุ 1 เข็ม ตามดวยชนดิ 23 สายพันธุ 1 เข็ม หางกัน 1 ป วคั ซนี ปอ้ งกันโรคงูสวดั ฉีดวคั ซนี ป้องกันโรคงูสวดั 1 เข็ม เพียงคร้ังเดียว โดย แนะนำให้ฉีดในผ้สู ูงอายทุ มี่ ีอายมุ ากกว่า 60 ปที ้งั ท่ีมี ประวตั ิเคยเป็นอีสุกอใี สและไม่เคยเป็นอสี ุกอีใส วคั ซนี ปอ้ งกนั โรคบาดทะยัก- ฉดี วัคซีนปอ้ งกันโรคบาดทะยกั -คอตบี -ไอกรน 1 เข็ม คอตบี -ไอกรน และวคั ซนี ป้องกันโรคบาดทะยัก-คอตบี ทกุ 10 ปี

หมายเหตุ: การรับวัคซนี แต่ละชนิด จำนวนและระยะเวลาของการ ฉีดแตกต่างกัน ควรปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกรก่อนฉีดวัคซีนเพื่อความ ปลอดภยั

14 ค่มู ือบัตรสร้างสขุ ภาพ “สบช.คโมู่มเอื ดบลตั ”รส1รว้าทิ งสยุขาลภยัา:พ1“ชสมุ บชชน.โมเดล” 1 วิทยาลัย: 1 ชุมชน 14

วคั ซีนตามโรคอุบตั ใิ หม่ โรคอุบตั ใิ หม่โดยเฉพาะโรคตดิ เชือ้ ระบบทางเดินหายใจ เชน่ การตดิ เชื้อโคโรน่าไวรัส ส่งผลกระทบในวงกว้างทั่วโลกและไม่มีมาตรฐาน

การรักษาที่ชัดเจน การดูแลรักษาผู้ป่วยจึง เป็นไปตามความเห็นผเู้ ชย่ี วชาญที่เกี่ยวข้องใน ส่วนต่างๆ เป็นผู้วางแผน ให้การดูแลรักษา ตรวจสอบ และติดตามผลผู้ป่วย การบันทึก ข้อมูลผู้ป่วยจึงมีความสำคัญในการปรับปรุง และพัฒนาการรักษา ผู้ป่วยเพื่อให้ ไดแ้ นวทางการรักษาผู้ป่วยโรคอุบัติ ใหม่อย่างเหมาะสม แต่การป้องกันเบื้องต้นที่ประชาชน สามารถทำได้คือการไดร้ บั วัคซนี เพอ่ื ป้องกันเชือ้ covid-19 วัคซนี ป้องกันโรคโควิด-19 ในปัจจุบันมี 4 ชนดิ ด้วยกัน ไดแ้ ก่ 1. วัคซนี ชนดิ สารพนั ธกุ รรม ได้แก่ วัคซีนของ บริษัท Pfizer และ Moderna จากข้อมูลใน ปัจจุบันวัคซีนชนิดนี้มีประสิทธิภาพในการป้องกนั โรค covid-19 ประมาณ 95 % ปอ้ งกนั การป่วยรุนแรงและป้องกัน การเสียชวี ติ ได้ 100 % วคั ซีนของบริษทั Pfizer ควรได้รบั การฉีด 2 เข็มเข้ากล้ามเน้ือห่างกัน 3 สัปดาห์ วัคซีนของบริษัท Moderna ควรได้รบั การฉดี 2 เขม็ เข้ากลา้ มเนอื้ ห่างกนั 4 สปั ดาห์

คมู่ ือบตั รสร้าคงสมู่ ุขอื ภบาตั พรส“รสา้ บงสชขุ.โภมาเดพล“”ส1บชวทิ.โมยาเดลลยั ”: 11 ชวุมิทชยนาลัย:115ชุมชน 15

2. วคั ซีนชนิดใชไ้ วรัสเป็นพาหะ (Recombinant viral vector vaccine) ได้แก่ วัคซีนของบริษัท Astra Zeneca มี ประสิทธิภาพป้องกันอาการประมาณ 70-80 % ป้องกันการ เสียชีวิตได้ 100% และวัคซีนของบริษัท Johnson and Johnson มีประสิทธิภาพป้องกันอาการประมาณ 64-72 %

3. วัคซีนที่ทำจากโปรตีนส่วนหนึ่งของเชื้อ (Protein subunit vaccine) ได้แก่ วัคซนี ของบรษิ ทั Novavax ซึ่งผลติ จาก baculovirus มีประสิทธิภาพป้องกันอาการประมาณ 60-90 % และปอ้ งกนั การเสยี ชีวติ ได้ 100%

4. วัคซีนชนิดเชื้อตาย (Inactivated vaccine) ได้แก่ วัคซีนของบริษัท Sinovac มีประสิทธิภาพป้องกันอาการประมาณ 50-70 % และปอ้ งกนั การเสียชวี ิตได้ 100 % ประโยชนข์ องการฉดี วคั ซีนโควิด

1. เพื่อเพิ่มภูมิคุ้มกัน การฉีดวัคซีนช่วยกระตุ้นร่างกายให้ สรา้ งภูมคิ มุ้ กันต่อเชื้อไวรสั

2. ลดอัตราการเสียชีวิต ประสิทธิผลของวัคซีนสามารถ ช่วยลดความรุนแรงหากติดเชอ้ื และลดอัตราการเสยี ชีวิตได้

3. ป้องกันการป่วยหนัก และลดอัตราการรับการรักษาใน โรงพยาบาลเปน็ เวลานานๆ

4. สร้างภูมิคุ้มกันหมู่ การฉีดวัคซีนเป็นการเพิ่มภูมิคุ้มกัน ใหก้ บั สังคม

5. ลดการติดเชื้อ โอกาสป่วยเป็นโรคน้อยลง และช่วยลด การแพร่ระบาดของเชื้อได้

16 ค่มู อื บัตรสร้างสุขภาพ “สบช.คโมู่มเอื ดบลัต”รส1รว้าิทงสยุขาลภยัา:พ1“ชสมุ บชชน.โมเดล” 1 วทิ ยาลัย: 1 ชุมชน 16

6. เมื่อประชาชนทุกคนปลอดภัยจากโควิด-19 จากการ ไดร้ ับวัคซนี ตามที่กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสุขกำหนดแล้ว หากมีอาการดังต่อไปนี้ หลังได้รับวัคซีน รีบไปพบแพทย์ ณ สถานพยาบาลใกล้บ้าน หรือโทร 1669 เพื่อรับบริการทาง การแพทย์ฉกุ เฉนิ

ไข้สูง หนาวส่นั ปวดศรี ษะรนุ แรง เหนื่อยแนน่ หนา้ อก หายใจไมส่ ะดวก หรอื หายใจไม่ออก

อาเจียน ผืน่ ข้ึนทัง้ ตวั มีจุดจำ้ เลอื ดออก ใบหนา้ เบ้ียว / มากกวา่ 5 ครงั้ ผวิ หนงั ลอก จำนวนมาก ปากเบี้ยว

แขนขาอ่อนแรง ตอ่ มนำ้ เหลืองโต ชัก / หมดสติ กลา้ มเนอื้ อ่อนแรง ไมส่ ามารถทนรงอตกวั ไจดา้ กนี้ประชาชนทุกคนก็ต้องปฏิบัติตัวตามหลัก D-M-H-T-T อีกด้วย ได้แก่

คมู่ อื บตั รสร้าคงสู่มขุอื ภบาัตพรส“รส้าบงสชุข.โภมาเดพล“”ส1บชวทิ.โมยาเดลลัย”: 11 ชวุมทิ ชยนาลยั :117ชมุ ชน 17

ย่อมาจาก Distancing คือการเว้นระยะห่างกับคน อื่นอยา่ งน้อย 1-2 เมตร

ย่อมาจาก Mask Wearing คือการสวมหน้ากาก ผ้าหรือหน้ากากอนามัยเพื่อลดการฟุ้งกระจายของ ละอองฝอย ยอ่ มาจาก Hand Washing คือการหมนั่ ลา้ งมือบ่อยๆ ทั้งน้ำสบู่ และเจลแอลกอฮอล์ฆ่าเชื้อ เพราะมีโอกาสที่ เราจะนำมามาสมั ผสั ใบหน้าโดยไมร่ ูต้ วั ได้ ยอ่ มาจาก Testing คอื ตรวจวดั อณุ หภูมิร่างกาย สม่ำเสมอ ทง้ั กอ่ นเข้าทำงาน ร้านสะดวกซื้อ และ หากทราบวา่ มปี ระวัติไปพน้ื ทีเ่ สย่ี ง ควรเขา้ รบั การตรวจโควิด-19 Thai Cha Na คือการสแกนแอปไทยชนะทุกครั้งที่ เดนิ ทางไปสถานทตี่ า่ งๆ และโหลดแอปหมอชนะพร้อม ลงทะเบียนหากทำได้ นอกจากวัคซีนที่กล่าวมาทั้งหมดแล้ว ยังมีวัคซีนอีก ประเภทคือ วัคซีนธรรมชาติ ซึ่งเป็นวัคซีนที่มีคุณภาพ ไม่มี อาการข้างเคียงและราคาไมแ่ พง นัน่ กค็ ือการมพี ฤติกรรมสขุ ภาพ ที่ดีอยู่เสมอ ด้วยหลัก 3 อ 3 ลด ได้แก่ ออกกำลังกาย อาหาร อารมณ์ ลดเหล้า ลดบุหรี่ และลดอ้วน หากปฏิบัติได้อย่าง สม่ำเสมอ กจ็ ะทำให้รา่ งกายมีภูมคิ ุ้มกันโรคท่ีเข้มแข็งได้

