กาแล กซ ทางช างเผ อก ม ดวงอาท ตย ก ดวง

กาแล็กซีทางช้างเผือก (Milky Way) เป็นกาแล็กซีที่พวกเราอาศัยอยู่ แต่เนื่องจากดวงอาทิตย์ก็อยู่ภายในกาแล็กซี่แห่งนี้ เราจึงไม่สามารถมองเห็นได้ว่ากาแล็กซีทางช้างเผือกมีรูปร่างเป็นอย่างไร สิ่งที่เราเห็นได้คือแถบขาวจางๆที่เหยียดตัวพาดผ่านท้องฟ้ายามค่ำคืน ชื่อ Milky Way มาจากคำว่า Via Lactea ในภาษาละติน ซึ่งแปลตรงตัวว่า “ทางน้ำนม” เมื่อเราสำรวจแถบนี้อย่างละเอียดแล้ว จะพบว่าแถบทางช้างเผือกประกอบไปด้วยดาวฤกษ์ที่อยู่ห่างไกลนับพันล้านดวง แต่แสงจากดาวฤกษ์เหล่านี้ส่วนใหญ่ ถูกลดทอนด้วยฝุ่นแก๊สที่อยู่ในระนาบของกาแล็กซี

กาแล กซ ทางช างเผ อก ม ดวงอาท ตย ก ดวง
ภาพกาแล็กซีทางช้างเผือกตลอดทุกส่วนของแถบที่ประกอบจากภาพถ่ายส่วนต่างๆ Credit: Gigagalaxy Project

ผลจากการสังเกตการณ์บ่งชี้ว่ากาแล็กซีทางช้างเผือกเป็นกาแล็กซีแบบกังหันมีคาน ที่มีดาวฤกษ์อยู่อย่างน้อย 2 แสนล้านดวง มีเส้นผ่านศูนย์กลางราว 100,000 ปีแสง และมีความหนาเฉลี่ยประมาณ 1,000 ปีแสง ดวงอาทิตย์จะอยู่ในบริเวณค่อนข้างมืดมิด (มีดาวฤกษ์ค่อนข้างน้อย) ที่อยู่ห่างออกไปจากใจกลางกาแล็กซีไปราว 2/3 ของขนาดรัศมีกาแล็กซี

ระนาบของกาแล็กซีทางช้างเผือกเอียงทำมุมราว 60 องศาจากระนาบสุริยวิถี (ระนาบของระบบสุริยะ) ซึ่งใจกลางของกาแล็กซีทางช้างเผือกจะปรากฏอยู่ในทิศทางของกลุ่มดาวคนยิงธนู

ดวงอาทิตย์โคจรรอบใจกลางทางช้างเผือก เช่นเดียวกับโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ โดยอัตราเร็วในการโคจรของดวงอาทิตย์อยู่ที่ประมาณ 220 กิโลเมตร/วินาที อย่างไรก็ตาม เนื่องจากวงโคจรของดวงอาทิตย์รอบใจกลางทางช้างเผือกเป็นระยะทางที่ยาวมาก ดวงอาทิตย์จึงต้องใช้เวลาถึง 225 ล้านปีในการโคจรครบรอบ

ii แผนการจดั การเรียนรู้ วิชา วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ รหสั วิชา ว33101 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 จดั ทำโดย นางสาวณัฐกาน ศรบี ัวขาว ตำแหน่ง ครู กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โรงเรยี นอูท่ อง อำเภออทู่ อง จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

ก คำนำ แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๖ จัดทำข้ึน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการจดั การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบด้วยเนื้อหาสาระดังต่อไปนี้ แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วยซ่ึง ประกอบด้วย มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี แผนการจัดการ เรียนรู้รายหน่วยทั้งหมด 5 แผนการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย เอกภพและกาแล็กซี ดาวฤกษ์ ระบบ สุริยะ เทคโนโลยีอวกาศและการประยุกต์ใช้ และโครงสร้างโลก ซึ่งแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ได้ระบุ มาตรฐาน ตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบการจัดการ เรียนรู้ คือ รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ 5E ซึ่งมีวิธีการจัดการเรียนการสอนที่แตกต่างกันแต่ทั้งหมด นำมาซึ่งการบรรลุจุดประสงค์กรเรียนรู้ นอกจากนี้ยังมีใบงานและเกณฑ์การประเมินผล เพื่อใช้ในการ ประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนแต่ละคนว่าหลังจากเสร็จสิ้นการเรียน นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ เน้อื หาสาระมากนอ้ ยเพยี งใด ผ่านเกณฑ์การประเมินหรือไม่ ผู้จัดทำขอขอบพระคุณผู้ช่วยศาสตราจารย์ ร. พัชรีภรณ์ บางเขียว เป็นอย่างยิ่ง ที่ให้คำปรึกษา และคำแนะนำตลอดระยะเวลาการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าแผนการจัดการ เรยี นรู้เล่มน้ีเป็นประโยชน์กบั การจดั การเรียนรู้ในห้องเรียน ทำให้ผูเ้ รียนสามารถพัฒนาการเรียนรู้ได้อย่าง มีประสิทธภิ าพต่อไป นางสาวณฐั กาน ศรบี ัวขาว ผจู้ ัดทำ

ข สารบัญ เร่อื ง หน้า คำนำ ................................................................................................................................................ก สารบัญ .............................................................................................................................................ข แผนการจัดการเรียนรู้ .......................................................................................................................1 1. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตัวช้ีวัด......................................................................................................... 1 2. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ................................................................................................................... 3 3. สาระสำคัญ................................................................................................................................... 6 4. คำอธิบายรายวชิ า ......................................................................................................................... 8 ตารางโครงสร้างรายวชิ า...................................................................................................................9 แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 1 ...............................................................................................................11 1. มาตรฐานการเรียนรู้.................................................................................................................... 11 2. ตวั ชว้ี ัด........................................................................................................................................ 11 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ ................................................................................................................. 11 4. สาระสำคญั ................................................................................................................................. 12 5. สาระการเรียนรู้........................................................................................................................... 12 6. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน......................................................................................................... 13 7. ช้ินงานหรือภาระงาน ( หลักฐาน / รอ่ งรอยแสดงความรู้ ).......................................................... 14 8. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้........................................................................................................... 14 9. ส่อื การสอน................................................................................................................................. 15 10. แหลง่ เรียนร้ใู นหรือนอกสถานท่ี ................................................................................................ 15 11. การวดั และประเมนิ ผล.............................................................................................................. 16 12. กจิ กรรมเสนอแนะ .................................................................................................................... 19

ค สารบัญ (ตอ่ ) เรอ่ื ง หนา้ 13. บนั ทึกผลหลงั การสอน .............................................................................................................. 19 15. ปญั หา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข ................................................................................................ 19 16. ขอ้ เสนอแนะ............................................................................................................................. 19 กจิ กรรมที่ 1.1 เรื่อง การเกิดและวิวฒั นาการของเอกภพ................................................................. 21 แบบฝกึ หัดท้ายบทที่ 1 เร่อื ง เอกภพและกาแล็กซี........................................................................... 23 แบบประเมนิ พฤติกรรมรายบุคคล ................................................................................................... 24 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 2 ...............................................................................................................27 1. มาตรฐานการเรยี นรู้.................................................................................................................... 27 2. ตวั ชว้ี ัด........................................................................................................................................ 27 3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ................................................................................................................. 27 4. สาระสำคญั ................................................................................................................................. 28 5. สาระการเรยี นรู้........................................................................................................................... 28 6. สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียน......................................................................................................... 29 7. ชน้ิ งานหรือภาระงาน ( หลักฐาน / รอ่ งรอยแสดงความรู้ ).......................................................... 30 8. การจดั กิจกรรมการเรียนรู้........................................................................................................... 30 9. ส่ือการสอน................................................................................................................................. 31 10. แหลง่ เรยี นรูใ้ นหรอื นอกสถานที่ ................................................................................................ 31 11. การวดั และประเมินผล.............................................................................................................. 32 12. กจิ กรรมเสนอแนะ .................................................................................................................... 35 13. บันทึกผลหลังการสอน .............................................................................................................. 35 15. ปญั หา/อปุ สรรค/แนวทางแก้ไข ................................................................................................ 35

ง สารบัญ (ตอ่ ) เรือ่ ง หน้า 16. ข้อเสนอแนะ............................................................................................................................. 35 กจิ กรรมท่ี 2.2 เร่ือง อุณหภมู ิพืน้ ผวิ และชนิดสเปกตรมั ของดาวฤกษ์ ............................................... 37 แบบฝกึ หัดท้ายบทท่ี 2 เรอ่ื ง ดาวฤกษ์............................................................................................. 38 แบบประเมนิ พฤติกรรมรายบุคคล ................................................................................................... 39 แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 3 ...............................................................................................................42 1. มาตรฐานการเรียนรู้.................................................................................................................... 42 2. ตวั ชี้วัด........................................................................................................................................ 42 3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ................................................................................................................. 42 4. สาระสำคัญ................................................................................................................................. 43 5. สาระการเรยี นรู้........................................................................................................................... 43 6. สมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น ( เฉพาะที่เกิดในหน่วยการเรียนรนู้ ี)้ .......................................... 44 7. ชิ้นงานหรอื ภาระงาน ( หลักฐาน / รอ่ งรอยแสดงความรู้ ).......................................................... 44 8. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้........................................................................................................... 45 9. สอื่ การสอน................................................................................................................................. 46 10. แหล่งเรียนรูใ้ นหรอื นอกสถานที่ ................................................................................................ 46 11. การวัดและประเมนิ ผล.............................................................................................................. 47 12. กิจกรรมเสนอแนะ .................................................................................................................... 50 13. บนั ทกึ ผลหลงั การสอน .............................................................................................................. 50 15. ปญั หา/อุปสรรค/แนวทางแกไ้ ข ................................................................................................ 50 16. ข้อเสนอแนะ............................................................................................................................. 50 กิจกรรมท่ี 3.1 เร่ือง การเกดิ ระบบสรุ ิยะ......................................................................................... 52

จ สารบญั (ตอ่ ) เรอ่ื ง หนา้ แบบฝึกหัดทา้ ยบทที่ 3 เรือ่ ง ระบบสุรยิ ะ ........................................................................................ 53 แบบประเมินพฤตกิ รรมรายบุคคล ................................................................................................... 55 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 4 ...............................................................................................................58 1. มาตรฐานการเรียนรู้.................................................................................................................... 58 2. ตัวชีว้ ดั ........................................................................................................................................ 58 3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ................................................................................................................. 58 4. สาระสำคัญ................................................................................................................................. 59 5. สาระการเรยี นรู้........................................................................................................................... 59 6. สมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น......................................................................................................... 59 7. ช้นิ งานหรอื ภาระงาน ( หลักฐาน / รอ่ งรอยแสดงความรู้ ).......................................................... 60 8. การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้........................................................................................................... 60 9. ส่ือการสอน................................................................................................................................. 61 10. แหลง่ เรียนร้ใู นหรือนอกสถานท่ี ................................................................................................ 62 11. การวัดและประเมนิ ผล.............................................................................................................. 62 12. กิจกรรมเสนอแนะ .................................................................................................................... 65 13. บันทึกผลหลังการสอน .............................................................................................................. 65 15. ปญั หา/อปุ สรรค/แนวทางแกไ้ ข ................................................................................................ 65 16. ขอ้ เสนอแนะ............................................................................................................................. 65 กจิ กรรมท่ี 4.1 เร่ือง กล้องโทรทรรศนท์ ี่ใชศ้ ึกษาวัตถุบนทอ้ งฟา้ ในชว่ งความยาวคล่ืนตา่ ง ๆ............ 67 แบบฝกึ หดั ทา้ ยบทที่ 4 เรอ่ื ง เทคโนโลยอี วกาศและการประยกุ ตใ์ ช้................................................. 69 แบบประเมนิ พฤติกรรมรายบุคคล ................................................................................................... 70