18 คู่มอื บตั รสรา้ งสขุ ภาพ “สบช.คโม่มู เอื ดบลัต”รส1รว้าทิ งสยขุาลภัยา:พ1“ชสมุ บชชน.โมเดล” 1 วิทยาลยั : 1 ชุมชน 18

อา งองิ กรมควบคมุ โรค กองโรคปองกนั ดวยวคั ซีน. (2562). แนวทางการ

ใหบ ริการวคั ซีนผใู หญฉบับปรบั ปรงุ .นนทบุร:ี กระทรวง สาธารณสขุ . กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสุข. (2564). กรมควบคุมโรค แนะประชาชนท่ีกําลังทยอยเดินทางกลับหลงั ปใ หม ยดึ หลกั D-M-H-T-T เพื่อปองกนั ตนเองจากโรคโควดิ 19. สบื คน 5 กรกฎาคม 2565, จากhttps://ddc.moph. go.th/brc/news. php?news=16434&deptcode=brc กล่มุ พฒั นาอนามยั แมแ่ ละเด็ก ศูนยอ์ นามยั ท่ี 7 ขอนแก่น. (2563). คูม อื แนวทางการดาํ เนนิ งานอนามัยแมและเดก็ เขต สุขภาพที่ 7.ขอนแกน:หจก.ขอนแกน การพมิ พ. พมิ พาภรณ กลั่นกลน่ิ (บรรณาธกิ าร). (2563). การพยาบาลเดก็ และวัยรุน. เชียงใหม; สมารทโคตรต้ิงแอนดเซอรว สิ . รม เยน็ ศักดท์ิ องจีน. วคั ซนี โควดิ -19 มีก่ีชนิด อะไรบา ง. สบื คน 5 กรกฎาคม 2565, จาก https://www.synphaet.co.th สถาบนั วัคซีนแหง ชาติ (องคก ารมหาชน). (2561). หลักสตู รเชิง ปฏบิ ตั ิการสําหรบั เจา หนา ทสี่ รางเสรมิ ภูมิคุมกันโรค. นนทบรุ ี; อมรนิ ทรพ ร้ินติ้ง แอนด พับลชิ ช่ิง

ค่มู อื บัตรสร้างสขุ ภาพ “สบช.โมเดล” 1 วทิ ยาลยั : 1 ชุมชน 19

คูม่ ือบัตรสรา้ งสขุ ภาพ “สบช.โมเดล” 1 วิทยาลัย: 1 ชมุ ชน 19

2.1 ความสำคัญของการตรวจสุขภาพประจำปี: มาตรการสำคัญ

“สรา้ งสขุ ภาพ นำซ่อมสุขภาพ” การตรวจสุขภาพประจำปี คือ การคัดกรองโรคเบื้องต้น

และเป็นการหาปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรค หากตรวจพบในระยะ เริ่มต้นจะได้รีบรักษาดูแล ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้ห่างไกลโรค ต่างๆ การตรวจสุขภาพประจำปี จึงมีประโยชน์ทั้งต่อตัวผู้รับการ ตรวจและแพทย์เพราะช่วยให้มีโอกาสป้องกันและรักษาก่อนที่โรค จะพัฒนาไปมากขนึ้ 2.2 การตรวจสขุ ภาพทจี่ ำเปน็ ในวยั เด็ก

เด็กอายุ 1 – 4 ปี เด็กอายุ 7 – 15 ปี

  1. ตรวจความสมบูรณ์ของเมด็ เลือดและ 1) ตรวจสมรรถภาพตบั เกล็ดเลอื ด 2) ตรวจการทำงานของไต
  2. ตรวจโรคพนั ธุกรรม เชน่ 3) ตรวจปัสสาวะ ธาลสั ซีเมยี ดาวน์ซินโดรม 4) ตรวจความสมบรู ณข์ องเมด็ เลอื ด
  3. ตรวจสุขภาพช่องปาก และเกลด็ เลือด
  4. เดก็ อายุ 4 – 7 ปี 5) ตรวจระดับนำ้ ตาลในเลือด และ
  5. ตรวจปสั สาวะ ไขมนั ในเลอื ด
  6. ตรวจหาค่าสายตาอตั โนมตั ิ 6) ตรวจอายุกระดกู และภาวะ
  7. ทดสอบตาบอดสี ความเป็นหนมุ่ สาวในรายทม่ี ขี อ้ บ่งช้ี
  8. ตรวจสขุ ภาพช่องปากและเอกซเรย์ ช่องปาก

คู่มือบตั รสร้างสขุ ภาพ “สบช.โมเดล” 1 วิทยาลยั : 1 ชุมชน 20

20 ค่มู อื บตั รสรา้ งสุขภาพ “สบช.โมเดล” 1 วทิ ยาลยั : 1 ชมุ ชน

2.3 การตรวจสขุ ภาพทีจ่ ำเป็นในวัยผใู้ หญ่

ชว่ งอายุ รายการตรวจสขุ ภาพ หมายเหตุ ตรวจรา่ งกายท่วั ไป วยั ผใู้ หญ่ ตรวจร่างกายท่ัวไป ได้แก่ ช่งั นำ้ หนกั อยา่ งน้อยปีละ 1 คร้ัง วดั ส่วนสูง BMI และวัดความดนั โลหิต ตรวจสายตา อายุ 40 – 60 ปี ตรวจสายตา ควรตรวจวัดสายตา 1 ครง้ั ตรวจคัดกรองมะเรง็ ทจี่ ำเปน็ อายุ 30 – 39 ปี ตรวจมะเร็งเต้านม ควรคลำเตา้ นม ควรตรวจทุก 3 ปี อายุ 40 ปีขน้ึ ไป ดว้ ยตนเอง หากมคี วามผิดปกตคิ วรรีบ ควรตรวจทุกปี ปรกึ ษาแพทย์ อายุ 30 – 65 ปี มะเร็งปากมดลูก ควรตรวจทุก 3 ปี อายุ 50 ปขี นึ้ ไป มะเรง็ ลำไส้ใหญ่ ควรตรวจอจุ จาระทุกปี การตรวจทางห้องปฏบิ ัติการ อายุ 18 – 60 ปี ตรวจหาภาวะซีด เพื่อให้การดูและ ควรตรวจหาภาวะซีด 1 รกั ษาที่เหมาะสม ครง้ั อายุ 20 ปีขึ้นไป ตรวจหาไขมันในเลือด ช่วยคัดกรอง ควรตรวจทกุ 5 ปี และป้องกันการเกิด โรคหลอดเลอื ดหวั ใจและสมอง อายุ 35 ปขี ึ้นไป ตรวจหาเบาหวาน ถ้าตรวจเจอเร็วจะ ควรตรวจทุก 3 ปี รักษาได้เร็ว ป้องกันและชะลอการเกดิ ภาวะแทรกซ้อนรนุ แรง หญิงชาย ตรวจคัดกรองโรคธาลัสซีเมยี ดาวนซ์ ิน ทงั้ คู่สามีและภรรยาที่ วยั เจริญพนั ธ์ท่ี โดรม ต้องการมบี ตุ รตรวจคดั ต้องการมีบุตร กรองก่อนการตัง้ ครรภ์ การตรวจคัดกรองธาลสั ซีเมียนั้น เพอื่ ดวู ่าสามี หรอื ภรรยา เป็นพาหะของโรคแบบ แอลฟ่า-ธาลัสซีเมียแฝง เบต้า-ธาลัสซีเมีย

คูม่ อื บตั รสร้าคงสูม่ ขุือภบาตั พรส“รส้าบงสชขุ.โภมาเดพล“”ส1บชวทิ.โมยาเดลลัย”: 11 ชวุมิทชยนาลัย:211ชุมชน 21

แฝง หรือ โฮโมซัยกัสฮีโมโกลบินอี หรือไม่ ถ้าไม่พบว่าเป็นพาหะ ของยีนชนิดใดชนิดหนึ่ง หรือเป็นพาะหะแค่ฝ่ายเดียว แสดงว่าไม่มี ความเสี่ยงสูงที่ลูกจะเกิดมาเป็นธาลัสซีเมียที่รุนแรง แต่ถ้าเป็น พาหะทง้ั คู่ แสดงวา่ มีความเสยี่ งท่ีจะให้กำเนิดลกู ท่ีเป็นโรครนุ แรงได้ แบบประเมินสภาวะสุขภาพของคนวัยทำงานที่จำเป็น สามารถคัดกรองไดด้ ้วยตนเองหรอื บคุ ลากรสาธารณสุข โดยใชแ้ บบ ประเมิน ภาวะซมึ เศร้า ความเสีย่ งโรคหัวใจและหลอดเลอื ด การติด บุหรี่ สุรา ยาและสารเสพติด เพื่อให้รับคำปรึกษาและการดูแลท่ี เหมาะสม

2.4 การตรวจสขุ ภาพทจ่ี ำเป็นในวัยผูส้ ูงอายุ

ช่วงอายุ รายการตรวจสุขภาพ หมายเหตุ ตรวจรา่ งกายท่วั ไป อยา่ งนอ้ ยปีละ 1 คร้ัง วยั ผู้สงู อายุ ตรวจร่างกายทว่ั ไป ได้แก่ ชง่ั นำ้ หนัก วัดสว่ นสูง BMI และวัดความดนั โลหิต ควรตรวจทกุ 2 – 4 ปี ตรวจสายตา ควรตรวจทุก 1-2 ปี อายุ 60 – 64 ปี ตรวจสายตา เพือ่ สง่ เสรมิ คุณภาพชวี ิต อายุ 65 ปขี น้ึ ไป และปอ้ งกันการเกดิ อุบัตเิ หตจุ ากการ ควรตรวจทกุ 3 ปี มองไมเ่ หน็ ควรตรวจทกุ ปี ตรวจคดั กรองมะเร็งทจ่ี ำเป็น ควรตรวจอจุ จาระทุกปี อายุ 60 – 65 ปี มะเรง็ ปากมดลกู มะเรง็ ต่อมลูกหมาก ควรตรวจทกุ ปี อายุ 60 – 69 ปี มะเร็งเต้านม ควรตรวจทุกปี อายุ 60 ปขี ึ้นไป มะเรง็ ลำไส้ใหญ่ การตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร อายุ 60 ปขี น้ึ ไป ตรวจปัสสาวะ เพ่ือคดั กรองความ ผดิ ปกตขิ องระบบทางเดินปสั สาวะ อายุ 70 ปีขน้ึ ไป ตรวจหาภาวะซีด

22 ค่มู อื บัตรสร้างสขุ ภาพ “สบช.คโมู่มเือดบลัต”รส1รว้าทิ งสยุขาลภยัา:พ1“ชสมุ บชชน.โมเดล” 1 วทิ ยาลัย: 1 ชุมชน 22

ชว่ งอายุ รายการตรวจสุขภาพ หมายเหตุ อายุ 60 ปีขึน้ ไป ตรวจหาไขมันในเลอื ด ควรตรวจทกุ 5 ปี อายุ 60 ปขี นึ้ ไป ตรวจหาเบาหวาน ควรตรวจทกุ ปี อายุ 60 ปีขึน้ ไป ตรวจเลือดเพือ่ ดกู ารทำงานของไตและ ควรตรวจทกุ ปี ตรวจคัดกรองความผิดปกตขิ องไต

การประเมนิ สภาวะสขุ ภาพในผูส้ งู อายุเพิ่มเตมิ

รายการตรวจสขุ ภาพ วัตถปุ ระสงค์

  1. ภาวะโภชนาการ เพอ่ื ลดภาวะทุพโภชนาการ และได้รับสารอาหารอยา่ ง เหมาะสม
  2. ความเสยี่ งโรคหัวใจและ เพอื่ ปรับเปลี่ยนพฤตกิ รรมในการป้องกนั การเกดิ หลอดเลือด อมั พฤกษ์ อัมพาติ
  3. ความเสย่ี งโรคกระดกู พรนุ เพื่อปอ้ งกนั การเกดิ กระดูกหกั
  4. ภาวะสมองเสือ่ ม เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลที่เหมาะสมในการ ดำรงชวี ิต
  5. ภาวะซมึ เศร้า เพื่อคัดกรองภาวะซึมเศร้าและได้รับการวินิจฉัย ชว่ ยเหลอื ทีถ่ กู ตอ้ ง

อางองิ

ภริ ดา ใจดีเจริญ. (2564). การตรวจสุขภาพประจําปท่เี หมาะสมตามชว งวัย. https://bit.ly/3AtYhf4.

ยุทธสทิ ธิ์ ธนพงศพิพฒั น. (2564). ผูสูงวัยตอ งไมละเลยเรอื่ งการตรวจสุขภาพ. https://bit.ly/3IdxIwS.

สํานักงานกองทุนสนบั สนุนการสรางเสริมสขุ ภาพ. (2565). ควรตรวจ สขุ ภาพอยา งไรในแตล ะชว งวัย. www.thaihealthcenter.org

สาํ นักสง เสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2565). แบบบันทกึ การตรวจสขุ ภาพ. https://hp.anamai.moph.go.th/ th/manual-of-official?page=5

คูม่ ือบตั รสร้าคงสมู่ ุขอื ภบาัตพรส“รส้าบงสชขุ.โภมาเดพล“”ส1บชวทิ.โมยาเดลลัย”: 11 ชวุมทิ ชยนาลัย:213ชมุ ชน 23

การใหบ้ รกิ ารสุขภาพ

ประเทศไทยได้จดั ระบบสขุ ภาพเพอื่ ดูแลสขุ ภาพของคนไทย โดยเนน้ ประชาชนเปน็ ศูนย์กลาง สอดคลอ้ งกับความจำเปน็ หรือ ความต้องการและสภาพปัญหาทางด้านสขุ ภาพ ประกอบไปด้วย กจิ กรรมตา่ งๆ ดังน้ี

1. ดา้ นการบรกิ ารสุขภาพ สง่ เสรมิ ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู สขุ ภาพ อยา่ งมคี ณุ ภาพ ปลอดภัย ได้มาตรฐาน ครอบคลุมสทิ ธิ ประโยชนท์ างการแพทย์และสาธารณสขุ

2. ด้านผ้ใู หบ้ รกิ ารกำลงั คนดา้ นสขุ ภาพท่เี พยี งพอ มีความรู้ มีสัดสว่ นของความชำนาญที่เหมาะสม ตอบสนองต่อความต้องการ ของประชาชนอยา่ งเท่าเทียมและครอบคลมุ

3. ด้านผลติ ภณั ฑท์ างการแพทย์ จดั เวชภณั ฑ์ วคั ซนี อปุ กรณก์ ารวินจิ ฉยั และเทคโนโลยกี ารแพทย์ทีม่ มี าตรฐาน คณุ ภาพ ความปลอดภัย มรี ะบบการขนส่งทดี่ ี มีขอ้ บ่งช้ใี นการใช้

4. ดา้ นการเงนิ การคลงั มีระบบประกันสขุ ภาพทคี่ รอบคลุม ลดภาระการใช้จ่ายของภาครฐั และส่วนบคุ คล ผ่านการระดมเงนิ ทนุ จดั สรร และบรหิ ารงบประมาณทเ่ี ป็นธรรมและมีประสิทธิภาพ

5. ด้านสารสนเทศ มกี ารบริหารจดั การและแบ่งปนั ข้อมลู ท่ี เกยี่ วขอ้ งด้านสุขภาพ เพอ่ื บรกิ ารทม่ี คี ณุ ภาพ ทั่วถงึ และเปน็ ธรรม

6. ด้านอภิบาล หมายถึง การกำกบั ดแู ลใหอ้ งคก์ รสขุ ภาพ ดำเนินภารกจิ อย่างเปน็ ธรรม โปรง่ ใส ตรวจสอบได้

24 คู่มอื บตั รสร้างสขุ ภาพ “สบช.คโมมู่ เอื ดบลตั ”รส1รว้าิทงสยขุาลภยัา:พ1“ชสุมบชชน.โมเดล” 1 วทิ ยาลัย: 1 ชุมชน 24

ระดบั ของการจดั บรกิ ารสขุ ภาพ การจดั บรกิ ารสุขภาพแบง บอกเปน 3 ระดับคอื ระดับปฐมภมู ิ

ระดบั ทุติยภมู ิ และระดับตตยิ ภูมิ การจดั บริการสุขภาพระดับปฐมภมู ิ ในปี พ.ศ. 2562

พระราชบญั ญัตริ ะบบสุขภาพปฐมภูมิ มาตรา 17 18 และ 22 ได้ กำหนดให้รฐั แจ้งใหป้ ระชาชนในเขตรบั ผดิ ชอบทราบว่าใครเปน็ แพทยเ์ วชศาสตรค์ รอบครัวและทีมสุขภาพทด่ี แู ลตนเอง เพื่อ สนับสนนุ การใหบ้ รกิ ารสุขภาพปฐมภูมิแบบต่อเน่ืองและไรร้ อยต่อ การจัดบรกิ ารสขุ ภาพระดับปฐมภูมิ จึงประกอบไปด้วย

1. การสง่ เสรมิ การดแู ลสุขภาพตนเองในระดบั บุคคลและ ครอบครวั ของประชาชน มีพฤติกรรมสุขภาพท่ีดี ได้แก่ การออก กำลงั กาย การรบั ประทานอาหารสขุ ภาพ การจัดการกบั อารมณ์ การลดเหล้าและบหุ ร่ี และการลดอ้วน