ฉ สารบญั (ตอ่ ) เร่ือง หนา้ แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี 5 ...............................................................................................................72 1. มาตรฐานการเรยี นรู้.................................................................................................................... 73 2. ตวั ช้วี ดั ........................................................................................................................................ 73 3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ................................................................................................................. 73 4. สาระสำคัญ................................................................................................................................. 73 5. สาระการเรียนรู้........................................................................................................................... 74 6. สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน......................................................................................................... 74 7. ชน้ิ งานหรอื ภาระงาน ( หลักฐาน / ร่องรอยแสดงความรู้ ).......................................................... 75 8. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้........................................................................................................... 75 9. สอ่ื การสอน................................................................................................................................. 76 10. แหล่งเรยี นรใู้ นหรอื นอกสถานท่ี ................................................................................................ 77 11. การวดั และประเมนิ ผล.............................................................................................................. 77 12. กิจกรรมเสนอแนะ .................................................................................................................... 80 13. บนั ทึกผลหลงั การสอน .............................................................................................................. 80 15. ปัญหา/อปุ สรรค/แนวทางแกไ้ ข ................................................................................................ 80 16. ข้อเสนอแนะ............................................................................................................................. 80 กจิ กรรมที่ 5.2 เรื่อง แบบจำลองโครงสรา้ งโลก ............................................................................... 82 แบบฝึกหดั ทา้ ยบทท่ี 5 เร่ือง โครงสร้างโลก..................................................................................... 84 แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล ................................................................................................... 86 บรรณานุกรม ....................................................................................................................................ช

1 แผนการจัดการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รายวชิ า วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 6 ภาคเรียนท่ี 1 รหสั วชิ า ว33101 ปีการศกึ ษา 2564 เวลา 59 ชว่ั โมง ครูผูส้ อน นางสาวณัฐกาน ศรบี วั ขาว 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วัด มาตรฐานการเรยี นรู้ ว 3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาว ฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ ที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต และการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยอี วกาศ ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพนั ธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง ภายในโลก และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลง ลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศโลก รวมทั้งผลต่อ สง่ิ มีชีวิตและส่ิงแวดล้อม ตัวชีว้ ัด ว 3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาว ฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ ที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต และการ ประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยอี วกาศ ว 3.1 ม. 6/1 อธบิ ายการกำเนดิ และการเปลี่ยนแปลงพลงั งาน สสาร ขนาด อุณหภูมิของเอกภพ หลังเกิด บิกแบงในชว่ งเวลาตา่ ง ๆ ตามววิ ฒั นาการ ของเอกภพ ว 3.1 ม. 6/2 อธิบายหลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎีบิกแบง จากความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วกับ ระยะทางของกาแล็กซรี วมทั้งข้อมลู การค้นพบไมโครเวฟ พ้ืนหลงั จากอวกาศ ว 3.1 ม. 6/3 อธิบายโครงสร้างและองค์ประกอบของกาแล็กซีทางช้างเผือก และระบุตำแหน่ง ของระบบสุรยิ ะ พร้อมอธบิ ายเชือ่ มโยงกับการสงั เกตเห็นทางชา้ งเผือกของคนบนโลก ว 3.1 ม. 6/4 อธิบายกระบวนการเกิดดาวฤกษ์โดยแสดง การเปลี่ยนแปลงความดัน อุณหภูมิ ขนาด จากดาวฤกษ์กอ่ นเกิดจนเป็นดาวฤกษ์

2 ว 3.1 ม. 6/5 ระบุปจั จัยทสี่ ่งผลต่อความส่องสว่างของดาวฤกษ์และอธิบายความสมั พันธ์ระหว่าง ความส่องสวา่ งกบั โชตมิ าตรของดาวฤกษ์ ว 3.1 ม. 6/6 อธบิ ายความสัมพันธ์ระหวา่ งสีอุณหภมู ิผิว และสเปกตรมั ของดาวฤกษ์ ว 3.1 ม. 6/7 อธิบายลำดับวิวัฒนาการที่สัมพันธ์กับมวลตั้งต้น และวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลง สมบตั บิ างประการ ของดาวฤกษ์ ว 3.1 ม. 6/8 อธิบายกระบวนการเกิดระบบสุริยะ และการแบ่งเขตบริวารของดวงอาทิตย์และ ลักษณะของดาวเคราะหท์ ีเ่ อ้ือต่อการดำรงชวี ติ ว 3.1 ม. 6/9 อธิบายโครงสร้างของดวงอาทิตย์การเกิด ลมสุริยะ พายุสุริยะ และสืบค้นข้อมูล วเิ คราะห์ นำเสนอปรากฏการณห์ รือเหตุการณ์ทเี่ กี่ยวข้อง กับผลของลมสุริยะ และพายุสุริยะที่มี ตอ่ โลก รวมทัง้ ประเทศไทย ว 3.1 ม. 6/10 สืบค้นข้อมูล อธิบายการสำรวจอวกาศ โดยใช้กล้องโทรทรรศน์ในช่วงความยาว คลื่นต่าง ๆ ดาวเทียม ยานอวกาศสถานีอวกาศและนำเสนอ แนวคิดการนำความรู้ทางด้าน เทคโนโลยี อวกาศมาประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ประจำวัน หรอื ในอนาคต ว 3.2 เขา้ ใจองคป์ ระกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง ภายในโลก และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลง ลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศโลก รวมทั้งผลต่อ สิ่งมชี วี ิตและสง่ิ แวดลอ้ ม ว 3.2 ม. 6/1 อธิบายการแบ่งชั้นและสมบัติของโครงสร้างโลก พร้อมยกตัวอย่างข้อมูลท่ี สนับสนนุ ว 3.2 ม. 6/2 อธบิ ายหลักฐานทางธรณีวทิ ยาทสี่ นบั สนุน การเคลือ่ นทีข่ องแผน่ ธรณี ว 3.2 ม. 6/3 ระบุสาเหตุและอธิบายรูปแบบแนวรอยต่อของแผน่ ธรณที ี่สัมพนั ธ์กับการเคลือ่ นท่ี ของแผน่ ธรณพี รอ้ มยกตวั อยา่ งหลกั ฐานทางธรณวี ทิ ยาท่ีพบ ว 3.2 ม. 6/4 อธิบายสาเหตุกระบวนการเกิดภูเขาไฟระเบิด รวมทั้งสืบค้นข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัย ออกแบบและ นำเสนอแนวทางการเฝ้าระวงั และการปฏิบัตติ น ใหป้ ลอดภัย ว 3.2 ม. 6/5 อธิบายสาเหตุกระบวนการเกิด ขนาดและ ความรุนแรง และผลจากแผ่นดินไหว รวมทัง้ สบื ค้นขอ้ มูลพื้นท่ีเส่ียงภัย ออกแบบและ นำเสนอแนวทางการเฝา้ ระวังและการปฏิบัติตน ใหป้ ลอดภยั

3 ว 3.2 ม. 6/6 อธิบายสาเหตุกระบวนการเกิดและผลจากสนึ ามิ รวมทัง้ สืบคน้ ข้อมูลพื้นท่ีเส่ียงภัย ออกแบบ และนำเสนอแนวทางการเฝ้าระวังและการ ปฏิบตั ติ นใหป้ ลอดภยั ว 3.2 ม. 6/7 อธิบายปจั จัยสำคัญท่มี ีผลต่อการไดร้ บั พลังงานจากดวงอาทิตยแ์ ตกตา่ งกนั ในแต่ละ บริเวณ ของโลก ว 3.2 ม. 6/8 อธิบายการหมุนเวยี นของอากาศที่เปน็ ผลมาจากความแตกตา่ งของความกดอากาศ ว 3.2 ม. 6/9 อธบิ ายทิศทางการเคล่ือนท่ีของอากาศท่เี ป็นผลมาจากการหมนุ รอบตัวเองของโลก ว 3.2 ม. 6/10 อธบิ ายการหมุนเวยี นของอากาศตามเขต ละตจิ ูด และผลที่มีตอ่ ภมู อิ ากาศ ว 3.2 ม. 6/11 อธิบายปัจจัยที่ทำให้เกิดการหมุนเวียนของน้ำผิวหน้าในมหาสมุทรและรูปแบบ การหมนุ เวียนของนำ้ ผวิ หน้าในมหาสมทุ ร ว 3.2 ม. 6/12 อธิบายผลของการหมุนเวียนของอากาศ และน้ำผิวหน้าในมหาสมุทรที่มีต่อ ลักษณะภมู ิอากาศ ลมฟ้าอากาศ สิ่งมชี ีวติ และ สงิ่ แวดลอ้ ม ว 3.2 ม. 6/13 อธิบายปจั จัยที่มผี ลต่อการเปลยี่ นแปลง ภูมอิ ากาศของโลก พรอ้ มท้งั นำเสนอแนว ปฏบิ ัตเิ พอ่ื ลดกิจกรรมของมนษุ ย์ที่สง่ ผลตอ่ การเปลยี่ นแปลงภมู ิอากาศโลก ว 3.2 ม. 6/14 แปลความหมายสัญลักษณ์ลมฟ้าอากาศ ทส่ี ำคญั จากแผนท่ีอากาศ และนำข้อมูล สารสนเทศต่าง ๆ มาวางแผนการดำเนินชีวิตใหส้ อดคล้องกับสภาพลมฟา้ อากาศ 2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 2.1 ด้านความรู้ (K) 1. อธบิ ายการกำเนิดและการเปล่ยี นแปลงพลงั งาน สสาร ขนาด อุณหภูมิของเอกภพหลงั เกดิ บิก แบงในช่วงเวลาต่าง ๆ ตามวิวฒั นาการของเอกภพได้ (K) 2. อธิบายความสัมพนั ธร์ ะหว่างความเรว็ กับระยะทางของกาแล็กซี เพ่ือสนบั สนุนทฤษฎบี ๊ิกแบง ได้ (K) 3. อธิบายโครงสรา้ งและองค์ประกอบของกาแล็กซี ทางช้างเผอื ก (K) 4. อธิบายกระบวนการเกดิ ดาวฤกษ์โดยแสดง การเปลี่ยนแปลงความดนั อุณหภมู ิขนาด จากดาว ฤกษ์ก่อนเกดิ จนเปน็ ดาวฤกษ์ได้ (K) 5. อธบิ ายความสัมพนั ธ์ระหว่างกำลังสอ่ งสวา่ งทีม่ ผี ลตอ่ ความส่องสวา่ งของดาวฤกษ์ (K)

4 6. อธบิ ายความสมั พันธร์ ะหว่างสอี ุณหภมู ิผิว และสเปกตรัมของดาวฤกษ์ได้ (K) 7. อธิบายลำดับวิวัฒนาการที่สมั พันธก์ ับมวลตงั้ ต้น และวิเคราะห์การเปล่ียนแปลงสมบัติบาง ประการ ของดาวฤกษ์ได้ (K) 8. อธิบายกระบวนการเกิดระบบสรุ ยิ ะ และการแบง่ เขตบริวารของดวงอาทิตยแ์ ละลักษณะของ ดาวเคราะห์ทีเ่ อื้อต่อการดำรงชีวติ ได้ (K) 9. อธบิ ายกระบวนการเกิดระบบสรุ ยิ ะ และการแบ่ง เขตบรวิ ารของดวงอาทติ ย์และลักษณะของ ดาวเคราะหท์ เ่ี อ้ือต่อการดำรงชีวติ ได้ (K) 10. อธิบายการสำรวจอวกาศ โดยใช้ กลอ้ งโทรทรรศน์ในช่วงความยาวคลื่นต่าง ๆ ดาวเทียม ยานอวกาศสถานอี วกาศได้ (K) 11. อธิบายการแบ่งชั้นและสมบัติของโครงสร้างโลกได้ (K) 12. อธิบายหลักฐานทางธรณีวิทยาที่สนบั สนุนการเคลื่อนท่ีของแผน่ ธรณีได้ (K) 13. อธบิ ายรปู แบบแนวรอยต่อของแผน่ ธรณที ่ีสัมพันธ์กบั การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีได้ (K) 14. อธบิ ายสาเหตกุ ระบวนการเกดิ ภเู ขาไฟระเบิดได้ (K) 15. อธิบายสาเหตกุ ระบวนการเกดิ ขนาดและ ความรนุ แรง และผลจากแผน่ ดนิ ไหวได้ (K) 16. อธิบายสาเหตุกระบวนการเกดิ และผลจากสึนามิได้ (K) 17. อธบิ ายปจั จยั สำคญั ท่ีมผี ลต่อการไดร้ บั พลงั งานจากดวงอาทิตย์แตกต่างกันในแต่ละบริเวณ ของโลกได้ (K) 18. อธิบายการหมนุ เวียนของอากาศท่ีเปน็ ผลมาจากความแตกต่างของความกดอากาศได้ (K) 19. อธิบายทิศทางการเคล่อื นทขี่ องอากาศทเี่ ปน็ ผลมาจากการหมุนรอบตัวเองของโลกได้ (K) 20. อธิบายการหมนุ เวยี นของอากาศตามเขต ละติจูด และผลทีม่ ตี อ่ ภูมิอากาศได้ (K) 21. อธิบายปัจจัยท่ีทำใหเ้ กิดการหมุนเวียนและรปู แบบการหมุนเวียนของนำ้ ผิวหนา้ ในมหาสมทุ ร ได้ (K) 22. อธิบายผลของการหมนุ เวียนของอากาศท่ีมีต่อลักษณะภูมิอากาศ ลมฟา้ อากาศ ส่งิ มีชีวิต และ ส่งิ แวดล้อมได้ (K)

5 23. อธิบายปัจจัยท่มี ีผลตอ่ การเปล่ยี นแปลง ภมู อิ ากาศของโลกได้ (K) 24. แปลความหมายสัญลกั ษณล์ มฟ้าอากาศ ทส่ี ำคัญจากแผนทอ่ี ากาศได้ (K) 2.2 ด้านทกั ษะ (P) 1. วเิ คราะห์การกำเนดิ และการเปลีย่ นแปลงพลังงาน สสาร ขนาด อณุ หภมู ิของเอกภพหลังเกิดบิ กแบงในชว่ งเวลาต่าง ๆ ตามวิวัฒนาการของเอกภพได้ (P) 2. สามารถทดลองเร่อื งการขยายตวั ของเอกภพได้ (P) 3. สามารถทดลองเร่อื งการขยายตัวของเอกภพได้ (P) 4. สามารถแยกสแี ละอุณหภูมิต่าง ๆ ของดาวฤกษไ์ ด้ (P) 5. สามารถปฏิบตั กิ ารทดลองเร่อื ง ความส่องสวา่ งได้ (P) 6. สงั เกตและแยกความแตกต่างของสดี าวฤกษไ์ ด้ (P) 7. สงั เกตและแยกความแตกต่างของสีดาวฤกษไ์ ด้ (P) 8. ยกตัวอยา่ งลกั ษณะของดาวเคราะหท์ ีเ่ ออื้ ต่อการดำรงชวี ิตได้ (P) 9. สืบคน้ ข้อมูล วเิ คราะห์ นำเสนอปรากฏการณห์ รือเหตุการณท์ เ่ี กี่ยวข้อง กับผลของลมสุรยิ ะ และพายสุ รุ ยิ ะท่มี ีตอ่ โลก รวมทั้งประเทศไทยได้ (P) 10. สืบค้นขอ้ มลู และนำเสนอ แนวคดิ การนำความรู้ทางด้านเทคโนโลยี อวกาศมาประยุกต์ใช้ใน ชีวติ ประจำวัน หรือในอนาคต (P) 11. ยกตวั อย่างข้อมลู ทีส่ นับสนนุ การแบง่ ชนั้ และสมบัตขิ องโครงสร้างโลกได้ (P) 12. ยกตวั อย่างหลกั ฐานทางธรณวี ทิ ยาทสี่ นบั สนนุ การเคลือ่ นท่ีของแผน่ ธรณีได้ (P) 13. ระบุสาเหตุและยกตวั อย่างหลักฐานทางธรณีวทิ ยาที่พบได้ (P) 14. ระบุสาเหตุและยกตัวอย่างหลกั ฐานทางธรณวี ทิ ยาท่ีพบสบื คน้ ขอ้ มูลพืน้ ที่เส่ยี งภัย ออกแบบ และนำเสนอแนวทางการเฝ้าระวังและการปฏิบตั ิตน ใหป้ ลอดภยั ได้ (P) 15. สืบค้นข้อมลู พืน้ ที่เส่ยี งภัย ออกแบบและ นำเสนอแนวทางการเฝา้ ระวงั และการปฏบิ ตั ติ น ให้ ปลอดภัย (P)

6 16. สบื ค้นขอ้ มูลพืน้ ทีเ่ สี่ยงภัย ออกแบบและ นำเสนอแนวทางการเฝา้ ระวงั และการปฏบิ ตั ติ น ให้ ปลอดภยั (P) 17. สืบค้นปจั จยั ทม่ี ีผลตอ่ การไดร้ ับพลังงานจากดวงอาทติ ย์ (P) 18. สืบค้นขอ้ มูลเก่ยี วกบั การหมุนเวยี นของอากาศ (P) 19. วิเคราะห์ทศิ ทางการเคล่ือนทีข่ องอากาศที่เป็นผลมาจากการหมุนรอบตวั เองของโลกได้ (P) 20. วิเคราะหส์ ภาพภมู ิอากาศตามเขตละติจูดจา่ ง ๆ ของโลกได้ (P) 21. วเิ คราะหส์ ภาพภูมิอากาศตามเขตละติจดู ต่าง ๆ ของโลกได้ (P) 22. สบื ค้นวธิ ีรบั มือกบั ผลของการหมนุ เวยี นของอากาศ และน้ำผิวหนา้ ในมหาสมุทรได้ (P) 23. นำเสนอแนวปฏิบตั ิเพ่ือลดกจิ กรรมของมนุษย์ที่ส่งผลตอ่ การเปลยี่ นแปลงภมู ิอากาศโลกได้ (P) 24. นำข้อมูลสารสนเทศตา่ ง ๆ มาวางแผนการดำเนินชวี ติ ให้สอดคลอ้ งกับสภาพลมฟ้าอากาศได้ (P) 2.3 ด้านทศั นคติ (A) 1. มุ่งมั่นในการเรียนและมีความรับผิดชอบในงานท่ีได้รับมอบหมาย (A) 3. สาระสำคัญ ทฤษฎีกำเนิดเอกภพที่ยอมรับในปัจจุบัน คือ ทฤษฎีบิกแบง ระบุว่าเอกภพเริ่มต้นจากบิกแบงที่ เอกภพมีขนาดเล็กมาก และมีอุณหภูมิสูงมาก ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของเวลาและวิวัฒนาการของเอกภพ โดย หลังเกิดบิกแบง เอกภพเกิดการขยายตัวอย่างรวดเร็ว มีอุณหภูมิลดลง มีสสารคงอยู่ในรูปอนุภาคและ ปฏิยานุภาคหลายชนิด และมีวิวัฒนาการต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน โดยหลักฐานสำคัญที่สนับสนุนทฤษฎี บิกแบง คือ การขยายตัวของเอกภพ และการคน้ พบไมโครเวฟพื้นหลงั จากอวกาศ หลงั จากเกดิ บิกแบงเกิด เป็นวิวัฒนาการต่าง ๆ เช่น กาแล็กซี ซึ่งประกอบด้วย ดาวฤกษ์จำนวนหลายแสนล้านดวง ซึ่งอยู่กันเป็น ระบบของดาวฤกษ์ นอกจากนี้ยังประกอบด้วยเทห์ฟ้าอื่น เช่น เนบิวลา และสสารระหว่างดาว โดย องค์ประกอบต่าง ๆ ภายในของกาแล็กซีอยู่รวมกันด้วยแรงโน้มถ่วง ดาวฤกษ์ส่วนใหญ่อยู่รวมกันเป็น ระบบดาวฤกษ์ คือ ดาวฤกษ์ที่อยรู่ วมกันต้งั แต่ 2 ดวงขึ้นไป ดาวฤกษ์เปน็ กอ้ นแกส๊ รอ้ นขนาดใหญ่ เกิดจาก การยบุ ตวั ของกลุม่ สสารในเนบวิ ลาภายใต้แรงโน้มถว่ ง เช่น ดวงอาทติ ย์ท่เี ป็นจุดศูนย์กลางของระบบสุริยะ

7 โลกเป็นดาวเคราะห์ในระบบสุริยะท่ีมีส่ิงมีชีวิต เพราะโคจรรอบดวงอาทิตย์ในระยะทางท่ีเหมาะสม อยู่ใน เขตท่เี อือ้ ตอ่ การมีสิ่งมีชวี ติ มอี ณุ หภูมิทเ่ี หมาะสมและสามารถเกดิ น้ำที่ยงั คงสถานะเป็น ของเหลวได้ มนุษย์ใช้เทคโนโลยีอวกาศในการศึกษา เพื่อขยายขอบเขตความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และใน ขณะเดียวกันมนุษย์ได้นำเทคโนโลยีอวกาศมาใช้ ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ เช่น วัสดุศาสตร์อาหาร การแพทย์ การศึกษาโครงสร้างโลกใช้ข้อมูลหลายด้าน เช่น องค์ประกอบทางเคมีของหินและแร่ องค์ประกอบทางเคมีของอุกกาบาต ขอ้ มูลคลื่นไหวสะเทือนที่เคล่อื นทผี่ ่านโลก แผ่นธรณีต่าง ๆ เป็นส่วนประกอบของธรณีภาค การเปลี่ยนแปลงขนาดและตำแหน่งตั้งแต่อดีต จนถึงปัจจุบัน การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีดังกล่าว อธิบายได้ตามทฤษฎีธรณีแปรสัณฐาน ซึ่งมีรากฐานมา จากทฤษฎีทวีปเลื่อนและทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทร โดยมีหลักฐานที่สนับสนุน ได้แก่รูปร่างของขอบ ทวีปที่สามารถเชื่อมต่อกันได้ ความคล้ายคลึงกันของกลุ่มหินและแนวเทือกเขา ซากดึกดำบรรพ์ร่องรอย การเคลื่อนที่ของ ตะกอนธารน้ำแข็ง ภาวะแม่เหล็กโลกบรรพกาล อายุหินของพื้นมหาสมุทร รวมทั้งการ ค้นพบสันเขากลางสมุทร และร่องลกึ กน้ สมทุ ร ภัยพิบัติต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนโลกอย่างสึนามิหรือแผน่ ดินไหว เกิดได้หลายสาเหตุ เช่น การเคลื่อน ตัวของแผน่ เปลือกโลก และการปะทุของภูเขาไฟใต้น้ำ ทำใหเ้ กิดความเสียหายมากมากบนโลก เราจึงต้อง หาวธิ ปี อ้ งกันภัยพบิ ัติตา่ ง ๆ ทจ่ี ะเกิดขนึ้ และพรอ้ มที่จะรบั ความเส่ียงด้วยข้อมลู ที่ถกู ต้องและมปี ระโยชน์ การหมนุ เวยี นของอากาศเกิดข้นึ จากความกดอากาศที่แตกตา่ งกนั ระหวา่ งสองบรเิ วณ โดยอากาศ เคลื่อนที่จากบริเวณที่มีความกดอากาศสูงไปยังบริเวณที่มีความกดอากาศต่ำ ซ่ึงจะเห็นได้ชัดเจนในการ เคลื่อนที่ของอากาศในแนวราบ การเปลี่ยนแปลงทางสภาพอากาศเกิดเป็นฤดูกาลต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นเป็น ประจำทุกปี ไมเ่ หมอื นกับภาวะโลกรอ้ นทถ่ี ือวา่ เป็นภยั พิบัติ