2. การบริการสาธารณสขุ มลู ฐาน ที่ดำเนนิ การโดยประชาชน เอง ท่สี อดคลอ้ งกบั ขนบธรรมเนียมและความตอ้ งการของชมุ ชน

3. โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตำบล (รพ.สต.) ใหบ้ รกิ าร ส่งเสรมิ ป้องกนั โรค รักษาพยาบาล ฟ้ืนฟแู ละการคมุ้ ครองผบู้ ริโภค ใหบ้ รกิ ารเช่ือมโยงและสง่ ต่อผู้ป่วยกบั โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลทวั่ ไป หรือโรงพยาบาลศูนย์

การจัดบรกิ ารสขุ ภาพระดบั ทุติยภมู ิ เป็นการจดั บรกิ าร สขุ ภาพระดบั กลาง ที่ ประกอบไปดว้ ย

1. โรงพยาบาลชุมชน เปน็ หน่วยบรกิ ารสุขภาพทีใ่ หบ้ รกิ าร ดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสุขระดับอำเภอ มีเตยี งสำหรบั ผู้ปว่ ย ตัง้ แต่10 - 150 เตียง ครอบคลุมประชากร 10,000 คนข้นึ ไป มี

ค่มู ือบัตรสร้าคงส่มู ขุอื ภบาัตพรส“รส้าบงสชุข.โภมาเดพล“”ส1บชวทิ.โมยาเดลลยั ”: 11 ชวุมทิ ชยนาลยั :215ชุมชน 25

แพทย์และเจา้ หนา้ ท่สี าธารณสุขอนื่ ๆปฏบิ ตั งิ านประจำ บรกิ ารจะ เน้นในดา้ นการรกั ษาพยาบาลมากกว่าการบริการในระดบั ปฐมภมู ิ

2. โรงพยาบาลท่ัวไป หรือโรงพยาบาลศนู ย์ และโรงพยาบาล ขนาดใหญ่อน่ื ๆ ของรฐั และเอกชน เป็นโรงพยาบาลท่มี ีชนาดและ จำนวนเตยี งผปู้ ว่ ยต้งั แต่ 200-500 เตยี ง

การจัดบริการสุขภาพระดับตตยิ ภมู ิ เป็นการจัดบรกิ าร การแพทยแ์ ละสาธารณสุขอ่นื ๆ ท่ีตอ้ งปฏบิ ัตงิ านโดยผเู้ ขี่ยวชาญ พิเศษ โรงพยาบาลทสี่ ามารถจัดบริการระดับตติยภมู ิได้ ได้แก่ โรงพยาบาลทมี่ ีจำนวนเตยี งเกนิ 500 เตยี งขนึ้ ไป หรอื โรงพยาบาล ขนาดใหญ่ของรฐั ในสงั กดั กระทรวงตา่ งๆหรอื เอกชน ทมี่ แี พทย์ เฉพาะทางสาขาตา่ งๆ ครบถว้ น

ทีมหมอครอบครวั หมายถึง ทีมท่ปี ระกอบดวยสหวชิ าชีพทั้งดานการแพทยและ

การสาธารณสุขทั้งในหนว ยบริการใกลบ า นและในโรงพยาบาล รวมถึง อสม. องคก ารปกครองสว นทอ งถ่นิ ชุมชน ภาคประชาชน และผทู ่มี ีสว นเกยี่ วของในการดูแลสุขภาพของประชาชน ครอบคลุม ท้ังรกั ษา สง เสรมิ ปอ งกนั และดแู ลดา นจติ ใจ สังคม บรรเทาทุกข พัฒนาคณุ ภาพชีวิตของผูปว ย ครอบครวั ชมุ ชน อยางใกลช ดิ เขา ถงึ เขาใจ ความตองการของประชาชน

ปัญหาสุขภาพเป็นปญั หาท่ซี บั ซ้อนมคี วามเชื่อมโยงกับปัญหา เศรษฐกจิ สงั คม สง่ิ แวดลอ้ มและความเป็นอยู่ ดงั น้ันการแกป้ ัญหา สุขภาพจะตอ้ งมกี ารบรู ณาการไปพรอ้ มกบั การพฒั นาคุณภาพชวี ติ ทง้ั ด้านสังคม ความเป็นอยู่และการสาธารณสุข โดยให้ องคก์ ร ปกครองส่วนทอ้ งถ่ินภาคเอกชนและภาคเี ครือขา่ ยภาคประชาชน รว่ มกนั ขบั เคล่ือนการดแู ลคณุ ภาพชีวติ ของประชาชน

26 คู่มอื บตั รสร้างสขุ ภาพ “สบช.คโมู่มเอื ดบลัต”รส1รว้าทิ งสยขุาลภยัา:พ1“ชสมุ บชชน.โมเดล” 1 วิทยาลัย: 1 ชุมชน 26

นโยบาย 3 หมอ

กระทรวงสาธารณสุข ได้ประกาศนโยบาย “คนไทยทุก ครอบครัว จะต้องมีหมอประจำตัว 3 คน” เป็นที่ปรึกษาดูแล สุขภาพประจำครอบครัว สร้างความรอบรู้ในการดูแลส่งเสริม

สุขภาพตนเองและครอบครัว เมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2564 ซึ่งเป็น แนวทางการพัฒนาที่ต่อยอดมาจากระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า และให้เกิดความย่ังยืน โดยหมอทั้ง 3 ประกอบไปดว้ ย ดงั นี้

หมอคนที่ 1 คือ อสม. เป็นหมอประจำบ้าน โดยมีการแบ่ง เขตการรับผิดชอบ อสม. 1 คน รับผิดชอบประชาชน 8-15 หลัง คาเรือน ให้การดูแลเบื้องต้น ทำหน้าที่หลักเชื่อมประสานกับหมอ คนท่ี 2 และ 3

หมอคนที่ 2 คือ หมอสาธารณสุข ในหน่วยบริการปฐมภูมิ ได้แก่ สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษานวมินทราชินี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล สถานพยาบาลใกล้บ้านใกล้ใจ

คู่มือบตั รสร้าคงสมู่ ุขือภบาตั พรส“รสา้ บงสชขุ.โภมาเดพล“”ส1บชวทิ.โมยาเดลลยั ”: 11 ชวุมทิ ชยนาลัย:217ชมุ ชน 27

คลินิกหมอครอบครัว คลินิกชุมชนอบอุ่น ครอบคลุมบุคลากรทุก สาขาวิชาชีพทั้งพยาบาล เภสัชกร นักสาธารณสุขชุมชน และ วิชาชีพอื่นๆ กำหนดให้เจ้าหน้าที่ 1 คน ไม่ว่าจะวิชาชีพใดก็ตาม รับผดิ ชอบประชากร 1,250 คน หรือ 1-3 หมู่บ้าน นอกจากมีหน้าที่ ให้บริการด้านการแพทย์และสุขภาพแล้ว ยังต้องเชื่อมต่อประสาน กบั อสม. และหมอคนที่ 3

หมอคนท่ี 3 คือ หมอเวชปฎบิ ตั คิ รอบครัว หมายถงึ บคุ ลากร ในวิชาชีพแพทยท่ีผานการอบรมหรือศึกษาเวชปฏิบัติครอบครัว โดยกาํ หนดใหหมอ 1 คน รบั ผิดชอบประชากร 10,000 คน หรือ 1-3 ตาํ บล ตอ งประสานเชอื่ มตอ กบั หมดคนท่ี 1 และ 2 อยา งใกลช ดิ นอกจากดแู ลผปู ว ยแลว ตอ งดแู ลและทาํ ใหห มอคนท่ี 1 และ 2 มคี วามรู และทกั ษะในการทาํ งานดขี ้นึ

การทำงานร่วมมอื กนั ของท้ัง 3 หมอ จะทำให้การดูแลผ้ปู ่วย มีความตอ่ เนื่อง และการสง่ ตอ่ ผู้ป่วยเป็นไปอย่างราบร่ืน เมอ่ื มคี วาม จำเป็นต้องรับการรักษาภายในสถานบริการก็จะได้พบหมอ ประจำตวั ของตวั เองและยังได้รับการดแู ลอย่างต่อเนือ่ ง เมื่อกลับมา อย่ทู ี่บ้านกบั ครอบครัว ในชมุ ชน ดังนนั้ ประชาชนสามารถรบั บริการ สุขภาพท้งั การคดั กรอง ฟืน้ ฟูสขุ ภาพ ตามความจำเปน็

นอกจากนัน้ คนไทยทุกคนยังไดร้ บั การดูแลสุขภาพ ตาม สวสั ดิการของรฐั มที งั้ สนิ้ 3 กลมุ่ ไดแ้ ก่

สวสั ดิการขา้ ราชการ พนักงานส่วนทอ้ งถ่ิน และพนักงาน หน่วยงานอ่ืนของรัฐ สามารถเบิกค่ารักษาพยาบาลของ โรงพยาบาลรฐั และใชส้ ทิ ธิ์เบกิ จ่ายตรงกรมบญั ชีกลาง