8 4. คำอธบิ ายรายวชิ า การศึกษาเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ รหัสวิชา ว33101 ผู้เรียนต้องศึกษาเกี่ยวกับท้ัง ในและนอกโลก เช่น ระบบสุริยะ วิวัฒนาการของอวกาศ ภัยพิบัติที่เกิดขึ้นบนโลก การเปลี่ยนแปลงทาง สภาพอาศ หรือแม้กระทั่งลงลึกไปยังชั้นเนื้อโลก โดยผู้เรียนจะต้องเรียนรู้และทำความเข้าใจเพื่อที่จะ เตรยี มพร้อมรับมอื กบั การเปล่ียนแปลงทางดา้ นตา่ ง ๆ ท่ีเกดิ ขนึ้ ภายในโลกไดอ้ ย่างเหมาะสม การศึกษาในเรื่องนี้ มีสื่อการเรียนรู้ต่าง ๆ มากมายในอินเตอร์เน็ตที่ให้ผู้เรียนได้ศึกษาเพิ่มเติม นอกจากหนังสือเรียน ซึ่งเป็นการเสริมทักษะการสืบค้นของผู้เรียนได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังมีคลิปวิดีโอ เกี่ยวกับการทดลองต่าง ๆ ในเรื่องของเอกภพ กาแล็กซี หรือการแปรสัณฐานของโลก ที่จะทำให้ผู้เรียน เข้าใจเนื้อหาที่เรียนไดม้ ากยิง่ ขึ้น และยังสามารถทำให้ผู้เรียนเกิดความสนใจในการเรยี นรู้ โดยทักษะต่าง ๆ ที่กล่าวมาข้างต้นสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้และตัวชี้วัดในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 เพอ่ื ให้ผู้เรียนตระหนักในการใช้ความรู้ ความเข้าใจ และทกั ษะตา่ ง ๆ ทเี่ กี่ยวข้องกบั วทิ ยาศาสตร์ โลก และอวกาศได้อย่างถูกต้อง ครูผู้สอนจึงได้จัดหาสื่อการเรียนรู้ทีเ่ หมาะสมแก่ผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนได้ นำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ใช้ในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตและสร้าง ประโยชนแ์ กต่ นเองและส่วนรวม ก่อให้เกิดนสิ ยั ใฝ่เรียนรู้ มีความรบั ผดิ ชอบ และมีลกั ษณะอันพึงประสงค์ ตามมาตรฐานการเรียนรูก้ ล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหสั ตวั ช้ีวัด ว 3.1 ม. 6/1 ม. 6/2 ม. 6/3 ม. 6/4 ม. 6/5 ม. 6/6 ม. 6/7 ม. 6/8 ม. 6/9 ม. 6/10 ว 3.2 ม. 6/1 ม. 6/2 ม. 6/3 ม. 6/4 ม. 6/5 ม. 6/6 ม. 6/7 ม. 6/8 ม. 6/9 ม. 6/10 ม. 6/11 ม. 6/12 ม. 6/13 ม. 6/14 รวม 24 ตัวช้วี ดั

9 ตารางโครงสรา้ งรายวชิ า รายวชิ าพ้นื ฐาน รหสั วชิ า ว33101 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ปกี ารศึกษา 2564 จำนวน 59 ชั่วโมง หนว่ ยท่ี ช่อื หนว่ ย เวลา (ช่ัวโมง) 1 โลกในเอกภพ 20 1.1 เอกภพและกาแล็กซี 6 1.2 ดาวฤกษ์ 6 1.3 ระบบสุริยะ 5 1.4 เทคโนโลยีอวกาศและการประยุกใช้ 3 2 กระบวนการเปล่ยี นแปลงภายในโลก 19 2.1 โครงสร้างโลก 5 2.2 การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี 8 2.3 ธรณพี บิ ตั ิภยั 6 3 ลม ฟ้า อากาศและภูมิอากาศ 20 3.1 การเกิดลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศ 10 3.2 กระบวนการเปลยี่ นแปลงภูมอิ ากาศ 4 3.2 ข้อมลู สารสนเทศทางอตุ ุนยิ มวิทยากบั การใช้ประโยชน์ 6

10

11 แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 1 สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ (ดาราศาสตร)์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 เรอ่ื ง เอกภพและกาแลก็ ซี เวลา 6 ชวั่ โมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 3.1 เข้าใจองคป์ ระกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และววิ ฒั นาการของเอกภพ กาแลก็ ซี ดาว ฤกษ์ และระบบสรุ ิยะ รวมท้งั ปฏิสมั พนั ธ์ภายในระบบสุริยะ ทสี่ ง่ ผลต่อสิง่ มชี วี ิต และการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยอี วกาศตัวชีว้ ดั 2. ตัวช้ีวัด ม. 6/1 อธิบายการกำเนิดและการเปลี่ยนแปลงพลังงาน สสาร ขนาด อุณหภูมิของเอกภพหลัง เกิด บิกแบงในช่วงเวลาตา่ ง ๆ ตามวิวฒั นาการ ของเอกภพ ม. 6/2 อธิบายหลกั ฐานที่สนับสนุนทฤษฎีบกิ แบง จากความสมั พนั ธ์ระหวา่ งความเร็วกบั ระยะทางของกาแล็กซรี วมทงั้ ขอ้ มูลการค้นพบไมโครเวฟ พื้นหลังจากอวกาศ ม. 6/3 อธบิ ายโครงสร้างและองค์ประกอบของกาแล็กซที างช้างเผอื ก และระบตุ ำแหน่งของ ระบบสุรยิ ะ พร้อมอธบิ ายเชอ่ื มโยงกับการสังเกตเหน็ ทางชา้ งเผอื กของคนบนโลก 3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ - ด้านพุทธพิ ิสยั (K) 1. อธิบายการกำเนดิ และการเปลยี่ นแปลงพลังงาน สสาร ขนาด อณุ หภมู ิของเอกภพหลังเกิดบิ กแบงในช่วงเวลาตา่ ง ๆ ตามวิวฒั นาการของเอกภพได้ 2. อธิบายความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งความเร็วกับระยะทางของกาแลก็ ซี เพื่อสนบั สนุนทฤษฎีบิ๊กแบง ได้ 3. อธบิ ายโครงสร้างและองค์ประกอบของกาแล็กซี ทางช้างเผือก - ดา้ นทกั ษะพิสัย (P) 1. วิเคราะห์การกำเนิดและการเปลยี่ นแปลงพลงั งาน สสาร ขนาด อณุ หภมู ิของเอกภพหลังเกดิ บิ กแบงในชว่ งเวลาต่าง ๆ ตามวิวฒั นาการของเอกภพได้ 2. สามารถทดลองเรอื่ งการขยายตัวของเอกภพได้

12 3. ระบตุ ำแหนง่ ของระบบสรุ ิยะ พร้อมอธิบายเช่ือมโยงกบั การสงั เกตเหน็ ทางชา้ งเผอื กของคนบน โลกได้ - ดา้ นเจตพิสยั (A) 1. มุ่งมั่นในการเรยี นและมีความรับผิดชอบในงานทไ่ี ด้รับมอบหมาย 4. สาระสำคญั เอกภพเป็นระบบใหญ่ที่สุด ประกอบด้วยกาแล็กซีจำนวนมหาศาลอยู่รวมกันเป็นกระจุก และ สสารตา่ ง ๆ ท่ีอยรู่ ะหวา่ งกาแลก็ ซ่ี โดยทฤษฎีกำเนดิ เอกภพทย่ี อมรบั ในปัจจุบันคือทฤษฎบี กิ แบง กล่าวว่า เอกภพกำเนิดจากจุดที่มีขนาดเล็ก มวลมากทำให้มีความหนาแน่นมาก และอุณหภูมิสูงมาก เมื่อเกิดการ ขยายตัวเอกภพจะมีอณุ หภูมลิ ดลง มีสสารเกิดข้ึนในรปู อนุภาคและปฏอิ นภุ าคชนิดตา่ ง ๆหลักฐานสำคญั ท่ี สนับสนุนทฤษฎีบิกแบง คือ การขยายตัวของเอกภพ และการค้นพบไมโครเวฟพื้นหลังจากอวกาศ กาแล็กซีประกอบด้วยดาวฤกษ์จำนวนมาก เนบิวลา และสสารระหว่างดาวซึ่งรวมกันเป็นระบบด้วยแรง โน้มถ่วง ระบบสุริยะอยู่ในบริเวณแขนของกาแล็กซีทางช้างเผือกซึ่งเป็นกาแล็กซีชนิดกังหันมีคาน มี โครงสร้าง คอื นิวเคลียส จาน และฮาโล ซึง่ มีดาวฤกษจ์ ำนวนมากอยบู่ รเิ วณนิวเคลยี สและจาน 5. สาระการเรียนรู้ ทฤษฎกี ำเนิดเอกภพทีย่ อมรบั ในปจั จุบัน คอื ทฤษฎีบิกแบง ระบวุ ่าเอกภพเริ่มต้นจากบิกแบงท่ี เอกภพมขี นาดเล็กมาก และมีอณุ หภูมสิ ูงมาก ซึ่งเป็นจุดเร่ิมต้นของเวลาและววิ ัฒนาการของเอกภพ โดย หลังเกิดบิกแบง เอกภพเกิดการ ขยายตวั อย่างรวดเร็ว มอี ุณหภูมลิ ดลง มีสสารคงอยู่ในรูปอนภุ าคและ ปฏยิ านุภาคหลายชนดิ และมีวิวฒั นาการต่อเน่อื งจนถงึ ปัจจุบัน ซง่ึ มเี นบิวลา กาแล็กซี ดาวฤกษ์และ ระบบสุรยิ ะเป็นสมาชิกบางส่วนของเอกภพ หลักฐานสำคัญที่สนับสนุนทฤษฎีบิกแบง คือ การขยายตัวของเอกภพ ซึ่งอธิบายด้วยกฎฮับเบิล โดยใชค้ วามสมั พันธ์ระหว่างความเร็วและระยะทางของกาแลก็ ซที ี่เคลื่อนท่ีห่างออกจากโลก และหลักฐาน อีกประการคือ การค้นพบไมโครเวฟพื้นหลังที่กระจายตัวอย่างสม่ำเสมอทุกทิศทาง และสอดคล้องกับ อณุ หภูมิเฉลี่ยของอวกาศ มีคา่ ประมาณ 2.73 เคลวิน กาแล็กซีประกอบด้วย ดาวฤกษ์จำนวนหลายแสน ล้านดวง ซึ่งอยู่กันเป็นระบบของดาวฤกษ์ นอกจากนีย้ งั ประกอบด้วยเทหฟ์ ้าอื่น เชน่ เนบิวลา และสสารระหวา่ งดาว โดยองค์ประกอบต่าง ๆ ภายใน ของกาแล็กซีอยูร่ วมกนั ด้วยแรงโนม้ ถว่ ง

13 กาแล็กซีมีรูปร่างแตกต่างกัน โดยระบบสุริยะ อยู่ในกาแล็กซีทางช้างเผือกซึ่งเป็นกาแลก็ ซีกังหนั แบบมีคาน มีโครงสร้าง คือ นิวเคลียส จาน และ ฮาโล ดาวฤกษ์จำนวนมากอยู่ในบริเวณนิวเคลียส และ จาน โดยมีระบบสุริยะอยู่ห่างจากจุดศูนย์กลาง ของกาแล็กซีทางช้างเผือก ประมาณ 30,000 ปีแสง ซึ่ง ทางช้างเผือกที่สังเกตเห็นในท้องฟ้าเป็นบริเวณหนึ่งของกาแล็กซีทางช้างเผือกในมุมมองของคนบนโลก แถบฝา้ สีขาวจาง ๆ ของทางชา้ งเผือกคอื ดาวฤกษท์ ่ีอย่อู ย่างหนาแนน่ ในกาแลก็ ซีทางช้างเผือก 6. สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี น  ความสามารถในการส่อื สาร  ความสามารถในการคิด  ความสามารถในการแก้ปัญหา  ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต  ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี  ทกั ษะของผู้เรยี นในศตวรรษท่ี 21 (3R 8C + 2L) (จุดเนน้ สกู่ ารพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น)  ทักษะการอ่าน (Reading)  ทกั ษะการ เขียน (Writing)  ทกั ษะการ คิดคำนวณ (Arithmetic)  ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ปญั หา (Critical thinking and problem solving)  ทักษะดา้ นการสร้างสรรค์และนวตั กรรม (Creativity and innovation)  ทกั ษะด้านความรว่ มมือ การทำงานเปน็ ทมี และภาวะผูน้ ำ (Collaboration , teamwork and leadership)  ทกั ษะดา้ นความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ตา่ งกระบวนทัศน์ (Cross-cultural understanding)  ทกั ษะด้าน การส่ือสาร สารสนเทศ และร้เู ท่าทนั ส่ือ (Communication information and media literacy)  ทักษะด้านคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร (Computing)  ทักษะอาชพี และทักษะการเรยี นรู้ (Career and learning self-reliance, change)  ทกั ษะการเปลยี่ นแปลง (Change)  ทักษะการเรยี นรู้ (Learning Skills)  ภาวะผู้นำ (Leadership)

14 7. ช้นิ งานหรือภาระงาน ( หลักฐาน / ร่องรอยแสดงความรู้ ) - แบบฝึกหดั ท้ายบทท่ี 1 เรอื่ ง เอกภพและกาแล็กซี - เกมกจิ กรรมตอบคำถามเกย่ี วกับเอกภพและกาแลก็ ซี (ก่อนและหลังเรยี น) - กจิ กรรมที่ 1.1 เรือ่ ง เอกภพและกาแลก็ ซี 8. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ หนว่ ยยอ่ ยท่ี 1 เร่ือง เอกภพและกาแลก็ ซี ชวั่ โมงท่ี 6 : ใช้รูปแบบการเรียนรแู้ บบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ข้ันที่ 1 : ขน้ั สร้างความสนใจ (Engagement) 1.1 ครูถามคำถามแก่นักเรียน เร่อื ง เอกภพและกาแล็กซี ว่า “เอกภพประกอบไปด้วยอะไรบา้ ง” เพ่ือเปน็ การกระตนุ้ ความสนใจในการเรยี นรู้ ขั้นท่ี 2 : ขน้ั สำรวจและค้นหา (Exploration) 2.1 นักเรียนศกึ ษา เรือ่ ง เอกภพและกาแล็กซี จากหนงั สอื เรยี นรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ วชิ า วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2560) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 2.2 นักเรียนศกึ ษา เร่อื ง เอกภพและกาแลก็ ซี จากส่ือการสอน Power point ที่ครเู ตรยี มไว้ ขั้นที่ 3 : ขน้ั อธิบายและลงข้อสรปุ (Explanation) 3.1 ครถู ามคำถามตอ่ ไปนี้ 3.1.1 เอกภพมีการขยายตัวหรือไม่ อย่างไร แนวคำตอบ เอกภพมีการขยายใหญข่ ึน้ เร่ือย ๆ จากหลกั ฐานการขยายตัวของเอกภพ เอกภพ กำเนิดมาจากจดุ เล็ก ๆ ท่ีมอี ุณหภมู ิสูง และค่อยขยายตัวออกเร่ือย ๆ และพบว่าทีอณุ หภมู ติ ่ำลง อกี ด้วย 3.1.2 ทางช้างเผอื กและกาแล็กซที างช้างเผือก เหมือนหรือแตกตา่ งกันอย่างไร แนวคำตอบ (นักเรยี นตอบตามความเข้าใจของตนเอง)

15 ขั้นที่ 4 : ขนั้ ขยายความรู้ (Elaboration) 4.1 ครูใหน้ ักเรยี นปฏิบัติกจิ กรรมท่ี 1.2 เรื่อง แบบจำลองการขยายตวั และเอกภพ ขน้ั ท่ี 5 : ขน้ั ประเมิน (Evaluation) 5.1 ครปู ระเมนิ จากการทำกจิ กรรมท่ี 1.1 เรือ่ ง การกำนดิ แลพววิ ฒั นาการของเอกภพ การตอบ คำถามจากแบบฝึกหดั ทา้ ยบทของนักเรียน 5.2 ครูประเมินจากการทน่ี กั เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน และการสืบเสาะหาความรู้ 9. สื่อการสอน - หนงั สือเรยี นรายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ วชิ าวิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ กลมุ่ สาระการ เรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 - สือ่ การสอน Power point - แบบฝึกหัดท้ายบทท่ี 1 เรอ่ื ง เอกภพและกาแล็กซี - เกมกจิ กรรมตอบคำถามเกย่ี วกบั เอกภพและกาแลก็ ซี - กิจกรรมท่ี 1.1 เรอื่ ง เอกภพและกาแล็กซี 10. แหล่งเรียนรูใ้ นหรือนอกสถานที่ - หอ้ งเรียน - หอ้ งสมุด - อินเตอร์เนต็

16 11. การวัดและประเมนิ ผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีวดั เครื่องมือวัด เกณฑ์การให้ เกณฑก์ ารประเมนิ -กจิ กรรมท่ี 1.1 คะแนน หรอื สิง่ ที่ต้องการจะวดั และ และ 1.2 4 = ดมี าก 4 = ดีมาก ประเมนิ ผล - 3 = ดี 3 = ดี 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ 1. อธบิ ายการกำเนดิ และการ -ประเมินจากการ 1 = ควรปรบั ปรงุ 1 = ควรปรับปรงุ เปลี่ยนแปลงพลังงานสสารขนาด ทำกิจกรรมท่ี 1.1 4 = ดมี าก 4 = ดีมาก 3 = ดี 3 = ดี อุณหภมู ขิ องเอกภพหลงั เกดิ บิ และ1.2 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ 1 = ควรปรับปรงุ 1 = ควรปรับปรุง กแบงในชว่ งเวลาตา่ งๆตาม 4 = ดีมาก 4 = ดีมาก 3 = ดี 3 = ดี วิวฒั นาการของเอกภพได้ และ 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ 1 = ควรปรบั ปรงุ 1 = ควรปรับปรุง อธิบายความสมั พันธ์ระหว่าง 4 = ดมี าก 4 = ดมี าก ความเรว็ กบั ระยะทางของกาแลก็ ซี 3 = ดี 3 = ดี 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ เพ่ือสนับสนุนทฤษฎีบิ๊กแบงได้ (K) 1 = ควรปรับปรงุ 1 = ควรปรับปรุง 4 = ดีมาก 4 = ดมี าก 2. อธบิ ายโครงสรา้ งและ - ประเมินจากการ 3 = ดี 3 = ดี 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ องค์ประกอบของกาแล็กซี ทาง ตอบคำถามของ 1 = ควรปรับปรุง 1 = ควรปรบั ปรุง ช้างเผอื ก(K) นักเรยี น 3.วิเคราะห์การกำเนดิ และการ -ประเมินจากการ - เปล่ียนแปลงพลงั งานสสารขนาด ตอบคำถามของ อุณหภมู ขิ องเอกภพหลงั เกดิ บิ นกั เรียน กแบงในชว่ งเวลาต่างๆตาม ววิ ัฒนาการของเอกภพได้ และ สามารถทดลองเร่ืองการขยายตวั ของเอกภพได้ (P) 4. ระบตุ ำแหน่งของระบบสุริยะ -ประเมนิ จากการ - พร้อมอธิบายเช่ือมโยงกบั การ ใชเ้ ทคโนโลยใี นทาง สังเกตเห็นทางช้างเผือกของคนบน สร้างสรรค์ของ โลกได้ (P) นกั เรยี น 5. มงุ่ มั่นในการเรยี นและมคี วาม -ประเมินจาก -แบบฝึกหัดท้าย รับผดิ ชอบในงานที่ไดร้ ับ แบบฝกึ หดั ท้ายบท บทที่ 1 มอบหมาย (A) ท่ี 1

17 สมรรถนะของผเู้ รียน สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น วธิ วี ดั เครื่องมือวัด เกณฑก์ ารให้ เกณฑ์การประเมนิ คะแนน 1. ความสามารถในการคิด สงั เกต แบบประเมนิ ใบงาน 4 = ดีมาก 4 = ดีมาก 2. ความสามารถในการแกป้ ัญหา สงั เกต 3 = ดี 3 = ดี 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ 3. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี สงั เกต 1 = ควรปรับปรงุ 1 = ควรปรับปรุง แบบประเมินใบงาน 4 = ดมี าก 4 = ดมี าก 3 = ดี 3 = ดี 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ 1 = ควรปรบั ปรุง 1 = ควรปรับปรงุ แบบประเมนิ ใบงาน 4 = ดีมาก 4 = ดีมาก 3 = ดี 3 = ดี 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ 1 = ควรปรับปรงุ 1 = ควรปรับปรุง

18 ทักษะของผูเ้ รยี นในศตวรรษท่ี 21 เคร่อื งมอื วัด เกณฑ์การให้ เกณฑก์ ารประเมนิ คะแนน ทักษะของผเู้ รยี นในศตวรรษ วิธวี ดั แบบประเมนิ ท่ี 21 พฤติกรรม 4 = ดมี าก 4 = ดีมาก รายบุคคล 3 = ดี 3 = ดี 1. ทักษะด้านการคิดอยา่ งมี สงั เกต 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ วจิ ารณญาณและทกั ษะในการ แบบประเมนิ 1 = ควรปรบั ปรุง 1 = ควรปรบั ปรุง แกป้ ญั หา(Criticalthinking พฤตกิ รรม 4 = ดมี าก 4 = ดีมาก and problem solving) รายบคุ คล 3 = ดี 3 = ดี 2. ทักษะดา้ นความร่วมมือการ สังเกต 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ ทำงานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ ำ 1 = ควรปรับปรงุ 1 = ควรปรับปรุง (Collaboration , teamwork and leadership) 3. ทกั ษะด้านการสอื่ สาร สังเกต แบบประเมิน 4 = ดมี าก 4 = ดมี าก สารสนเทศและรเู้ ทา่ ทันสอ่ื พฤติกรรม 3 = ดี 3 = ดี (Communication รายบุคคล 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ information and media 1 = ควรปรบั ปรงุ 1 = ควรปรับปรุง literacy) 4. ทักษะการเรยี นรู้ (Learning สังเกต แบบประเมิน 4 = ดมี าก 4 = ดมี าก Skills) พฤติกรรม 3 = ดี 3 = ดี รายบุคคล 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ 1 = ควรปรับปรงุ 1 = ควรปรับปรุง ตารางเกณฑก์ ารประเมนิ ผลต่าง ๆ เกณฑ์การประเมิน ดีมาก ระดับคะแนน ดี 4 พอใช้ 3 2 ควรปรบั ปรุง 1

19 12. กิจกรรมเสนอแนะ ............................................................................................................................. .................................. ................................................................................................. .............................................................. ............................................................................................................................. .................................. 13. บนั ทกึ ผลหลังการสอน สรปุ ผลการเรยี นการสอน นักเรยี นทง้ั หมดจำนวน.....................คน จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ จำนวนนกั เรยี นที่ผ่าน จำนวนนักเรียนท่ีไมผ่ ่าน จำนวนคน ร้อยละ จำนวนคน รอ้ ยละ 15. ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไ้ ข ............................................................................................................................. .................................. ................................................................................................ ............................................................... ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................................................. .. 16. ข้อเสนอแนะ ................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................. ................................ ลงชือ่ ........................................................................ ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ........................................... () ลงชื่อ.......................................................................... หัวหนา้ กลุม่ สาระการเรียนรู้ () ลงชือ่ .......................................................................... รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวชิ าการ ()

20 ความเห็นของหัวหนา้ สถานศึกษา ไดท้ ำการตรวจแผนการเรียนรู้ของ....................................................................แลว้ มีความคิดเหน็ ดงั น้ี 1. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่  ดมี าก  ดี  พอใช้  ควรปรบั ปรงุ 2. การจัดกิจกรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้  เน้นผู้เรียนเปน็ สำคญั มาใช้ในการสอนได้อยา่ งเหมาะสม  ยังไมเ่ น้นผู้เรยี นเปน็ สำคัญ ควรปรับปรงุ พัฒนาต่อไป 3. ขอ้ เสนอแนะอ่นื ๆ ............................................................................................................................. ........................... ............................................................................................................................. ........................... ...................................................................................... .................................................................. ............................................................................................................................. ........................... ลงชอื่ ............................................................................................... ( …………………..........................……………………………… ) ผูอ้ ำนวยการโรงเรียน…………………………………………………………..