28 คู่มอื บตั รสร้างสุขภาพ “สบช.คโมู่มเอื ดบลตั ”รส1รว้าทิ งสยขุาลภัยา:พ1“ชสมุ บชชน.โมเดล” 1 วทิ ยาลัย: 1 ชุมชน 28

กองทนุ ประกนั สงั คม เป็นสวสั ดิการท่รี ฐั บาลจา่ ยเงินสบทบ ร่วมกับนายจา้ งหรือรฐั บาลเขา้ กองทุน ผูม้ ีสิทธิ์สามารถเบิกค่า รกั ษาพยาบาล ช่วยเหลอื กรณีทพุ พลภาพ เสียชีวติ หรอื ว่างงาน

สิทธิ์บัตรทอง หรือ “หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ” เป็น สวสั ดิการเบิกค่ารกั ษาโรงพยาบาลของรฐั หรือสถานพยาบาลท่ี ลงทะเบียนกบั ทางรฐั สาหรบั ประชาชนท่ไี ม่สามารถเบิกจากสิทธิ์ 2 กลมุ่ ดา้ นบนได้ โดยประชาชนตอ้ งไปลงทะเบียนกบั หนว่ ยงานท่ี กาหนดและเลือกโรงพยาบาลท่อี ย่ใู นเขตใกลบ้ า้ น 1 โรงพยาบาล หากการเจ็บป่วยเกินความสามารถของโรงพยาบาลนนั้ ผปู้ ่วยจะ ไดร้ บั การสง่ ตอ่ ไปรบั การรกั ษาในโรงพยาบาลท่เี หมาะสมตอ่ ไป

อา งองิ พระราชบญั ญัตริ ะบบสขุ ภาพปฐมภมู ิ พ.ศ. 2562. (2562). สืบคน จาก

http://www.sadathai.org/ วันที่ 2 มถิ ุนายน 2565 สำนกั บรหิ ารการสาธารณสุข สำนกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. (2557).

ทมี หมอครอบครวั (Family Care Team) กรุงเทพ: โรงพมิ พ์ ชุมนุมสหกรณแหงประเทศไทย จํากดั . สํานกั งานวจิ ยั และพัฒนากาํ ลงั คนดา นสุขภาพ. (2563). หมอประจําตัว ครอบครวั ละ 3 คน. สบื คนจาก https://hrdo.org/ วันท่ี 2 กรกฎาคม 2565 สานกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ (สปสช.). (2565). คมู่ อื ผูใ ชส ิทธ์ิ หลักประกนั สุขภาพ. สืบคนจาก

https://www.nhso.go.th/page/coverage_rights

วันที่ 23 สงิ หาคม 2565

คู่มอื บัตรสร้าคงสูม่ ขุือภบาัตพรส“รส้าบงสชขุ.โภมาเดพล“”ส1บชวทิ.โมยาเดลลัย”: 11 ชวุมิทชยนาลยั :219ชมุ ชน 29

อาหารเพื่อสุขภาพช่วยป้องกันไม่ให้เกิดโรคร้ายแรง บางอย่าง เช่น โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และโรคเบาหวาน ชนิดท่ี 2 และโรคอ้วนได้ นอกจากน้ยี ังชว่ ยลดความเส่ียงในการเป็น โรคมะเร็งได้อีกด้วย หากเจ็บป่วย การรับประทานอาหารเพ่ือ สุขภาพอาจชว่ ยให้ผูป้ ว่ ยฟน้ื ตวั ได้เรว็ ข้ึน การรับประทานอาหาร ถือ เป็น “ยา” หรอื “วคั ซนี ชีวติ ” ทดี่ ที ่ีสดุ ข้อควรปฏิบตั ิเกี่ยวกบั การรบั ประทานอาหาร

1. รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่และต้องได้รับ สารอาหารในสัดสว่ นท่ีเหมาะสม

2. หลีกเลีย่ งอาหารหวาน มนั เค็ม 3. เลือกวิธีเตรียมอาหารด้วยการต้ม นึ่ง ย่าง งดของทอด ผัด ทใี่ ช้น้ำมันมาก 4. เลิกดื่มเครื่องดื่มรสหวาน เช่น น้ำหวาน น้ำอัดลม นมเปรยี้ ว กาแฟเยน็ ชาเขยี ว นำ้ ผลไมก้ ล่อง น้ำผลไม้รสหวาน

30 คู่มอื บัตรสร้างสุขภาพ “สบช.คโมู่มเอื ดบลตั ”รส1รว้าทิ งสยุขาลภัยา:พ1“ชสมุ บชชน.โมเดล” 1 วทิ ยาลัย: 1 ชุมชน 30

การออกกำลังกายจะทำให้ร่างกายเกิดการเผาผลาญมาก ขึ้น ลดการเกิดอ้วนลงพุงได้ และการออกกำลังกายทำให้ร่างกาย หลั่งสารเอนดอรฟ์ ิน (Endorphin) ซึ่งเป็นสารที่ช่วยให้ร่างกายรู้สึก ผ่อนคลาย ช่วยลดความเครยี ด ซึ่งเป็นหน่ึงสาเหตุในการกินมากขนึ้ นั่นเอง การออกกำลังกายจึงเป็น “ยาวิเศษ” หรือ “วัคซีนชีวิตที่ดี ที่สุดต่อร่างกาย” หม่ันออกกำลังกายสม่ำเสมอต่อเนือ่ ง หนักพอดีๆ “ขยบั กายสบายชีวี” วัคซนี น้เี ราสร้างไดด้ ้วยตัวเองทุกคน วธิ ีการออกกำลังกายให้มปี ระสิทธภิ าพ

1. ออกกำลังกายในปรมิ าณ 10–30 นาทีต่อวนั สัปดาห์ละ 3 วันหรือวันเว้นวัน หรือออกกำลังกาย 10 นาที ถ้ารู้สึกเหนื่อย ก็ใหห้ ยุดพักกอ่ น แลว้ คอ่ ยออกกำลงั กายต่ออีกจนครบ 30 นาที

2. แค่ขยบั ก็เทา่ กบั ออกกำลงั กาย โดยปฏบิ ตั ิดงั น้ี - ทกุ ๆ ชัว่ โมง ใหล้ กุ ขึน้ มาเดนิ สกั 5 นาที เป็นการพักเบรก ไปในตวั - เปลี่ยนจากการขึ้นลิฟต์มาขึ้นบันได เพียงแค่ 5 นาที ก็จะ ชว่ ยให้หัวใจแข็งแรงขึน้ แล้ว แถมยงั ชว่ ยเผาผลาญพลังงานทมี่ ีอยดู่ ้วย - แกว่งแขน - ลกุ นั่ง - เดนิ ให้มากขน้ึ ให้ได้วันละ 10,000 กา้ ว - ใช้จักรยาน หรือรถสาธารณะในการเดินทาง

ค่มู อื บัตรสร้าคงสูม่ ขุือภบาตั พรส“รสา้ บงสชุข.โภมาเดพล“”ส1บชวทิ.โมยาเดลลัย”: 11 ชวุมทิ ชยนาลัย:311ชมุ ชน 31

ผลแห่งอารมณ์ ไมว่ า่ อารมณ์สขุ หรอื อารมณ์ทกุ ข์ จะทำให้ ร่างกายเปลี่ยนแปลงไปจากปกติและจะมีการแสดงออกของ พฤติกรรมและความรู้สึกตามอารมณ์ที่เกิดขึ้น เมื่อเกิดอาการ เครียด อารมณ์เสีย หรืออารมณ์ไม่ดี ร่างกายจะหลั่งฮอร์โมนที่ ตอบสนองตอ่ ความเครียด หรือ คอรต์ ิซอล (Cortisol) ไปกระตุ้นให้ เซลล์ร่างกายสะสมไขมันมากยิ่งขึ้น และความเครียดส่งผลให้อยาก อาหารมากขึ้น ส่วนอารมณ์ดีจะทำให้หลั่งสารเอ็นโดฟิล (Endorphin) เป็นฮอร์โมนความสุข สงบ สบาย นับเป็นวัคซีนชีวิต ทส่ี รา้ งไดด้ ้วย “ตวั เอง” วธิ จี ัดการกบั อารมณ์

1. หมั่นใช้สติก่อนอารมณ์ อาจใช้วิธีการกำหนดหรือ รวบรวมสติ เกดิ สมาธิ นงิ่ สงบ เชน การนับเลข เปน ตน เพอ่ื ควบคุม อารมณท่ีรนุ แรงใหบ รรเทาลง เชน อารมณวิตกกังวล อารมณโกรธ อิจฉาริษยา การใชอารมณของคน หากใชเ พียงเลก็ นอยแลวพยายาม ควบคุมใหได โดยใชสติ หรือหลักธรรม จะชวยใหสามารถเผชิญ ปญหาหรือเหตกุ ารณตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม

2. ใช้คำพูดแสดงความรู้สึกแทนการกระทำ ถือเป็นเทคนิค เกี่ยวกับการแสดงออกได้อย่างเหมาะสม เพื่อลดการเกิด สถานการณ์ทไี่ มพ่ ึงประสงค์ เชน่ การทะเลาะเบาะแวง้ เป็นต้น

3. คิดบวก มองทุกอย่างให้เป็นเรื่องธรรมดา หรือ มองว่า ทุกอย่างเปน็ ธรรมชาติ แตเ่ ลอื ก”โฟกสั ” เฉพาะด้านทด่ี ี โดยวธิ ีการ

32 ค่มู ือบัตรสรา้ งสุขภาพ “สบช.คโมูม่ เอื ดบลตั ”รส1รว้าิทงสยขุาลภยัา:พ1“ชสุมบชชน.โมเดล” 1 วิทยาลัย: 1 ชุมชน 32

ต่าง ๆ เช่น รู้จักสร้างความสุขจากภายใน ฝึกคิดบวกกับทุกปัญหา และเชื่อว่าทุกปัญหามีทางออก ไม่สนใจคนคิดลบ ยอมรับในความ ผดิ พลาดท่เี กดิ ขึน้ และปฏเิ สธใหเ้ ปน็

ในปัจจุบันการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็นพฤติกรรมทาง สังคม ซึ่งแพร่หลายทั่วโลก เครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็นสารออกฤทธ์ิ ต่อจิตประสาทและสมอง (Psychoactive substance) เมื่อเข้าสู่ ร่างกายจะถูกดูดซึมที่กระเพาะอาหารเข้าสู่สมองและไขสันหลัง อย่างรวดเร็ว ทั้งยังส่งผลต่อการรับรู้ อารมณ์ สติ การสั่งการของ สมอง และพฤติกรรมในการกดการทำงานของสมอง และการ ทำงานของสารสื่อประสาทที่เปลี่ยนแปลงไป ส่งผลให้มีความรู้สึก เคลิบเคล้มิ และเสพติด หากดมื่ ตดิ ตอ่ กนั เปน็ ประจำ ผลกระทบจากการด่ืมแอลกอฮอล์

ผลกระทบจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มีทั้งกระทบต่อ ตัวผู้ดื่มเอง ครอบครัว สังคม และเศรษฐกิจ โดยผลกระทบด้าน สุขภาพที่พบบ่อย ได้แก่ ความดันโลหิตสูง กระเพาะอาหารอักเสบ เบาหวาน และความผดิ ปกติของเส้นเลอื ดในสมองบางชนดิ หรอื แมแ้ ต่ การเจบ็ ปว่ ยทางจิตใจ เชน่ โรคซมึ เศร้า เป็นต้น นอกจากนีย้ งั สง่ ผลให้ ผู้ขับขี่ยานพานหะที่ดื่มแอลกอฮอล์จะเกิดอุบัติเหตุทางจราจร มากกว่าผู้ขับทีไ่ ม่ดืม่ 3.89 เทา่ และยังเปน็ สาเหตุท่สี ำคัญที่สุดในการ กอ่ ใหเ้ กิดโรคมะเรง็ ตบั มากกวา่ ผู้ทีไ่ ม่ดื่ม ประมาณ 1.7 เท่า

คู่มอื บตั รสร้าคงสู่มขุือภบาตั พรส“รสา้ บงสชขุ.โภมาเดพล“”ส1บชวทิ.โมยาเดลลัย”: 11 ชวุมิทชยนาลยั :313ชมุ ชน 33

บุหรี่เป็นสิ่งเสพติดที่หาซื้อได้ง่ายตามท้องตลาด และการสูบบุหรี่ เป็นจุดเริ่มต้นของการติดสิ่งเสพติดชนิดอื่น ๆ ผู้ สูบบุหรี่มักไม่ค่อยตระหนักถึงผลกระทบที่ตามมาจากการสูบบุหรี่ มากนัก การสูบบุหรี่เป็นสาเหตุของการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรถึง 15 ปี รอ้ ยละ 50 ของผู้สูบบุหร่ีมกั จะเสียชวี ติ จากการสบู บหุ รี่ ซึง่ ใน จำนวนผเู้ สยี ชวี ิตทั่วโลก พบวา่ ร้อยละ 12 เกดิ จากการสูบบุหร่ีและ ร้อยละ 14 เสียชีวิตด้วยโรคเรื้อรัง โดยเฉพาะโรคหัวใจ โรคมะเร็ง โรคเบาหวานและโรคปอด นอกจากนี้ยังมีผู้เสียชีวิตที่เสียชีวิตด้วย โรคตดิ เช้อื ทมี่ ีการสูบบุหรเี่ ป็นสาเหตุรว่ มด้วย คิดเปน็ รอ้ ยละ 5 ของ ผู้เสียชีวิตทั่วโลก ซึ่งร้อยละ 7 เสียชีวิตจากวัณโรคปอด ร้อยละ 12 เสียชวี ติ เน่ืองจากการตดิ เชือ้ ระบบทางเดนิ หายใจส่วนล่าง ผลกระทบจากการสบู บหุ ร่ี

ผลกระทบจากการสูบบุหรี่ต่อสุขภาพ คือ หัวใจเต้นเร็วข้นึ และความดันโลหิตสูงขึ้น มีกรดในกระเพาะอาหารมากขึ้น มีกล่ิน ปาก และการสูบบุหรี่เป็นสาเหตุของการเกิดโรคหัวใจ โรคหลอด เลือดแดงใหญ่โป่งพอง โรคถุงลมโป่งพอง ทางเดินหายใจอุดก้ัน เรื้อรัง หลอดลมอักเสบ หอบหืด โรคมะเร็งปอด มะเร็งช่องปาก มะเร็งหลอดลม มะเร็งตับอ่อน และมะเร็งกล่องเสียง เป็นต้น บุหรี่ เป็นปจั จยั เสรมิ ทำให้เกดิ โรคเบาหวานความดันได้มากข้ึน

34 คู่มอื บตั รสรา้ งสขุ ภาพ “สบช.คโมู่ เือดบลตั ”รส1รว้าิทงสยขุาลภยัา:พ1“ชสุมบชชน.โมเดล” 1 วทิ ยาลัย: 1 ชุมชน 34

โรคอ้วน ส่งผลเสียต่อร่างกายหลายๆ ด้าน เช่น ผลเสีย ต่อระบบหลอดเลอื ด โดยจะเพ่ิมความเส่ยี งตอ่ การเกิดโรคกล้ามเนื้อ หัวใจขาดเลือด เส้นเลือดในสมองตีบ ก่อให้เกิดอาการอัมพฤกษ์ อัมพาต และอาการแขนขาอ่อนแรง เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิด โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมากกว่าคนปกติ 2-10 เท่า และเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะไขมันในเลือดสูง นอกจากนี้ยัง สง่ ผลต่อระบบทางเดินหายใจ อาจมีปัญหานอนกรน นอนไมเ่ ตม็ ต่ืน สังเกตจากช่วงเช้าหลังตื่นนอน จะรู้สึกมึนงง ปวดศีรษะ นั่งหลับ ช่วงกลางวัน ซึ่งส่งผลเสียต่อการทำงาน และในระยะยาวจะทำให้ เกิดภาวะหัวใจล้มเหลวได้ นอกจากยังทำให้เกิดผลเสียต่อระบบขอ้ ต่างๆ ในร่างกายได้ โดยมีอาการปวดหลัง ปวดเข่า เนื่องจากข้อ ตา่ งๆ ต้องทำหน้าทีร่ ับนำ้ หนกั มากกวา่ คนปกติ การรักษาโรคอว้ น ประกอบด้วย การปรบั พฤตกิ รรมการรับประทานอาหารให้ถูกต้อง ได้แก่

- ควรบริโภคนำ้ ตาลไม่เกิน 6 ช้อนชาตอ่ วัน - เพม่ิ การรับประทานอาหารทีม่ ีปริมาณกากใยมาก - บรโิ ภคอาหารจำพวกผักได้มากโดยไม่จำกัด - ลดสดั ส่วนของอาหารทีจ่ ะรับประทาน - หลีกเลี่ยงอาหารทีใ่ ห้พลงั งานสงู

คมู่ อื บตั รสร้าคงสู่มุขอื ภบาัตพรส“รสา้ บงสชุข.โภมาเดพล“”ส1บชวิท.โมยาเดลลยั ”: 11 ชวุมิทชยนาลัย:315ชมุ ชน 35

การออกกำลังกาย - ควรออกกำลังกายวันละ 30 นาทีขึ้นไป จำนวน 3 คร้ัง

ต่อสัปดาห์ หรือคนที่ทำงานในออฟฟิศควรพักเพื่อทำกิจกรรมที่มี การเคลื่อนไหวระหว่างวันหากปฏิบัติตามนี้ได้จะส่งผลดีต่อสุขภาพ และลดความเสี่ยงทีจ่ ะเกิดโรคอ้วนในอนาคต

ลดอ้วน : ภาวะอ้วน เดี๋ยวนี้เรื่องโรคอ้วนแล้วค่า BMI มี ความสำคัญ คนยิ่งอ้วนเท่าใด โรคเบาหวานเกิดได้ง่าย และ คอเลสเตอรอลสูง จะแถมเปน็ โรคความดนั โลหติ สงู อกี ดว้ ย

อ้างองิ ณรงค์ศกั ดิ์ หนสู อน. (2564). หลักการสง่ เสริมสุขภาพ. พษิ ณโุ ลก;

สำนักพมิ พม์ หาวิทยาลยั นเรศวร. ทกั ษพล ธรรมรังสี และอรทยั วลีวงศ.์ (2559). เอกสารวิชาการชดุ

แอลกอฮอล์และสมอง. สืบคน้ 5 กรกฎาคม 2565, จาก http://resource.thaihealth.or.th/system/file/docu ment/ Nie, M. A. & McEwen, M. M. (2019). Community / Public Health Nursing: Promoting the Health of Populations (7th ed.). Elsevier. World Health Organization. (2017). Tobacco threatens us all, Health link BC(2015). The harmful effects of second-hand smoke. Victoria: British Columbia

36 ค่มู ือบัตรสร้างสุขภาพ “สบช.คโม่มู เือดบลตั ”รส1รว้าิทงสยุขาลภยัา:พ1“ชสุมบชชน.โมเดล” 1 วทิ ยาลยั : 1 ชุมชน 36

5.1 ความสำคัญของการเฝ้าระวังติดตามข้อมูลสุขภาพอย่าง ต่อเนื่อง

“การตรวจสุขภาพ” คือ พื้นฐานการดูแลคุณภาพชีวิตให้ ดำรงอยู่ได้นานแต่หลายคนกลับยังไม่เข้าใจว่า เราต้องตรวจอะไร ตรวจเมือ่ ไหร่ ตรวจแล้วดอี ยา่ งไร เป็นการค้นหาโรคภยั แต่เนน่ิ ๆ รีบ รักษาก่อนที่จะลุกลามจนรักษาไม่ทัน จนถึงเสียชีวิตได้ เพราะถ้า เปรียบร่างกายเป็นรถยนต์ การตรวจสุขภาพก็เสมือนการตรวจ สภาพเครือ่ งยนตท์ ุกปีหรือตามนัดหมาย แต่การเข้าอู่ซอ่ มรถน้ัน ถ้า เราไม่ทราบว่าตรงไหนที่เริ่มใช้การไม่ได้ เพื่อจะได้ซ่อมตรงจุด หรือ แก้ไขก่อนดีหว่าทีร่ ถจะเสียกลางทางหรอื เกิดอบุ ัตเิ หตไุ ด้

ปกติเราทุกคนควรได้รับการตรวจสุขภาพอย่างน้อยปีละ ครั้งหากไม่มีอาการป่วย เพราะปัจจุบันปัจจัยภายนอกต่างๆ ส่งผล กระทบต่อสุขภาพทลี ะน้อยโดยทเี่ ราไมอ่ าจทราบได้ ไดแ้ ก่ มลภาวะ ฝุ่น PM 2.5 ควันพิษจากท่อไอเสีย สารเคมีและสารก่อมะเร็งท่ี ตกค้างในผักและผลไม้ ด้านโรคระบาด ได้แก่ ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ ใหม่ โรคโควิด-19 (Covid-19) และปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆ ในตัวบุคคลเอง ได้แก่ โรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม รวมไปถึง พฤติกรรมที่เปลี่ยนไป เช่น การออกกำลังกายน้อยลง รับประทาน อาหารเก่ง จุกจิกพร่ำเพรื่อ สูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์มากขึ้น มี ความเครียดสะสมมากขึ้น พักผ่อนน้อย เป็นต้น ดังนั้นการดูแล

ค่มู ือบัตรสร้าคงสมู่ ุขอื ภบาตั พรส“รสา้ บงสชขุ.โภมาเดพล“”ส1บชวทิ.โมยาเดลลัย”: 11 ชวุมทิ ชยนาลยั :317ชมุ ชน 37

ตัวเองที่มีประสิทธิภาพ คือ การป้องกันก่อนที่จะเกิดโรค ด้วยการ ตรวจสุขภาพประจำปี ที่จะสามารถทำให้พบเจอสิ่งผิดปกติใน ร่างกายได้กอ่ นทีจ่ ะลกุ ลามจนยากเกนิ รกั ษา 5.2 บันทึกขอ้ มูลสุขภาพ 5.2.1 นำ้ ตาลในเลอื ด (Blood sugar) ก่อนตรวจ ควรอดอาหารก่อนการเจาะเลือด 8 ช่วั โมง (ดื่มน้ำเปล่าได้) น้ำตาลในเลือด แปลผล คา่ ปกติ 80 - 100 mg/dl คา่ ปกติในผใู้ หญ่

70 - 100 mg/dl คา่ ปกตใิ นเด็ก คา่ สูง 100 - 125 mg/dl มีความเสยี่ งต่อการเป็นเบาหวาน ≥ 126 mg/dl เข้าไดก้ บั เบาหวาน นัดมาตรวจเลอื ดซำ้ ถา้ ผล ตรวจเลือดซำ้ พบว่า FBS ≥ 126 mg/dl เปน็ จำนวน 2 ใน 3 คร้ัง ถอื ว่าเปน็ เบาหวาน 5.2.2 ความดันโลหิต (Blood pressure) การวัดความดันโลหิต เป็นการวัดแรงดันของเลือดท่ี กระทบผนังของหลอดเลือดแดงเมื่อไหลผ่านเป็นจังหวะ ความดัน ของเลอื ดท่ีวัดมี 2 ค่า คอื 1. Systolic pressure เป็นความดันที่เกิดจากการหดตัว ของหัวใจห้องล่างด้านซ้าย (Left Ventricle) เพื่อฉีดเลือดออกจาก หวั ใจ จึงเปน็ ความดันที่สงู สุด 2. Diastolic pressure เป็นความดันที่วัดเมื่อหัวใจห้อง ล่างด้านซ้าย (Left Ventricle) คลายตัวจึงเป็นความดันที่ต่ำที่สุด และจะอยู่ระดบั น้ตี ลอดเวลาภายในหลอดเลือดแดง

38 คู่มอื บตั รสร้างสขุ ภาพ “สบช.คโมมู่ เือดบลตั ”รส1รว้าิทงสยขุาลภัยา:พ1“ชสมุ บชชน.โมเดล” 1 วิทยาลัย: 1 ชุมชน 38

การวัดความดันโลหิตเป็นการวัดถึงการทำงานของหัวใจ และแรงต้านทาน ส่วนปลายของหลอดเลือด การวัดความดันโลหิต จะวัดเป็นมิลลิเมตรปรอท (mmHg) ในผใู้ หญค่ วามดนั โลหติ ปกตอิ ยู่ ระหว่างค่า Systolic 90-120 mmHg. และค่า Diastolic 60-80 mmHg.

ภาพการแบ่งระดบั น้ำตาลในเลอื ดตามเกณฑป์ ิงปองจราจรชีวิต 7 สี

5.2.3 Body weight (นำ้ หนกั ตวั ) โดยทั่วไป Body composition อาจแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่เป็นไขมัน (fat mass, FM) กับส่วนที่ไม่ใช่ไขมัน (fat- free mass, FFM หรือ lean body mass, LBM) ซึง่ ท้งั 2 สว่ นรวม กันเปน็ นำ้ หนกั ตวั (body weight, BW) ดังนั้นการตรวจติดตามน้ำหนักตัวเป็นส่วนหนึ่งของการ บันทึกข้อมูลทางสุขภาพเพื่อติดตามและเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพที่ อาจเกิดขึ้น เช่น โรคอ้วน น้ำหนักเกิน เบาหวาน ความดันโลหิต เป็นตน้

คู่มอื บัตรสร้าคงสู่มุขือภบาัตพรส“รส้าบงสชุข.โภมาเดพล“”ส1บชวทิ.โมยาเดลลัย”: 11 ชวุมทิ ชยนาลยั :319ชมุ ชน 39

5.2.4 คา่ Body Mass Index (BMI) ค่า BMI คือค่าดัชนีที่ใช้ชี้วัดความสมดุลของน้ำหนักตัว (กิโลกรัม) และส่วนสูง (เซนติเมตร) ซึ่งสามารถระบุได้ว่า ตอนน้ี รูปร่างของคนคนนั้นอยู่ในระดับใด ตั้งแต่อ้วนมากไปจนถึงผอม เกินไป BMI = น้ำหนักตวั [Kg] / (สว่ นสงู [m] ยกกำลงั สอง) Body Mass Index (BMI) มีสูตรการคำนวณ = นำ้ หนกั ตวั [Kg] / (ส่วนสูง [m] ยกกำลังสอง) สูตรคำนวณเหมาะสำหรับใช้ ประเมินผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไป ประโยชน์ของการวัดค่า BMI เพื่อดูอัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่าง ๆ ตรวจสอบภาวะไขมันและ ความอ้วน ดังน้นั การทำให้ร่างกายอยใู่ นเกณฑ์ปกติจึงมีความสำคัญ อยา่ งยงิ่ กับผู้ที่ต้องการรกั ษาสุขภาพในระยะยาว 5.2.5 อัตราสว่ นรอบเอวตอ่ สะโพก (WHR) คำนวณจากความยาวเส้นรอบเอว (หน่วยเป็นเซนติเมตร) แล้วหารด้วยความยาวเส้นรอบสะโพก (หน่วยเป็นเซนติเมตร) ซ่ึง ค่าทีไ่ ดจ้ ะเปน็ จุดทศนิยม

WHR = ความยาวเส้นรอบเอว (cm) / ความยาวเสน้ รอบสะโพก (cm)

เกณฑ์ประเมนิ เพศ แปลผล หญงิ มากกวา่ 0.85 เริ่มอว้ นลงพุง ชาย มากกวา่ 0.90 เรม่ิ อว้ นลงพุง

40 ค่มู ือบัตรสร้างสุขภาพ “สบช.คโมูม่ เอื ดบลัต”รส1รว้าิทงสยขุาลภัยา:พ1“ชสมุ บชชน.โมเดล” 1 วทิ ยาลัย: 1 ชุมชน 40

วิธกี ารวดั เส้นรอบเอวและสะโพกเพื่อความแม่นยำ เสน้ รอบเอว เส้นรอบสะโพก อยู่ในท่ายืน เท้า 2 ข้าง ห่าง วัดจากจุดที่กว้างที่สุดของ กนั ประมาณ 10เซนติเมตร จากนั้น บั้นท้ายของเรา แต่ด้วยความท่ี หาตำแหน่งขอบบนสุดของกระดูก ขนาดสะโพกและบัน้ ท้ายผูห้ ญิงและ เชิงกรานและตำแหน่งชายโครงซ่ี ผู้ชายต่างกัน จุดที่กว้างที่สุดอาจจะ สุดท้าย หรือวัดที่ตรงระดับสะดือ อยู่ข้างบน ข้างล่าง หรือตรงกันกับ พอดี โดยควรวัดในช่วงหายใจออก กระดูกสะโพกก็ได้ ทำให้มีอีกวิธี ให้สายวัดแนบกับลำตัว ไม่รัดแนน่ หน ึ ่ งโ ดย จะ ว ั ดจา กเ อ ว ล ง ม า ทำให้ระดับของสายวัดรอบเอวอยู่ ประมาณ 7 นวิ้ จะได้ขนาดสะโพกที่ ในแนวขนานกบั พน้ื พอดี โดยให้สายวัดอยู่ระนาบ เดียวกนั กบั พ้นื ทุกจุด

อา้ งอิง ดนยั อังควัฒนวทิ ย และกิติยา สุวรรณสทิ ธ.์ิ (2563). อว นลงพงุ

https://bit.ly/3a7IqYY. ธเนศ สนิ สงสขุ . (2564). ทาํ ไมตองตรวจสุขภาพประจําป.

https://bit.ly/3OVTIyi. โรงพยาบาลขอนแกนราม. (2564). โปรแกรมคาํ นวณคา ดชั นมี วล

กาย BMI. https://www.khonkaenram.com/ th/services/health-information/health- articles/med/program-bmi.

คมู่ อื บตั รสร้างสขุ ภาพ “สบช.โมเดล” 1 วทิ ยาลัย: 1 ชุมชน 41

คู่มอื บตั รสรา้ งสขุ ภาพ “สบช.โมเดล” 1 วทิ ยาลัย: 1 ชุมชน 41

สถาบนั การแพทยฉ ุกเฉินแหง ชาติ (สพฉ.) ไดแนะนาํ ขอ ควรรู กอนโทรแจงสายดว น 1669 วา ผูแ จงตอ งเขา ใจวาการบรกิ าร 1669 เปน สายดว นทใี่ หบ รกิ ารเฉพาะผปู ว ยฉกุ เฉนิ วกิ ฤตนิ อกสถานพยาบาล เมื่อมีอาการเจ็บปวยฉุกเฉินข้ึนมา ก็สามารถโทรแจงไดทันที ซึ่งตามหลกั ของการทาํ งานของสายดว น 1669 นัน้ เมอื่ มีประชาชน โทรเขามา เจาหนาที่จะประเมินอาการวา เขาขายอาการเจ็บปวย ฉุกเฉินหรือไม เขาขายอาการแบบไหน กอนสงทีมผูปฏิบัติการ ทางการแพทยฉุกเฉินเขาชวยเหลือ ซึ่งปกติแลวจะแบง ระดับ ความฉกุ เฉินออกเปน 5 ระดับ ไดแก

ระดับผ้ปู ว่ ยฉุกเฉนิ วกิ ฤต (สีแดง) ระดบั ผปู้ ว่ ยฉุกเฉินเรง่ ด่วน (สเี หลอื ง) ระดบั ผูป้ ว่ ยฉุกเฉิน ไมร่ นุ แรง (สเี ขยี ว) ระดบั ผปู้ ่วยท่ัวไป (สขี าว) ผ้รู ับบรกิ ารสาธารณสุขอื่นๆ (สีดำ) เมื่อเจาหนาที่ 1669 ประเมินวาเปนผูปวยฉุกเฉินวิกฤติ ก็จะ สงทีมไปรับผูปวยและสงตอไปรักษาในโรงพยาบาลที่อยูใกลที่สุด ใหท นั ทว งทตี อ การรกั ษาชีวิตผปู วยฉุกเฉิน เพอื่ ใหผปู ว ยถึงมอื แพทย พยาบาลและเครื่องมือทางการแพทยใหเ รว็ ทส่ี ุด การสือ่ สารเพอื่ รับบริการ 1669 ท่มี ปี ระสทิ ธิภาพ ข้อควรรูก้ อ่ นโทรแจง้ สายดว่ น 1669 ประกอบไปด้วยหลกั สำคัญ 9 ขอ้ ได้แก่

คมู่ อื บัตรสร้างสุขภาพ “สบช.โมเดล” 1 วทิ ยาลยั : 1 ชุมชน 42

42 ค่มู ือบตั รสร้างสขุ ภาพ “สบช.โมเดล” 1 วทิ ยาลยั : 1 ชมุ ชน

1. เมื่อพบเหตฉุ ุกเฉนิ เจบ็ ปว่ ยฉกุ เฉินใหต้ ัง้ สตแิ ละโทรแจง้ สายด่วน 1669

2. ใหข้ อ้ มูลว่าเกดิ เหตอุ ะไร มผี ้ปู ว่ ยและผบู้ าดเจบ็ ในลกั ษณะ ใด

3. บอกสถานทีเ่ กิดเหตเุ ส้นทางจุดเกดิ เหตใุ ห้ชดั เจน 4. บอกเพศ ชว่ งอายุ อาการจำนวนผปู้ ว่ ยหรอื ผบู้ าดเจ็บ 5. บอกระดบั ความรสู้ ึกตวั ของผู้ปว่ ย 6. บอกความเสี่ยงทอ่ี าจเกิดซำ้ เช่น อยู่กลางถนนหรอื รถตดิ แกส๊ 7. บอกชอื่ ผู้แจ้งเบอรโ์ ทรศพั ท์ที่สามารถติดตอ่ ได้ 8. ชว่ ยเหลอื เบื้องต้นตามคำแนะนำของเจ้าหน้าท่ี 9. รอทีมกู้ชพี มารบั ผู้ปว่ ยเพ่ือนำส่งโรงพยาบาล ลกั ษณะอาการฉกุ เฉนิ ทค่ี วรโทรแจง้ 1669 การเจบ็ ปว่ ยฉุกเฉิน หมายถงึ การไดร้ บั บาดเจ็บหรือมีอาการ เจ็บปว่ ยกะทันหัน ท่มี ีผลตอ่ ชวี ิตการทำงานของอวยั วะสำคัญ จำเป็นตอ้ งไดร้ บั การตรวจและรักษาอย่างทนั ทว่ งที เพ่ือป้องกนั การ เสียชีวิตหรืออากาเจบ็ ปว่ ยบาดเจบ็ รนุ แรงขึน้ 1. หมดสตชิ ็อค สะลมื สะลอื เรียกไมร่ สู้ กึ ตวั 2. เจบ็ หน้าอก หายใจเหน่ือย 3. ส่งิ แปลกปลอม อุดตนั ทางเดนิ หายใจ 4. ปากเบย้ี ว อ่อนแรงเฉยี บพลัน 5. ชกั เกรง็ กระตกุ 6. ปวดท้องอยา่ งรุนแรง 7. ตกเลอื ด เลอื ดออกทางช่องคลอด 8. เจ็บท้องคลอด คลอดฉกุ เฉิน

คู่มอื บตั รสร้าคงสูม่ ขุอื ภบาัตพรส“รสา้ บงสชุข.โภมาเดพล“”ส1บชวิท.โมยาเดลลัย”: 11 ชวุมทิ ชยนาลัย:413ชมุ ชน 43