21 กิจกรรมที่ 1.1 เรือ่ ง การเกดิ และววิ ัฒนาการของเอกภพ ชื่อ - สกุล ................................................................................... ชัน้ ....................... เลขที่ ........................ คำชแ้ี จง * 1. จากแผนภาพที่กำหนด ศึกษาการเปลี่ยนแปลงและศึกษาเปลี่ยนแปลงสสารและพลังงานใน ชว่ งเวลาต่าง ๆ ตามวิวัฒนาการของเอกภพ พรอ้ มสงั เกตการเปลยี่ นแปลงของอุณหภูมิ และขนาดของเอก ภพ 2. วิเคราะห์และระบุสสาร หรือพลังงานที่พบในแต่ละช่วงเวลาขิงวิวัฒนาการลงในตารางท่ี กำหนด รปู ที่ 1. 1แผนภาพแสดงลกั ษณะและววิ ฒั นาการของเอกภพตามทฤษฎบี ิกแบง

22 ตารางบนั ทึกผล เวลา 10-43 – 10-32 10-32– 10-6 10-6วนิ าที –3 3 นาที – 3แสน 3 แสนปี –1,000 1,000– 13,800 วินาที วนิ าที นาที ปี ล้านปี ล้านปี อณุ หภูมิ 1032 – 1027เคล 1027 – 1013เคล 1013 – 109เคลวิน 109– 5,000เคล 5,000 - 100 เคลวิน 100 – 2.73 เคล วิน วิน วนิ วิน ส่งิ ทพ่ี บ o ควาร์ก o ควารก์ o ควารก์ o ควารก์ o ควาร์ก o ควาร์ก o แอนติ o แอนติ o แอนติ o แอนติ o แอนติ o แอนติ ควาร์ก ควารก์ ควารก์ ควาร์ก ควาร์ก ควาร์ก o อิเลก็ ตรอน o อิเล็กตรอน o อิเล็กตรอน o อิเล็กตรอน o อเิ ลก็ ตรอน o อิเลก็ ตรอน o โพซติ รอน o โพซติ รอน o โพซิตรอน o โพซติ รอน o โพซติ รอน o โพซิตรอน o นวิ ทรโิ น o นิวทรโิ น o นิวทริโน o นิวทริโน o นิวทริโน o นวิ ทรโิ น o แอนตนิ วิ o แอนตินิว o แอนตนิ วิ o แอนตนิ วิ o แอนตนิ วิ o แอนตนิ ิว ทริโน ทรโิ น ทริโน ทรโิ น ทริโน ทริโน o โฟตอน o โฟตอน o โฟตอน o โฟตอน o โฟตอน o โฟตอน o นวิ ตรอน o นวิ ตรอน o นิวตรอน o นวิ ตรอน o นิวตรอน o นวิ ตรอน o โปรตรอน o โปรตรอน o โปรตรอน o โปรตรอน o โปรตรอน o โปรตรอน หรือ หรอื หรือ หรอื หรือ หรอื นวิ เคลียส นิวเคลยี ส นวิ เคลียส นวิ เคลยี ส นิวเคลียส นวิ เคลียส ของไฮโดเจน ของไฮโดเจน ของไฮโดเจน ของไฮโดเจน ของไฮโดเจน ของไฮโด o นิวเคลียส o นวิ เคลียส o นิวเคลียส o นวิ เคลียส o นวิ เคลยี ส ของฮเี ลียม ของฮเี ลยี ม ของฮีเลยี ม ของฮเี ลียม ของฮีเลียม เจน o นิวเคลียส ของฮเี ลยี ม o อะตอมของ o อะตอมของ o อะตอมของ o อะตอมของ o อะตอมของ o อะตอมของ ไฮโดรเจน ไฮโดรเจน ไฮโดรเจน ไฮโดรเจน ไฮโดรเจน ไฮโดรเจน o อะตอมของ o อะตอมของ o อะตอมของ o อะตอมของ o อะตอมของ o อะตอมของ ฮเี ลยี ม ฮีเลียม ฮเี ลียม ฮเี ลียม ฮีเลียม ฮเี ลยี ม o กาแล็กซี o กาแลก็ ซี o กาแล็กซี o กาแลก็ ซี o กาแล็กซี o กาแลก็ ซี

23 แบบฝกึ หัดท้ายบทท่ี 1 เรอ่ื ง เอกภพและกาแลก็ ซี ชื่อ - สกลุ ................................................................................... ชั้น ....................... เลขที่ ........................ คำช้ีแจง * ใหน้ ักเรยี นตอบคำถามต่อไปนี้ใหถ้ ูกต้อง 1. โปรตอนและนวิ ตรอนเกดิ ขึ้นในช่วงเวลาใด และเกดิ จากอนภุ าคใดบา้ ง ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... 2. นิวเคลยี สของไฮโดรเจนและนิวเคลยี สของฮีเลยี มเกดิ พร้อมกนั หรือไม่ อยา่ งไร ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ............. 3. อะตอมของไฮโดรเจนและฮีเลียมเกิดข้นึ ในช่วงเวลาใด ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... 4. นกั เรยี นคดิ วา่ กาแล็กซีเกิดจากธาตใุ ดเปน็ องค์ประกอบหลัก ...................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................. ..... ...................................................................................................................................................................... 5. นอกจากการเปลี่ยนแปลงของสสารแล้ว เอกภพมีการเปลี่ยนแปลงอะไรอีกบ้าง และเปลี่ยนแปลง อย่างไร ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... (สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2562)

24 แบบประเมินพฤติกรรมรายบคุ คล ช่อื - สกลุ ................................................................................... ชั้น ....................... เลขที่ ........................ ลำดับ ประเดน็ การประเมนิ 4 (ดมี าก) คุณภาพการปฏบิ ัติ 3 (ดี) 2 (พอใช)้ 1 (ปรับปรุง) 1 ตรงจุดประสงค์ที่กำหนด 2 ถกู ตอ้ งสมบรู ณ์ 3 มีความคดิ สร้างสรรค์ 4 มคี วามเป็นระเบยี บเรยี บร้อย 5 ตรงตอ่ เวลา รวม ลงชื่อ................................................................ ผ้ปู ระเมิน วันที.่ ................./......................../.......................

25 เกณฑก์ ารประเมินคะแนนใบงาน ประเดน็ การประเมนิ 4 (ดีมาก) คะแนน 1 (ปรบั ปรงุ ) 3 (ดี) 2 (พอใช้) 1. ผลงานตรงตาจดุ ประสงค์ ผลงานมคี วาม ผลงานมคี วาม ผลงานมีความ ผลงานไม่ สอดคล้องกับ สอดคลอ้ งกับ สอดคล้องกบั สอดคลอ้ งกบั จุดประสงคข์ อง จดุ ประสงคข์ อง จดุ ประสงคข์ อง จุดประสงค์ของ เน้ือหาที่เรียนทุก เนอื้ หาทเี่ รียนเป็น เนอ้ื หาท่เี รียนบาง เนือ้ หาทเ่ี รียน ประเดน็ สว่ นใหญ่ ประเดน็ 2.ผลงานมคี วามถกู ต้อง เน้อื หาสาระถูกต้อง เนือ้ หาสาระถูกตอ้ ง เนอื้ หาสาระถูกตอ้ ง เนือ้ หาสาระไม่ สมบูรณ์ ครบถ้วน เป็นสว่ นใหญ่ บางประเดน็ ถูกตอ้ ง 3.ผลงานมีความเป็นระเบยี บ ผลงานมีความเปน็ ผลงานมีความเปน็ ผลงานมคี วามเปน็ ผลงานไมม่ คี วาม เรียบร้อย ระเบยี บเรยี บรอ้ ย ระเบยี บเรยี บรอ้ ย ระเบียบเรยี บร้อย เปน็ ระเบยี บ น่าอา่ น แตย่ ังบกพรอ่ ง แต่ยีงบกพรอ่ ง เรียบรอ้ ย บางส่วน 4. การส่งงานตรงตอ่ เวลา สง่ งานตรงตามเวลา ส่งงานชา้ เลยเวลาท่ี สง่ งานชา้ เลยเวลาท่ี สง่ งานชา้ เลยเวลาท่ี ท่ีกำหนด กำหนด1-2วัน กำหนด3-5วนั กำหนดมากกวา่ 5 วัน เกณฑก์ ารประเมนิ คะแนน ระดับคณุ ภาพ 16–20 ดีมาก 11–15 ดี 6–10 พอใช้ 0–5 ปรบั ปรุง

26

27 แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 2 สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รายวิชา วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ (ดาราศาสตร์) ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 เร่ือง ดาวฤกษ์ เวลา 6 ช่ัวโมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 3.1 เข้าใจองคป์ ระกอบ ลักษณะ กระบวนการเกดิ และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแลก็ ซี ดาว ฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสรุ ยิ ะ ท่ีสง่ ผลตอ่ สิ่งมีชวี ติ และการประยกุ ต์ใช้ เทคโนโลยีอวกาศตัวชี้วดั 2. ตัวชี้วัด ม. 6/4 อธิบายกระบวนการเกิดดาวฤกษ์โดยแสดง การเปลี่ยนแปลงความดัน อุณหภูมิขนาด จากดาวฤกษ์กอ่ นเกิดจนเป็นดาวฤกษ์ ม. 6/5 ระบุปัจจัยทีส่ ง่ ผลตอ่ ความส่องสว่างของดาวฤกษ์และอธิบายความสัมพันธร์ ะหว่างความ ส่องสวา่ งกับโชตมิ าตรของดาวฤกษ์ ม. 6/6 อธิบายความสัมพันธ์ระหวา่ งสอี ณุ หภูมผิ ิว และสเปกตรัมของดาวฤกษ์ ม. 6/7 อธิบายลำดับวิวัฒนาการที่สัมพันธ์กับมวลตั้งต้น และวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงสมบัติ บางประการ ของดาวฤกษ์ 3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ - ดา้ นพทุ ธพิ ิสัย (K) 1. อธบิ ายกระบวนการเกิดดาวฤกษ์โดยแสดง การเปลี่ยนแปลงความดนั อณุ หภมู ขิ นาด จากดาว ฤกษก์ ่อนเกดิ จนเป็นดาวฤกษ์ได้ 2. อธบิ ายความสัมพนั ธ์ระหวา่ งกำลังสอ่ งสวา่ งทมี่ ีผลต่อความสอ่ งสว่างของดาวฤกษ์ 3. อธบิ ายความสมั พันธ์ระหว่างสีอณุ หภมู ิผวิ และสเปกตรัมของดาวฤกษ์ได้ 4. อธิบายลำดับวิวัฒนาการที่สัมพันธ์กับมวลตั้งต้น และวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงสมบัติบาง ประการ ของดาวฤกษ์ได้

28 - ด้านทักษะพิสยั (P) 1. สามารถแยกสีและอณุ หภูมติ า่ ง ๆ ของดาวฤกษ์ได้ 2. สามารถปฏิบัติการทดลองเร่อื ง ความสอ่ งสวา่ งได้ 3. สงั เกตและแยกความแตกตา่ งของสีดาวฤกษ์ได้ 4. สามารถตอบคำถามเก่ียวกบั การเปลย่ี นแปลงสมบัติบางประการของดาวฤกษ์ได้ - ด้านเจตพิสัย (A) 1. มงุ่ มน่ั ในการเรียนและมคี วามรบั ผิดชอบในงานท่ไี ด้รับมอบหมาย 4. สาระสำคญั ดาวฤกษ์แต่ละดวงมีสมบัติที่แตกต่างกัน เช่น ความส่องสว่าง โชติมาตร สี และอุณหภูมิผิวของ ดาวฤกษ์ ซึ่งสมบัติต่าง ๆ เหล่านี้ทำให้ทราบถึงกระบวนการเกิดและวิวัฒนาการของดาวฤกษ์ โดยดาว ฤกษ์เป็นก้อนแก๊สร้อนขนาดใหญ่เกิดจากการยบุ ตวั ของเนบิวลาภายใต้แรงโน้มถ่วง ทำให้เนบิวลามีขนาด เล็กลง ความดันและอุณหภูมิเพิ่มข้ึน เกิดเป็นดาวฤกษ์ก่อนเกิด เมื่ออุณหภูมิที่แก่นสูงขึน้ จนเกิดปฏิกิริยา เทอร์มอนิวเคลียร์ทำให้แรงดันเพิ่มขึ้นกลายเป็นดาวฤกษ์ เมื่อดาวฤกษ์อยู่ในสภาพสมดุลระหว่างแรงดัน กับแรงโน้มถ่วงดาวฤกษ์จะมีขนาดคงที่ ซึ่งดาวฤกษ์แต่ละดวงจะมีการวิวัฒนาการที่แตกต่างกันขึ้นอยู่กับ มวลตงั้ ตน้ ของดาวฤกษ์ 5. สาระการเรยี นรู้ ดาวฤกษ์สว่ นใหญ่อยู่รวมกนั เป็นระบบดาวฤกษ์ คอื ดาวฤกษ์ทีอ่ ยรู่ วมกันตั้งแต่ 2 ดวงขน้ึ ไป ดาว ฤกษ์เป็นก้อนแก๊สร้อนขนาดใหญ่ เกิดจากการยุบตัวของกลุ่มสสารในเนบิวลาภายใต้แรงโน้มถ่วง ทำให้ บางส่วนของเนบวิ ลามขี นาดเล็กลง ความดันและอุณหภูมิเพมิ่ ขึ้น เกิดเปน็ ดาวฤกษ์ ก่อนเกดิ เมื่ออุณหภูมิ ทีแ่ กน่ สงู ข้ึนจนเกดิ ปฏิกิริยาเทอร์มอนวิ เคลียรด์ าวฤกษ์ก่อนเกิดจะกลายเป็นดาวฤกษด์ าวฤกษ์อยู่ในสภาพ สมดุลระหว่าง แรงดันกับแรงโน้มถ่วงซึ่งเรียกว่า สมดุลอุทกสถิต จึงทำให้ดาวฤกษ์มีเสถียรภาพและ ปลดปล่อย พลงั งานเปน็ เวลานาน ตลอดชว่ งชีวติ ของดาวฤกษ์ ปฏิกิริยาเทอร์มอนวิ เคลยี ร์เป็นปฏิกริ ยิ าหลักของ กระบวนการสรา้ งพลังงานของดาวฤกษท์ ่แี ก่น ของดาวฤกษ์ทำใหเ้ กดิ การหลอมนวิ เคลยี สของ ไฮโดรเจนเป็นนิวเคลยี สฮีเลียมแลว้ ก่อให้เกดิ พลังงานอยา่ ง ต่อเนอ่ื ง

29 ความสอ่ งสว่างของดาวฤกษเ์ ป็นพลังงานจาก ดาวฤกษ์ท่ีปลดปล่อยออกมาในเวลา 1 วินาที/ หนว่ ยพื้นท่ี ณ ตำแหน่งของผู้สังเกต แต่เน่ืองจากตาของมนุษยไ์ มต่ อบสนองต่อการเปล่ียนแปลง ความ สอ่ งสว่างท่มี ีค่านอ้ ย ๆ จึงกำหนดค่าการเปรยี บเทียบความส่องสวา่ งของดาวฤกษด์ ้วยค่าโชตมิ าตร ซงึ่ เปน็ การแสดงระดับความส่องสวา่ งของดาวฤกษ์ ณ ตำแหนง่ ของผสู้ ังเกต สีของดาวฤกษส์ ัมพนั ธ์กบั อณุ หภูมิผิว และ สเปกตรัมของดาวฤกษซ์ ่งึ นักดาราศาสตรใ์ ช้สเปกตรมั ในการจำแนกชนดิ ของดาวฤกษ์ มวลของดาวฤกษ์ข้ึนอยู่กบั มวลของดาวฤกษ์ก่อนเกดิ ดาวฤกษ์ทมี่ ีมวลมากจะผลิตและใชพ้ ลังงาน มาก จึงมีอายุส้นั กว่าดาวฤกษ์ท่มี ีมวลน้อย มวลของดาวฤกษ์ขึ้นอยู่กบั มวลของดาวฤกษ์กอ่ นเกดิ ดาวฤกษท์ มี่ ีมวลมากจะผลติ และใช้พลงั งาน มาก จงึ มีอายสุ ้นั กวา่ ดาวฤกษ์ที่มมี วลนอ้ ย 6. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน  ความสามารถในการส่อื สาร  ความสามารถในการคดิ  ความสามารถในการแกป้ ัญหา  ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ  ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี  ทักษะของผเู้ รียนในศตวรรษท่ี 21 (3R 8C + 2L) (จดุ เนน้ สู่การพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน)  ทักษะการอา่ น (Reading)  ทกั ษะการ เขียน (Writing)  ทักษะการ คดิ คำนวณ (Arithmetic)  ทักษะดา้ นการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแกป้ ญั หา (Critical thinking and problem solving)  ทักษะดา้ นการสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity and innovation)  ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration , teamwork and leadership)  ทกั ษะด้านความเข้าใจตา่ งวฒั นธรรม ต่างกระบวนทศั น์ (Cross-cultural understanding)  ทกั ษะด้าน การส่ือสาร สารสนเทศ และรเู้ ท่าทนั ส่อื (Communication information and media literacy)  ทักษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร (Computing)

30  ทกั ษะอาชีพและทกั ษะการเรียนรู้ (Career and learning self-reliance, change)  ทักษะการเปลี่ยนแปลง (Change)  ทกั ษะการเรียนรู้ (Learning Skills)  ภาวะผู้นำ (Leadership) 7. ชิน้ งานหรือภาระงาน ( หลกั ฐาน / ร่องรอยแสดงความรู้ ) - แบบฝึกหัดท้ายบทท่ี 2 เรือ่ ง ดาวฤกษ์ - เกมกจิ กรรมตอบคำถามเก่ียวกบั ดาวฤกษ์ (ก่อนและหลงั เรียน) - กิจกรรมที่ 2.2 เร่อื ง อุณหภูมพิ น้ื ผวิ และชนิดสเปกตรัมของดาวฤกษ์ 8. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ หนว่ ยยอ่ ยท่ี 2 เรอ่ื ง ดาวฤกษ์ ชว่ั โมงท่ี 6 : ใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ขั้นที่ 1 : ขั้นสรา้ งความสนใจ (Engagement) 1.1 ครูถามคำถามแก่นักเรยี น เรือ่ ง ดาวฤกษ์ ว่า “ดาวฤกษ์กบั ดาวเคราะห์ เหมอื นหรือแตกต่าง กนั อย่างไร” เพื่อเป็นการกระตุ้นความสนใจในการเรยี นรู้ ขน้ั ที่ 2 : ขนั้ สำรวจและคน้ หา (Exploration) 2.1 นักเรยี นศกึ ษา เรอ่ื ง ดาวฤกษ์ จากหนงั สอื เรียนรายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2560) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 2.2 นกั เรียนศึกษา เร่ือง ดาวฤกษ์ จากสอ่ื การสอน Power point ท่คี รูเตรยี มไว้ ขน้ั ท่ี 3 : ขน้ั อธบิ ายและลงข้อสรปุ (Explanation) 3.1 ครถู ามคำถามต่อไปน้ี 3.1.1 ดาวฤกษแ์ ต่ละดวงมีสีท่ีแตกตา่ งกันเพราะอะไร แนวคำตอบ เพราะมีอุณหภูมิทแ่ี ตกตา่ งกัน 3.1.2 ใหน้ ักเรยี นอธบิ ายลำดับววิ ัฒนาการของดาวฤกษ์ตามความเข้าใจของนกั เรยี น แนวคำตอบ (นักเรยี นตอบตามความเข้าใจของตนเอง)

31 ขัน้ ที่ 4 : ข้ันขยายความรู้ (Elaboration) 4.1 ครูใหน้ กั เรียนปฏิบัติกจิ กรรมที่ 2.2 โดยให้นกั เรยี นสบื คน้ ขอ้ มลู เก่ียวกบั อุณหภูมิพ้ืนผวิ และ ชนดิ สเปกตรมั ของดาวฤกษ์ จากแหล่งข้อมลู ต่าง ๆ เชน่ หนังสือเรียน หรือในอินเตอรเ์ น็ต ขัน้ ท่ี 5 : ข้นั ประเมิน (Evaluation) 5.1 ครูประเมินจากการทำกจิ กรรมที่ 2.2 เรอ่ื ง อณุ หภมู ิพื้นผิวและชนิดสเปกตรัมของดาวฤกษ์ การตอบคำถามจากแบบฝึกหัดทา้ ยบทของนักเรียน 5.2 ครปู ระเมนิ จากการทน่ี กั เรยี นมีสว่ นรว่ มในการเรยี นการสอน และการสบื เสาะหาความรู้ 9. ส่อื การสอน - หนังสือเรียนรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ วิชาวทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ กล่มุ สาระการ เรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ัน พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 - สื่อการสอน Power point - แบบฝกึ หัดทา้ ยบทที่ 2 เร่ือง ดาวฤกษ์ - เกมกิจกรรมตอบคำถามเกยี่ วกบั ดาวฤกษ์ - กิจกรรมที่ 2.2 เร่อื ง อณุ หภูมิพ้นื ผิวและชนดิ สเปกตรัมของดาวฤกษ์ 10. แหล่งเรยี นรใู้ นหรือนอกสถานท่ี - หอ้ งเรียน - ห้องสมดุ - อนิ เตอรเ์ นต็

32 11. การวัดและประเมินผล จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ วธิ ีวัด เครอื่ งมือวดั เกณฑก์ ารให้ เกณฑก์ ารประเมนิ คะแนน หรือ สิ่งที่ตอ้ งการจะวัดและ 4 = ดีมาก 4 = ดมี าก ประเมินผล 3 = ดี 3 = ดี 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ 1. อธบิ ายกระบวนการเกดิ ดาวฤกษ์ -ประเมินจากการ -กิจกรรมที่ 2.2 1 = ควรปรบั ปรงุ 1 = ควรปรับปรงุ โดยแสดงการเปลยี่ นแปลงความดนั ทำกจิ กรรมท่ี 2.2 4 = ดีมาก 4 = ดีมาก 3 = ดี 3 = ดี อณุ หภมู ิขนาดจากดาวฤกษก์ ่อน 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ 1 = ควรปรบั ปรุง 1 = ควรปรบั ปรุง เกดิ จนเปน็ ดาวฤกษ์ ความสมั พันธ์ 4 = ดีมาก 4 = ดมี าก ระหว่างกำลงั ส่องสว่างทีม่ ีผลต่อ 3 = ดี 3 = ดี 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ ความส่องสว่างของดาวฤกษ์ (K) 1 = ควรปรับปรุง 1 = ควรปรบั ปรุง 2. อธบิ ายความสมั พันธร์ ะหวา่ งสี -ประเมนิ จากการ - 4 = ดมี าก 4 = ดีมาก 3 = ดี 3 = ดี อณุ หภูมิผวิ และสเปกตรมั ของดาว ตอบคำถามของ 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ 1 = ควรปรบั ปรงุ 1 = ควรปรบั ปรุง ฤกษ์ และอธบิ ายลำดบั ววิ ัฒนาการ นักเรียน 4 = ดีมาก 4 = ดมี าก ที่สัมพันธ์กับมวลตัง้ ต้นและ 3 = ดี 3 = ดี 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ วเิ คราะหก์ ารเปลีย่ นแปลงสมบัติ 1 = ควรปรับปรงุ 1 = ควรปรบั ปรุง บางประการของดาวฤกษไ์ ด้ (K) 3. อธบิ ายลำดับววิ ฒั นาการที่ -ประเมินจากการ - สัมพนั ธก์ บั มวลต้ังตน้ และ ตอบคำถามของ วเิ คราะหก์ ารเปลีย่ นแปลงสมบตั ิ นักเรยี น บางประการของดาวฤกษแ์ ละ สามารถปฏบิ ัติการทดลองเรื่อง ความส่องสว่างได้ (P) 4.สามารถปฏิบัตกิ ารทดลองเรือ่ ง -ประเมนิ จากการ - ความส่องสวา่ งและสามารถตอบ ใชเ้ ทคโนโลยใี นทาง คำถามเก่ยี วกบั การเปลีย่ นแปลง สรา้ งสรรคข์ อง สมบตั บิ างประการของดาวฤกษ์ได้ นักเรียน (P) 5. มุง่ มนั่ ในการเรยี นและมคี วาม -ประเมนิ จาก -แบบฝกึ หดั ทา้ ย รบั ผิดชอบในงานท่ไี ดร้ บั แบบฝกึ หัดท้ายบท บทที่ 2 มอบหมาย (A) ท่ี 2

33 สมรรถนะของผเู้ รียน สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น วธิ วี ดั เครื่องมือวัด เกณฑก์ ารให้ เกณฑ์การประเมนิ คะแนน 1. ความสามารถในการคิด สงั เกต แบบประเมนิ ใบงาน 4 = ดีมาก 4 = ดีมาก 2. ความสามารถในการแกป้ ัญหา สงั เกต 3 = ดี 3 = ดี 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ 3. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี สงั เกต 1 = ควรปรับปรงุ 1 = ควรปรับปรุง แบบประเมินใบงาน 4 = ดมี าก 4 = ดมี าก 3 = ดี 3 = ดี 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ 1 = ควรปรบั ปรุง 1 = ควรปรับปรงุ แบบประเมนิ ใบงาน 4 = ดีมาก 4 = ดีมาก 3 = ดี 3 = ดี 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ 1 = ควรปรับปรงุ 1 = ควรปรับปรุง

34 ทักษะของผูเ้ รยี นในศตวรรษท่ี 21 เคร่อื งมอื วัด เกณฑ์การให้ เกณฑก์ ารประเมนิ คะแนน ทักษะของผเู้ รยี นในศตวรรษ วิธวี ดั แบบประเมนิ ท่ี 21 พฤติกรรม 4 = ดมี าก 4 = ดีมาก รายบุคคล 3 = ดี 3 = ดี 1. ทักษะด้านการคิดอยา่ งมี สงั เกต 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ วจิ ารณญาณและทกั ษะในการ แบบประเมนิ 1 = ควรปรบั ปรุง 1 = ควรปรบั ปรุง แกป้ ญั หา(Criticalthinking พฤตกิ รรม 4 = ดมี าก 4 = ดีมาก and problem solving) รายบคุ คล 3 = ดี 3 = ดี 2. ทักษะดา้ นความร่วมมือการ สังเกต 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ ทำงานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ ำ 1 = ควรปรับปรงุ 1 = ควรปรับปรุง (Collaboration , teamwork and leadership) 3. ทกั ษะด้านการสอื่ สาร สังเกต แบบประเมิน 4 = ดมี าก 4 = ดมี าก สารสนเทศและรเู้ ทา่ ทันสอ่ื พฤติกรรม 3 = ดี 3 = ดี (Communication รายบุคคล 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ information and media 1 = ควรปรบั ปรงุ 1 = ควรปรับปรุง literacy) 4. ทักษะการเรยี นรู้ (Learning สังเกต แบบประเมิน 4 = ดมี าก 4 = ดมี าก Skills) พฤติกรรม 3 = ดี 3 = ดี รายบุคคล 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ 1 = ควรปรับปรงุ 1 = ควรปรับปรุง ตารางเกณฑก์ ารประเมนิ ผลต่าง ๆ เกณฑ์การประเมิน ดีมาก ระดับคะแนน ดี 4 พอใช้ 3 2 ควรปรบั ปรุง 1

35 12. กจิ กรรมเสนอแนะ ............................................................................................................................. .................................. ................................................................................................. .............................................................. ............................................................................................................................. .................................. 13. บันทกึ ผลหลังการสอน สรุปผลการเรยี นการสอน นักเรียนท้งั หมดจำนวน.....................คน จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ จำนวนนักเรียนที่ผ่าน จำนวนนักเรยี นท่ไี มผ่ า่ น จำนวนคน ร้อยละ จำนวนคน ร้อยละ 15. ปัญหา/อปุ สรรค/แนวทางแก้ไข ............................................................................................................................. .................................. ................................................................................................ ............................................................... ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................................................. .. 16. ข้อเสนอแนะ ................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................. ................................ ลงชอ่ื ........................................................................ ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ........................................... () ลงชื่อ.......................................................................... หัวหนา้ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ () ลงชอื่ .......................................................................... รองผู้อำนวยการกลุ่มบรหิ ารวชิ าการ ()

36 ความเหน็ ของหัวหนา้ สถานศกึ ษา ไดท้ ำการตรวจแผนการเรยี นรู้ของ....................................................................แลว้ มคี วามคดิ เห็นดังน้ี 4. เป็นแผนการจัดการเรยี นรู้ที่  ดมี าก  ดี  พอใช้  ควรปรบั ปรุง 5. การจดั กจิ กรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้  เนน้ ผเู้ รียนเป็นสำคัญมาใช้ในการสอนไดอ้ ย่างเหมาะสม  ยังไมเ่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ ควรปรับปรุงพฒั นาต่อไป 6. ขอ้ เสนอแนะอน่ื ๆ ........................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ........................... ...................................................................................................................................... .................. ................................................................................................................ ........................................ ลงช่อื ............................................................................................... ( …………………..........................……………………………… ) ผู้อำนวยการโรงเรยี น…………………………………………………………..

37 กจิ กรรมที่ 2.2 เรือ่ ง อณุ หภูมิพนื้ ผวิ และชนดิ สเปกตรัมของดาวฤกษ์ ช่อื - สกลุ ................................................................................... ชั้น ....................... เลขท่ี ........................ คำช้ีแจง * ศึกษาข้อมลู ในตารางและตอบคำถามดังต่อไปนี้ 1. จากกจิ กรรมนกั เรียนสามารถจำแนกดาวฤกษท์ ่ีกำหนดได้กกี่ ลุ่ม อะไรบ้างและใชอ้ ะไรเป็นเกณฑ์ ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... 2. ดาวฤกษด์ วงใดมีอณุ หภูมิผิวสูงทสี่ ดุ มสี ใี ดและมสี เปกตรัมชนิดใด ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... 3. ดาวฤกษด์ วงใดมอี ณุ หภมู ิผิวต่ำทส่ี ดุ มีสีใดและมสี เปกตรัมชนดิ ใด ...................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................

38 แบบฝกึ หดั ท้ายบทที่ 2 เร่อื ง ดาวฤกษ์ ช่อื - สกุล ................................................................................... ชั้น ....................... เลขที่ ........................ คำชี้แจง * ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถกู ต้อง 1. ความส่องสว่างของดาวฤกษ์ขึ้นอยู่กบั ปัจจัยใดบา้ ง ปัจจัยดังกล่าวมคี วามสมั พนั ธ์กันอย่างไร .................................................................................................................................................................. .... ............................................................................................................................................ .......................... 2. โชติมาตรปรากฎและโชติมาตรสัมบูรณ์ต่างกันอย่างไร ...................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ....................... 3. เพราะเหตุใดเมื่อมองจากโลกนกั เรียนจึงเหน็ ดวงอาทติ ย์สวา่ งกว่าดาวซิริอัส ทัง้ ที่ดาวซิริอัสมีกำลัง สองสว่างมากกวา่ ดวงอาทติ ย์ .................................................................................................................................................................. .... ...................................................................................................................................................................... 4. เนบวิ ลามีความสัมพนั ธ์กับดาวฤกษ์อย่างไร .................................................................................................................................................................. .... ...................................................................................................................................................................... 5. ปจั จุบันดวงอาทติ ย์ของเราอายุประมาณเทา่ ไร และจะมีอายขุ ัยอีกประมาณก่ีปี .............................................................................................................................................. ........................ .................................................................................................................................................................. .... (สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 2562)

39 แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล ช่อื - สกลุ ................................................................................... ชั้น ....................... เลขท่ี ........................ ลำดับ ประเดน็ การประเมิน 4 (ดีมาก) คุณภาพการปฏิบัติ 3 (ด)ี 2 (พอใช)้ 1 (ปรับปรุง) 1 ตรงจุดประสงคท์ ่ีกำหนด 2 ถกู ตอ้ งสมบรู ณ์ 3 มคี วามคดิ สร้างสรรค์ 4 มคี วามเปน็ ระเบยี บเรยี บร้อย 5 ตรงต่อเวลา รวม ลงชอ่ื ................................................................ ผปู้ ระเมิน วันท่.ี ................./......................../.......................

40 เกณฑก์ ารประเมินคะแนนใบงาน ประเดน็ การประเมนิ 4 (ดีมาก) คะแนน 1 (ปรบั ปรงุ ) 3 (ดี) 2 (พอใช้) 1. ผลงานตรงตาจดุ ประสงค์ ผลงานมคี วาม ผลงานมคี วาม ผลงานมีความ ผลงานไม่ สอดคล้องกับ สอดคลอ้ งกับ สอดคล้องกบั สอดคลอ้ งกบั จุดประสงคข์ อง จดุ ประสงคข์ อง จดุ ประสงคข์ อง จุดประสงค์ของ เน้ือหาที่เรียนทุก เนอื้ หาทเี่ รียนเป็น เนอ้ื หาท่เี รียนบาง เนือ้ หาทเ่ี รียน ประเดน็ สว่ นใหญ่ ประเดน็ 2.ผลงานมคี วามถูกต้อง เน้อื หาสาระถูกต้อง เนือ้ หาสาระถูกตอ้ ง เนอื้ หาสาระถูกตอ้ ง เนือ้ หาสาระไม่ สมบูรณ์ ครบถ้วน เป็นสว่ นใหญ่ บางประเดน็ ถูกตอ้ ง 3.ผลงานมีความเป็นระเบยี บ ผลงานมีความเปน็ ผลงานมีความเปน็ ผลงานมคี วามเปน็ ผลงานไมม่ คี วาม เรียบร้อย ระเบยี บเรยี บรอ้ ย ระเบยี บเรยี บรอ้ ย ระเบียบเรยี บร้อย เปน็ ระเบยี บ น่าอา่ น แตย่ ังบกพรอ่ ง แต่ยีงบกพรอ่ ง เรียบรอ้ ย บางส่วน 4. การส่งงานตรงตอ่ เวลา สง่ งานตรงตามเวลา ส่งงานชา้ เลยเวลาท่ี สง่ งานชา้ เลยเวลาท่ี สง่ งานชา้ เลยเวลาท่ี ท่ีกำหนด กำหนด1-2วัน กำหนด3-5วนั กำหนดมากกวา่ 5 วัน เกณฑก์ ารประเมนิ คะแนน ระดับคณุ ภาพ 16–20 ดีมาก 11–15 ดี 6–10 พอใช้ 0–5 ปรบั ปรุง

41

42 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 3 สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ (ดาราศาสตร์) ช้ัน มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 เร่ือง ระบบสรุ ยิ ะ เวลา 5 ชัว่ โมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 3.1 เขา้ ใจองคป์ ระกอบ ลักษณะ กระบวนการเกดิ และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแลก็ ซี ดาว ฤกษ์ และระบบสรุ ิยะ รวมท้ังปฏิสมั พนั ธภ์ ายในระบบสุริยะ ทสี่ ง่ ผลตอ่ สิ่งมีชีวติ และการประยุกตใ์ ช้ เทคโนโลยอี วกาศตัวชีว้ ดั 2. ตัวช้ีวัด ม. 6/8 อธิบายกระบวนการเกิดระบบสุริยะ การแบ่งเขตบรวิ ารของดวงอาทิตย์ และลักษณะของ ดาวเคราะห์ทเ่ี ออ้ื ต่อการดำรงชีวิต ม. 6/9 อธบิ ายโครงสร้างของดวงอาทิตย์การเกดิ ลมสุริยะ พายุสรุ ิยะ และสืบคน้ ข้อมูล วเิ คราะห์ นำเสนอปรากฏการณห์ รอื เหตกุ ารณ์ทเ่ี กยี่ วข้อง กับผลของลมสุริยะ และพายุสรุ ิยะทีม่ ตี ่อโลก รวมทง้ั ประเทศไทย 3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ - ดา้ นพทุ ธิพสิ ัย (K) 1. อธบิ ายกระบวนการเกิดระบบสุรยิ ะ และการแบ่ง เขตบริวารของดวงอาทิตย์และลักษณะของ ดาวเคราะห์ท่เี อ้ือต่อการดำรงชวี ิตได้ 2. อธิบายโครงสรา้ งของดวงอาทติ ย์การเกดิ ลมสุริยะ พายสุ ุริยะได้ - ดา้ นทักษะพิสัย (P) 1. ยกตวั อยา่ งลักษณะของดาวเคราะห์ทเ่ี อือ้ ต่อการดำรงชวี ติ ได้ 2. สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ นำเสนอปรากฏการณ์หรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้อง กับผลของลมสุริยะ และพายุสรุ ิยะทมี่ ีตอ่ โลก รวมทง้ั ประเทศไทยได้ - ด้านเจตพิสัย (A) 1. มุ่งมัน่ ในการเรยี นและมคี วามรบั ผิดชอบในงานทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย