ก จกรรมท ศนศ กษา ว ทยาศาสตร ม.ปลาย

ปฏกิ ิริยา เคมีในส่งิ มีชวี ติ และระบุปจั จัยทม่ี ี ปฏิกิรยิ าดดู พลงั งาน ปฏกิ ริ ยิ าเคมเี หลา่ นีจ้ ะ

ผลตอ่ การทำงาน ของเอนไซม์ ดำเนนิ ไปได้อย่างรวดเรว็ จำเป็นต้องอาศัย

เอนไซม์ช่วยเรง่ ปฏิกิริยา

9

• เอนไซมส์ ่วนใหญ่เป็นสารประเภทโปรตนี

ทำหน้าท่เี รง่ ปฏกิ ริ ิยาเคมีในขณะท่ี

เกดิ ปฏกิ ิรยิ า เคมีในเซลล์สารตงั้ ต้นจะเข้า

ไปจับกบั เอนไซม์ ท่ีบรเิ วณจำเพาะของ

เอนไซมท์ ีเ่ รยี กว่า บริเวณเร่ง ถ้าสารต้ังต้นมี

โครงสร้างเข้ากบั บริเวณเรง่ ได้ สารตั้งต้นน้ัน

จะถกู เปล่ยี นเป็นสารผลติ ภัณฑ์

• อณุ หภูมิสภาพความเป็นกรด-เบส และ

ตัวยบั ยงั้ เอนไซม์เปน็ ปจั จยั ท่มี ีผลต่อการ

ทำงาน ของเอนไซม

ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้เพม่ิ เตมิ

10. บอกวธิ กี าร และเตรียมตวั อย่าง • กลอ้ งจุลทรรศน์เปน็ เครอ่ื งมอื ทใี่ ช้ศึกษา

สิ่งมชี วี ติ เพอื่ ศึกษาภายใตก้ ลอ้ งจลุ ทรรศน์ สิ่งมีชวี ติ ขนาดเลก็ ท่ไี มส่ ามารถเหน็ ได้ดว้ ย

ใชแ้ สง วัดขนาดโดยประมาณ และวาดภาพ ตาเปล่าและ รายละเอยี ดโครงสร้างของ

ที่ปรากฏ ภายใตก้ ล้อง บอกวธิ ีการใชแ้ ละ เซลล์

การดแู ลรกั ษา กลอ้ งจุลทรรศนใ์ ช้แสงท่ี • กลอ้ งจุลทรรศนใ์ ชแ้ สงเชิงประกอบ และ

ถกู ต้อง กล้องจุลทรรศนใ์ ช้แสงแบบสเตอรโิ ออาศยั

เลนส์ ในการทำใหเ้ กิดภาพขยาย

• กล้องจลุ ทรรศนอ์ ิเล็กตรอนทำใหเ้ กดิ ภาพ

ขยาย โดยอาศยั เลนส์แมเ่ หล็กไฟฟา้ รวมลำ

อเิ ล็กตรอน ซงึ่ มีอยูด่ ้วยกนั 2 ชนิด คือ ชนดิ

ส่องผา่ น และชนิดสอ่ งกราด

• ตวั อย่างสง่ิ มีชีวติ ท่ีนำมาศกึ ษาภายใต้

กลอ้ งจุลทรรศน์ ใช้แสงตอ้ งมวี ิธกี ารเตรียมท่ี

ถกู ต้องและเหมาะสม กับชนดิ ของสิ่งมชี ีวิต

เพือ่ ใหเ้ กดิ ประสทิ ธิภาพ ในการศกึ ษา

• กลอ้ งจลุ ทรรศนใ์ ชแ้ สงเป็นเครื่องมอื ทีม่ ี

ความละเอยี ด ซบั ซอ้ น และราคาค่อนขา้ ง

สูง จึงควรใชอ้ ย่าง ถกู วิธมี กี ารเก็บและดแู ล

รักษาทถ่ี ูกตอ้ ง เพือ่ ให้ สามารถใชง้ านได้

นาน

11. อธิบายโครงสรา้ งและหน้าที่ของสว่ นที่ • เซลล์เปน็ หน่วยพ้นื ฐานทีเ่ ลก็ ท่ีสุดของ

ห่อห้มุ เซลล์ของเซลล์พืชและเซลล์สตั ว์ ส่งิ มชี ีวติ โครงสรา้ งพื้นฐานของเซลล์

12. สืบคน้ ข้อมูล อธิบาย และระบชุ นดิ ประกอบด้วย ส่วนที่ หอ่ หุ้มเซลลไ์ ซโทพลา

และหน้าที่ ของออรแ์ กเนลล์ ซมึ และนิวเคลียส

10

13. อธบิ ายโครงสร้างและหน้าทข่ี อง • ส่วนทีห่ อ่ หมุ้ เซลลท์ ีพ่ บในเซลล์ทกุ ชนดิ คือ

นวิ เคลยี ส เย่อื หมุ้ เซลลแ์ ต่ในแบคทเี รียสาหรา่ ย ฟงั ไจ

และพืช จะมผี นงั เซลลเ์ ปน็ สว่ นห่อหุ้มเซลล์

เพมิ่ เตมิ ข้ึนมาอีก ช้นั หนงึ่

• โครงสรา้ งของเยอ่ื ห้มุ เซลล์ประกอบด้วย

โมเลกุล ของฟอสโฟลพิ ดิ เรยี งเป็นสองชนั้

และมีโปรตีน แทรกหรอื อย่ทู ี่ผวิ ทั้งสองดา้ น

ของฟอสโฟลิพิด

• ไซโทพลาซึมอยภู่ ายในเยื่อห้มุ เซลล์

ประกอบด้วย ไซโทซอลและออรแ์ กเนลล์

• นิวเคลียสเปน็ ศนู ย์กลางควบคมุ การ

ทำงานของ เซลลย์ คู าริโอต ประกอบดว้ ย

เยือ่ หมุ้ ซ่งึ ภายใน มDี NA RNA และโปรตนี

บางชนิด

14. อธบิ าย และเปรียบเทียบการแพร่ • สารต่าง ๆ มีการเคลอื่ นท่ีเขา้ และออกจาก

ออสโมซิส การแพร่แบบฟาซลิ ิเทตและแอก เซลล์ อยู่ตลอดเวลาโดยกระบวนการต่าง ๆ

ทฟี ทรานสปอรต์ ได้แก่ การแพร่ออสโมซสิ การแพร่แบบฟาซิ

15. สืบคน้ ขอ้ มูล อธิบาย และเขียน ลิเทต แอกทีฟทรานสปอร์ต กระบวนการ

แผนภาพ การลำเลียงสารโมเลกุลใหญ่ออก เอกโซไซโทซสิ กระบวนการเอนโดไซโทซสิ

จากเซลล์ ด้วยกระบวนการเอกโซไซโทซิส • แกส๊ ต่าง ๆ เขา้ หรอื ออกจากเซลลโ์ ดยการ

และการลำเลยี ง สารโมเลกุลใหญเ่ ข้าสู่ แพร่ สว่ นน้ำเขา้ หรือออกจากเซลล์ผา่ นเย่อื

เซลลด์ ว้ ยกระบวนการ เอนโดไซโทซิส หมุ้ เซลล์ โดยออสโมซสิ

• ไอออนและสารบางอยา่ งท่ไี ม่สามารถ

ลำเลยี ง ผา่ นเยื่อหมุ้ เซลล์โดยตรงได้

จำเปน็ ต้องอาศัย โปรตีนทีอ่ ย่บู นเย่อื หมุ้

เซลลเ์ ปน็ ตัวพาสารนน้ั เขา้ และออกจาก

เซลล์เรียกว่า การแพร่แบบ ฟาซลิ ิเทต

• แอกทีฟทรานสปอร์ต เปน็ การลำเลยี งสาร

จาก บริเวณทม่ี ีความเขม้ ขน้ ต่ำไปยงั บริเวณ

ทีม่ ี ความเข้มขน้ สูง

• สารบางอย่างที่ไม่สามารถแพร่ผา่ นเยอ่ื หุม้

เซลล์ หรอื ลำเลยี งผ่านโปรตีนทีเ่ ปน็ ตวั พาได้

จะถกู ลำเลียงออกจากเซลลด์ ้วย

กระบวนการ เอกโซไซโทซิส

• สารทีม่ ีขนาดใหญจ่ ะสามารถลำเลยี งเข้าสู่

เซลล์ ด้วยกระบวนการเอนโดไซโทซิสซ่ึง

11

แบง่ เป็น 3 แบบ ได้แก่ พโิ นไซโทซสิ ฟาโก

ไซโทซสิ และการนำสาร เข้าสู่เซลลโ์ ดย

อาศยั ตัวรับ

16. สงั เกตการแบ่งนิวเคลียสแบบไมโทซิส • การแบง่ เซลล์ของสง่ิ มีชีวติ เป็นการเพ่มิ

และ แบบไมโอซิสจากตัวอย่างภายใตก้ ลอ้ ง จำนวนเซลล์ ซึง่ เป็นกระบวนการท่ีเกดิ ขน้ึ

จลุ ทรรศน์ พร้อมทง้ั อธบิ ายและ ต่อเน่อื งกันเปน็ วัฏจกั ร โดยวัฏจกั รของ

เปรียบเทียบการแบ่ง นวิ เคลียสแบบไมโท เซลลป์ ระกอบดว้ ย อินเตอรเ์ ฟส การแบง่

ซสิ และแบบไมโอซสิ นวิ เคลยี สแบบไมโทซิสและ การแบง่ ไซ

โทพลาซึม

• การแบ่งนิวเคลียสมี2 แบบ คอื การแบ่ง

นวิ เคลียส แบบไมโทซิสและการแบง่

นิวเคลยี สแบบไมโอซสิ

• การแบ่งนิวเคลยี สแบบไมโทซสิ

ประกอบด้วย ระยะโพรเฟส เมทาเฟส แอ

นาเฟส และเทโลเฟส

• การแบง่ นวิ เคลยี สแบบไมโอซิสประกอบ

ดว้ ย ระยะโพรเฟส I เมทาเฟส I แอนาเฟส I

เทโลเฟส I ระยะโพรเฟส II เมทาเฟส II แอ

นาเฟส II และเทโลเฟส II

• การแบง่ นวิ เคลยี สแบบไมโทซสิ ทำให้เซลล์

รา่ งกาย เพ่ิมจำนวนเพอ่ื การเจริญเติบโต

และซ่อมแซม สว่ นทส่ี กึ หรอหรอื ถูกทำลาย

ไปได้ส่วนการแบง่ นวิ เคลียสแบบไมโอซสิ มี

ความสำคัญต่อส่งิ มชี วี ติ ในกระบวนการ

สร้างเซลลส์ ืบพันธุ์

• การแบ่งไซโทพลาซมึ ในเซลล์พชื จะมีการ

สรา้ ง แผ่นก้ันเซลลแ์ ละเซลล์สัตว์จะมีการ

คอดเวา้ เขา้ หากันของเยอ่ื หมุ้ เซลล์

17. อธิบาย เปรยี บเทียบ และสรปุ ขน้ั ตอน • การหายใจระดับเซลล์เป็นการสลาย

การหายใจระดับเซลลใ์ นภาวะที่มอี อกซเิ จน สารอาหาร ที่มีพลังงานสงู โดยมอี อกซเิ จน

เพยี งพอ และภาวะทมี่ ีออกซเิ จนไม่ เปน็ ตัวรับ อิเลก็ ตรอนตัวสุดท้าย

เพียงพอ ประกอบด้วย 3 ข้นั ตอน คือ ไกลโคลิซิส วัฏ

จักรเครบส์และกระบวนการ ถา่ ยทอด

อิเลก็ ตรอน

• การหายใจระดับเซลล์พลงั งานสว่ นใหญไ่ ด้

จาก ขั้นตอนการถา่ ยทอดอิเลก็ ตรอน

12

พลงั งานน้ี จะถูกเกบ็ ไวใ้ นพันธะเคมใี น โมเลกุลของ ATP • ในภาวะทมี่ อี อกซเิ จนไมเ่ พยี งพอ ทำให้

การหายใจ ของเซลล์ไมส่ มบรู ณ์จงึ เกิดได้ เฉพาะไกลโคลซิ ิส ผลท่ไี ด้จากการหายใจใน

สภาวะน้ีในสตั ว์จะได้ กรดแลกตกิ ใน จลุ ินทรีย์และพชื อาจได้ กรดแลกติก หรือ เอทลิ แอลกอฮอล์

สาระชีววิทยา 2. เข้าใจการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การถ่ายทอดยีนบน โครโมโซม สมบตั ิ และหน้าที่ของสารพันธุกรรม การเกดิ มวิ เทชัน เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ หลกั ฐาน ขอ้ มูลและแนวคิดเก่ยี วกบั วิวัฒนาการของสิ่งมชี ีวิต ภาวะสมดลุ ของฮาร์ดี-ไวน์ เบิร์ก การเกิดสปีชีส์ใหม่ ความหลากหลายทางชีวภาพ กำเนิดของสิ่งมีชีวิต ความ หลากหลาย ของสงิ่ มชี วี ติ และอนุกรมวธิ าน รวมทั้งนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรเู้ พม่ิ เติม 1. สืบคน้ ขอ้ มลู อธบิ าย และสรุปผลการ ทดลอง ของเมนเดล • เมนเดลศกึ ษาการถา่ ยทอดลกั ษณะทาง 2. อธิบาย และสรุปกฎแห่งการแยก และ พันธุกรรม โดยการผสมพนั ธุถ์ ว่ั ลนั เตา จน กฎแหง่ การรวมกลมุ่ อย่างอสิ ระ และนำกฎ สรุปเป็นกฎแหง่ การแยกและกฎแห่งการ ของ เมนเดลนี้ไปอธบิ ายการถา่ ยทอด รวมกลุ่มอยา่ งอสิ ระ ลกั ษณะทาง พนั ธกุ รรมและใช้ในการ • กฎแหง่ การแยกมใี จความว่า แอลลลี ทอ่ี ยู่ คำนวณโอกาสในการ เกดิ ฟีโนไทปแ์ ละจโี น เป็นคู่ จะแยกออกจากกนั ในระหวา่ งการ ไทปแ์ บบต่าง ๆ ของรนุ่ F1 และ F2 สรา้ งเซลล์ สบื พันธโุ์ ดยเซลล์สบื พันธ์ุแตล่ ะ เซลลจ์ ะมเี พยี ง แอลลลี ใดแอลลลี หนง่ึ 3. สืบคน้ ขอ้ มูล วิเคราะห์อธบิ าย และสรุป • กฎแห่งการรวมกลมุ่ อย่างอสิ ระมีใจความ เกยี่ วกบั การถ่ายทอดลกั ษณะทาง ว่า หลังจากคู่ของแอลลีลแยกออกจากกนั พันธกุ รรม ที่เปน็ สว่ นขยายของพันธุ แตล่ ะ แอลลลี จะจดั กลุ่มอย่างอสิ ระกับแอล ศาสตรเ์ มนเดล ลีลอื่น ๆ ที่แยกออกจากค่เู ชน่ กันในการเขา้ 4. สืบคน้ ข้อมูล วเิ คราะหแ์ ละเปรยี บเทียบ ไปอยใู่ นเซลล์ สืบพันธ์ุ ลกั ษณะ ทางพนั ธุกรรมทีม่ กี ารแปรผนั ไม่ • การถา่ ยทอดลักษณะทางพันธกุ รรมบาง ลกั ษณะ ใหอ้ ตั ราสว่ นทแ่ี ตกต่างจากผล การศึกษาของ เมนเดล เรยี กลักษณะเหลา่ นี้ วา่ ลักษณะ ทางพันธุกรรมทเี่ ป็นสว่ นขยาย ของพนั ธุศาสตร์ เมนเดล เช่น การข่มไม่ สมบรู ณก์ ารข่มร่วมกนั มัลติเปลิ แอลลีลยีน บนโครโมโซมเพศและพอลยิ ีน

13

ต่อเน่ือง และลกั ษณะทางพนั ธุกรรมท่มี ีการ • ลักษณะพันธกุ รรมบางลักษณะมคี วาม

แปรผนั ตอ่ เน่ือง แตกตา่ งกนั ชัดเจน เช่น การมีติง่ หหู รือไม่มี

ติง่ หซู ึ่งเป็น ลักษณะทางพนั ธกุ รรมทมี่ กี าร

แปรผันไมต่ ่อเนอ่ื ง

• ลกั ษณะทางพันธกุ รรมบางลักษณะมี

ความ แตกต่างกนั เล็กนอ้ ยและลดหลั่นกนั

ไป เช่น ความสงู และสีผิวของมนุษย์ถูก

ควบคมุ โดยยนี หลายคซู่ ึ่งเปน็ ลักษณะทาง

พนั ธกุ รรมท่มี ีการ แปรผนั ต่อเนื่องและ

สิ่งแวดล้อมอาจมีผลต่อการ แสดงลักษณะ

นั้น

5. อธบิ ายการถา่ ยทอดยีนบนโครโมโซม • โครโมโซมภายในเซลล์ร่างกายแบ่งเป็นออ

และ ยกตัวอยา่ งลักษณะทางพันธกุ รรมที่ โตโซม และโครโมโซมเพศ ลักษณะทาง

ถกู ควบคุม ด้วยยีนบนออโตโซมและยนี บน พันธุกรรม ส่วนใหญ่ถูกควบคมุ ดว้ ยยีนบน

โครโมโซมเพศ ออโตโซม บางลกั ษณะถูกควบคุมดว้ ยยนี

บนโครโมโซมเพศ ซ่ึงสว่ นมากเปน็ ยีนบน

โครโมโซม X

• เมือ่ มีการสรา้ งเซลล์สืบพนั ธ์ุยีนบน

โครโมโซม เดยี วกันทอ่ี ย่ใู กลก้ นั มักจะถูก

ถ่ายทอดไปดว้ ยกนั แต่การเกิดครอสซิงโอ

เวอร์ในการแบง่ เซลล์แบบ ไมโอซิสอาจทำ

ให้ยีนบนโครโมโซมเดยี วกันแยก จากกันได้

ส่งผลใหร้ ูปแบบของเซลล์สืบพันธท์ุ ไี่ ด้

แตกต่างไปจากกรณที ีไ่ มเ่ กดิ ครอสซงิ โอ

เวอร์

6. สืบคน้ ข้อมูล อธิบายสมบัติและหน้าที่ • DNA เปน็ พอลเิ มอรข์ องนวิ คลโี อไทดแ์ ต่

ของ สารพันธุกรรม โครงสรา้ งและ ละ นิวคลโี อไทดป์ ระกอบด้วย นำ้ ตาลดีออก

องคป์ ระกอบ ทางเคมีของ DNA และสรปุ ซีไรโบส หมูฟ่ อสเฟต และไนโตรจนี ัสเบส

การจำลอง DNA คือ A T C และ G

7. อธบิ าย และระบขุ นั้ ตอนในกระบวนการ • โมเลกุลของ DNA เปน็ พอลนิ วิ คลโี อไทด์2

สงั เคราะห์โปรตีนและหนา้ ท่ขี อง DNA และ สาย เรียงสลับทิศและบดิ เปน็ เกลียวเวียน

RNA แต่ละชนดิ ในกระบวนการสังเคราะห์ ขวา โดยการ เข้าคู่กันของสาย DNA เกิด

โปรตนี จากการจับคู่ของ เบสคสู่ ม คอื A ค่กู ับ T

8. สรุปความสัมพนั ธร์ ะหว่างสารพันธกุ รรม และ C คู่กบั G

แอลลีล โปรตนี ลักษณะทางพันธุกรรม • ยนี คือสาย DNA บางช่วงที่ควบคุม

ลักษณะทาง พนั ธกุ รรมไดโ้ ดยยนี กำหนด

14

และเชื่อมโยงกบั ความรู้เรอื่ งพันธุศาสตร์ ลำดับกรดอะมโิ น ของโปรตีนซง่ึ ทำหนา้ ท่ี เมนเดล เป็นโครงสร้าง เอนไซม์ และอ่ืน ๆ มีผลทำ ให้เซลล์และสง่ิ มีชวี ติ ปรากฏ ลกั ษณะต่าง ๆ 9. สืบค้นข้อมลู และอธบิ ายการเกิดมวิ เท ชนั ระดับยนี และระดับโครโมโซม สาเหตุ ได้ การเกิด มวิ เทชนั รวมทัง้ ยกตวั อยา่ งโรค • DNA จำลองตวั เองไดโ้ ดยใชส้ ายหน่งึ เปน็ และกลมุ่ อาการ ท่ีเป็นผลของการเกิดมิวเท ชัน แมแ่ บบ และสร้างอกี สายขนึ้ มาใหม่ซ่งึ จะมี โครงสร้าง และลำดบั นิวคลโี อไทด์ เหมอื นเดมิ

• DNA ควบคมุ ลกั ษณะทางพันธุกรรมของ ส่งิ มชี ีวิตได้ โดยการสรา้ ง RNA 3 ประเภท

คอื mRNA tRNA และ rRNA ซงึ่ รว่ มกนั ทำ หน้าที่ในกระบวนการ สังเคราะหโ์ ปรตนี • RNA เปน็ พอลิเมอรข์ องนวิ คลโี อไทดส์ าย เดย่ี ว แต่ละนวิ คลโี อไทด์ประกอบดว้ ย น้ำตาลไรโบส หมู่ฟอสเฟตและไนโตรจีนัส

เบสคอื A U C และ G

• มวิ เทชนั เปน็ การเปลี่ยนแปลงของลำดับ

หรอื จำนวนนวิ คลโี อไทด์ใน DNA ซง่ึ อาจ นำไปสู่ การเปลีย่ นแปลงโครงสร้างและการ

ทำงานของ โปรตีน ซง่ึ ถ้าการเปลี่ยนแปลง ดงั กลา่ วเกิด ในเซลลส์ ืบพันธ์ุจะสามารถ ถ่ายทอดไปยงั รนุ่ ตอ่ ๆ ไปไดแ้ ละทำใหเ้ กิด

ความแปรผันทาง พนั ธุกรรมของส่ิงมชี วี ติ การเกิดมิวเทชันมสี าเหตุ มาจากปัจจยั ตา่ ง

ๆ เชน่ รงั สีและสารเคมี • การขาดหายไปหรือเพ่มิ ข้ึนของนิวคลีโอ ไทด์ และการแทนที่คเู่ บส เป็นการเกิดมวิ เท

ชนั ระดบั ยนี เช่น โรคโลหิตจางชนดิ ซกิ เคลิ เซลลเ์ ป็นผลมาจาก การแทนทีค่ ่เู บส

• การเปลย่ี นแปลงโครงสร้างของโครโมโซม เชน่ หายไปหรอื เพ่มิ ข้ึนบางสว่ น และการ เปลีย่ นแปลง จำนวนโครโมโซม เช่น การ

ลดลงหรือเพิม่ ขนึ้ ของโครโมโซมบางแทง่ หรอื ท้ังชุด เป็นสาเหตุ ของการเกิดมิวเทชัน

ระดบั โครโมโซม เชน่ กลุ่ม อาการคริดชู าต์

15

และกล่มุ อาการดาวนก์ ลมุ่ อาการ เทอร์

เนอรแ์ ละกลุม่ อาการไคลนเ์ ฟลเตอร์

10. อธิบายหลกั การสร้างส่ิงมชี ีวิตดดั แปร • การใช้เทคโนโลยีทางดเี อน็ เอ ในการสร้าง

พนั ธกุ รรม โดยใช้ดีเอ็นเอรีคอมบิแนนท์ ดีเอน็ เอ รคี อมบแิ นนท์สามารถนำไปใช้ใน

11. สบื ค้นข้อมูล ยกตวั อย่าง และอภปิ ราย การสร้าง ส่งิ มชี ีวติ ดัดแปรพนั ธุกรรม โดย

การนำ เทคโนโลยีทางดเี อน็ เอไป นำยีนท่ตี ้องการ มาตัดตอ่ ใสใ่ นสง่ิ มชี ีวติ ทำ

ประยุกต์ใชท้ ้งั ในด้าน ส่งิ แวดล้อม นติ ิ ใหส้ ง่ิ มชี วี ิตนน้ั มสี มบตั ิ ตามตอ้ งการ

วทิ ยาศาสตร์การแพทย์ การเกษตรและ • เทคโนโลยที างดเี อ็นเอ สามารถนำไป

อุตสาหกรรม และขอ้ ควรคำนึง ถงึ ด้านชีวจ ประยกุ ต์ ใช้ในด้านตา่ ง ๆ เชน่ สิ่งแวดล้อม

รยิ ธรรม นิตวิ ทิ ยาศาสตรการแพทย์การเกษตร และ

อตุ สาหกรรม โดยการ ใช้เทคโนโลยีทางดี

เอ็นเอตอ้ งคำนึงถงึ ความปลอดภัย ทาง

ชีวภาพ ชีวจรยิ ธรรม และผลกระทบต่อ

สงั คม

ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรูเ้ พ่มิ เติม

12. สืบค้นข้อมูล และอธบิ ายเก่ียวกับ • หลักฐานที่ทำให้เชื่อว่าสิ่งมีชีวิตมี

หลักฐาน ทส่ี นบั สนนุ และข้อมลู ทใี่ ช้อธิบาย ววิ ัฒนาการ เช่น ซากดกึ ดำบรรพก์ ายวิภาค

การเกดิ วิวฒั นาการของสิ่งมีชวี ิต เปรียบเทียบ วิทยาเอ็มบริโอ การ

แพร่กระจายของสิ่งมีชีวิตทาง ภูมิศาสตร์

การศึกษาทางชีวภูมิศาสตร์และ ด้าน

ชวี วิทยาระดับโมเลกุล

• มนุษย์มีการสืบสายวิวัฒนาการมาเป็น

เวลานาน โดยมีหลักฐานที่สนับสนุนจาก

ซากดึกดำบรรพ์ ของบรรพบุรุษมนุษย์ท่ี

คน้ พบ และจากการ เปรยี บเทียบลำดับเบส

บน DNA ระหวา่ งมนษุ ย์ กับไพรเมตอืน่ ๆ

13. อธบิ าย และเปรยี บเทียบแนวคิด • ฌอง ลามาร์ก ไดเ้ สนอแนวคิดเพ่ืออธิบาย

เกี่ยวกบั วิวฒั นาการของสงิ่ มีชีวติ ของฌอง เกี่ยวกับ วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตว่า

ลามาร์ก และทฤษฎเี ก่ียวกับวิวฒั นาการ สิ่งมีชีวิตมีการ เปลี่ยนแปลงโครงสร้างให้

ของสงิ่ มีชวี ิต ของชาลสด์ าร์วิน เข้ากับสภาพแวดล้อม โดยอาศัยกฎการใช้

และไมใ่ ช้และกฎแหง่ การ ถ่ายทอดลักษณะ

ทเี่ กดิ ข้นึ มาใหม่

• ชาลส์ดาร์วิน เสนอทฤษฎีเกี่ยวกับ

วิวัฒนาการ ของสิ่งมีชีวิตว่า เกิดจากการ

คัดเลือกโดยธรรมชาติ โดยสิ่งมีชีวิตมี

แนวโน้มที่จะให้กำเนิดลูกที่มี ลักษณะ

16

แตกต่างกันจำนวนมาก แต่มีเพียง จำนวน

หน่งึ ท่เี หมาะสมกับสภาพแวดล้อม สามารถ

มีชีวิตรอด และถ่ายทอดลักษณะ ท่ี

เหมาะสมไปยังรุน่ ต่อไปได้

14. ระบุสาระสำคญั และอธิบายเงอื่ นไข • เมอื่ ประชากรอยใู่ นภาวะสมดุลของฮาร์ดี-

ของภาวะ สมดลุ ของฮาร์ดี-ไวนเ์ บิร์ก ปจั จัย ไวน์เบิร์ก โดยประชากรมีขนาดใหญ่ ไม่มี

ที่ทำให้เกิด การเปลย่ี นแปลงความถขี่ อง การถ่ายเทยีน ระหว่างประชากร ไม่เกิดมวิ

แอลลีล ในประชากร พร้อมท้งั คำนวณหา เทชัน สมาชิกทุกตัว มีโอกาสผสมพันธุ์ได้

ความถี่ ของแอลลลี และจีโนไทป์ของ เท่ากัน และไม่เกิดการคัดเลือก โดย

ประชากร โดยใช้หลกั ของฮารด์ ี-ไวน์เบริ ก์ ธรรมชาติจะทำให้ความถี่ของแอลลีลของ

ลักษณะน้นั ไมเ่ ปลี่ยนแปลงไม่ว่าจะผ่านไปกี่

รุ่น ก็ตาม เป็นผลให้ลักษณะนั้นไม่เกิด

ววิ ัฒนาการ

• การเปลี่ยนแปลงความถี่ของยีนหรือแอล

ลีล ในประชากร เกิดจากปัจจัยหลาย

ประการ นำไปสู่ การเกดิ ววิ ัฒนาการ

15. สบื ค้นขอ้ มูล อภิปราย และอธบิ าย • สปชี สี ์ใหมจ่ ะเกิดขนึ้ ได้เมื่อไม่มีการถ่ายเท

กระบวนการเกดิ สปชี สี ์ใหม่ของส่งิ มีชีวติ เคลื่อนย้ายยีนระหวา่ งประชากรหน่ึงกบั อกี

ประชากรหนึ่ง ในรุ่นบรรพบุรุษ ทำให้

ประชากร ทั้งสอง มีโครงสร้างทาง

พันธุกรรมที่แตกต่างกัน และวิวัฒนาการ

เกิดเปน็ สปีชีสใ์ หม่

• ปัจจัยที่ทำให้เกิดสปีชีส์ใหม่อาจเกิดได้ 2

แนวทาง คือ การเกิดสปีชีส์ใหม่จากการ

แบ่งแยกทาง ภูมิศาสตร์และการเกิดสปีชีส์

ใหม่ในเขตภูมศิ าสตร์ เดยี วกัน

17

คำอธบิ ายรายวชิ าเพ่มิ เติม วิชาชวี วิทยา รหัสวชิ า ว 31241 ภาคเรียนท่ี 1 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4

………………………………………………………………. ศึกษาเกี่ยวกับธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต ลักษณะเฉพาะของสิ่งมีชีวิต แขนงวิชาท่ี เกีย่ วข้องกับชีววทิ ยาและการใช้ความรทู้ างชีววิทยาทเี่ ป็นประโยชนต์ อ่ มนษุ ย์และสง่ิ แวดลอ้ ม ชวี วิทยา กบั การดำรงชีวิตของสิ่งมชี วี ิต ความตระหนกั ในเรื่องของชีวจริยธรรม การศกึ ษาชีววิทยาโดยใช้วิธีการ ทางวทิ ยาศาสตร์ รวมทั้งการศกึ ษาวธิ ีการทำงานขอนักวิทยาศาสตร์ และการนำความรูเ้ ก่ยี วกับชวี ิทยา มาประยุกต์ในชวี ิตประจำวัน การทำกิจกรรมสะเต็มศึกษาโดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตจริง ศึกษาเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมชี ีวิต โครงสร้างและหน้าที่ของสารต่างๆ ที่ เปน็ องคป์ ระกอบในเซลล์ของสิง่ มชี วี ติ และปฏกิ ิรยิ าเคมใี นเซลล์ของสิ่งมีชีวติ ศึกษาสว่ นประกอบของ กลอ้ งจุลทรรศนใ์ ช้แสง หลักการทำงาน วิธกี ารใช้ รวมทั้งการดูแลและการเกบ็ รกั ษา ศกึ ษาโครงสร้าง และหน้าที่ของส่วนห่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาสซึมและนิวเคลียส การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ การหายใจระดับเซลล์ซึ่งเป็นกระบวนการที่เซลล์สร้างพลังงานจากการสลายสารอาหารโดยใช้ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล การ สังเกต การวิเคราะห์ เปรียบเทียบ อธิบาย อภิปรายและสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความ เข้าใจ มีความสามารถในการตดั สินใจ มีทกั ษะปฏบิ ตั ิการทางวทิ ยาศาสตร์ รวมท้ังทักษะแหง่ ศตวรรษ ที่ 21 ในด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการคิดและการแก้ปัญหา ด้านการสื่อสารสามารถ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเอง มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและ ค่านยิ มทเ่ี หมาะสม

ผลการเรียนรู้

1. อธิบาย และสรุปสมบัติที่สำคัญของสิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ์ของการจัดระบบใน สิ่งมชี ีวิตท่ที ำใหส้ งิ่ มีชวี ติ ดำรงชวี ติ อยไู่ ด้

2. อภิปรายและบอกความสำคัญของการระบุปัญหาความสัมพันธ์ระหว่างปัญหาสมมติฐาน และวิธกี ารตรวจสอบสมมตฐิ านรวมทงั้ ออกแบบการทดลองเพอื่ ตรวจสอบสมมตฐิ าน

3.สืบคน้ ขอ้ มูล อธบิ ายเกย่ี วกับสมบัตขิ องนำ้ และบอกความสำคัญของนำ้ ทม่ี ีต่อส่งิ มีชวี ิต และ ยกตัวอยา่ งธาตุต่างๆทมี่ คี วามสำคัญต่อรา่ งกายสิง่ มีชีวิต

4. สืบค้นข้อมูล อธิบายโครงสร้างของคาร์โบไฮเดรต ระบุกลุ่มของคาร์โบไฮเดรต รวมท้ัง ความสำคญั ของคาร์โบไฮเดรตท่มี ตี ่อส่งิ มชี ีวิต

5. สืบค้นขอ้ มลู อธิบายโครงสร้างของโปรตนี และความสำคญั ของโปรตีนทม่ี ีต่อส่ิงมชี วี ติ 6. สืบคน้ ขอ้ มลู อธิบายโครงสร้างของลิพิด และความสำคญั ของลิพดิ ทมี่ ตี ่อสง่ิ มชี วี ิต 7.อธิบายโครงสร้างของกรดนิวคลิอิก และระบุ ชนิดของกรดนิวคลิอิก และความสำคัญของ กรดนวิ คลอิ กิ ทม่ี ีต่อสงิ่ มีชีวิต 8. สืบคน้ ข้อมลู และอธิบายปฏกิ ริ ยิ าเคมีทเี่ กิดข้นึ ในส่ิงมชี วี ติ

18

9. อธบิ ายการทำงานของเอนไซม์ในการเรง่ ปฏกิ ิรยิ า เคมีในสง่ิ มีชีวติ และระบปุ จั จยั ท่มี ีผลต่อ การทำงาน ของเอนไซม์

10. บอกวิธีการ และเตรียมตัวอย่างสิ่งมีชีวิต เพื่อศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง วัด ขนาดโดยประมาณ และวาดภาพที่ปรากฏ ภายใต้กล้อง บอกวิธีการใช้ และการดูแลรักษา กล้อง จลุ ทรรศน์ใชแ้ สงท่ีถกู ต้อง

11. อธบิ ายโครงสรา้ งและหน้าท่ขี องสว่ นทห่ี ่อห้มุ เซลลข์ องเซลลพ์ ืชและเซลล์สตั ว์ 12. สืบค้นข้อมลู อธิบาย และระบุชนดิ และหนา้ ที่ของออร์แกเนลล์ 13. อธบิ ายโครงสรา้ งและหน้าที่ของนวิ เคลียส 14. อธิบาย และเปรียบเทียบการแพร่ ออสโมซิส การแพร่แบบฟาซิลิเทต และแอก ทฟี ทรานสปอร์ต 15. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเขียนแผนภาพ การลำเลียงสารโมเลกุลใหญ่ออกจากเซลล์ ด้วยกระบวนการเอกโซไซโทซสิ และการลำเลียง สารโมเลกุลใหญ่เข้าสู่เซลลด์ ้วยกระบวนการ เอนโด ไซโทซสิ 16. สังเกตการแบ่งนิวเคลียสแบบไมโทซิสและ แบบไมโอซิสจากตัวอย่างภายใต้กล้อง จุลทรรศน์ พร้อมทงั้ อธิบายและเปรยี บเทยี บการแบ่ง นิวเคลียสแบบไมโทซิส และแบบไมโอซิส 17. อธิบาย เปรียบเทียบ และสรุปขั้นตอน การหายใจระดับเซลล์ในภาวะที่มีออกซิเจน เพยี งพอ และภาวะทม่ี ีออกซิเจนไม่เพียงพอ

รวมทงั้ หมด 17 ผลการเรยี นรู้

19

โครงสรา้ งรายวิชาชีววทิ ยา

รายวชิ าเพิ่มเติม ชวี วิทยา (ว31241) ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4

หน่วยการเรียนรู้ : 2 หน่วย เวลา 40 ชว่ั โมง

ครูผสู้ อน นายพรี พล ภสู เี ขยี ว ภาคเรียนท่ี 1/2565

หนว่ ยที่ ช่อื หนว่ ยการเรยี นรู้ เวลา (ชัว่ โมง)

การศึกษาชีววิทยา

เรื่องท่ี 1 ธรรมชาตขิ องสงิ่ มชี ีวติ

เรอ่ื งที่ 2 การศึกษาชวี วิทยาและวิธีการทาง

วทิ ยาศาสตร์

- ชวี วิทยา

1 - ชวี วทิ ยากบั การดำรงชีวติ 8

- ชวี จรยิ ธรรม

- วิธีการทางวิทยาศาสตร์

เรอ่ื งที่ 3 กจิ กรรมเชงิ สะเต็มศกึ ษาและกระบวนการ

ออกแบบ

เชงิ วิศวกรรม

เคมีทเี่ ปน็ พน้ื ฐานของสิ่งมีชีวิต

เรือ่ งท่ี 1 อะตอม ธาตแุ ละสารประกอบ

เรอ่ื งท่ี 2 สารอนินทรีย์

- นำ้

- แรธ่ าตุ

2 เรื่องท่ี 3 สารประกอบคาร์บอนในสิง่ มีชีวติ 12 - คาร์โบไฮเดรต

- โปรตีน

- ลพิ ิด

- กรดนิวคลีอิก

- วิตามิน

เรอื่ งท่ี 4 ปฏกิ ริ ยิ าเคมีในเซลล์ของสงิ่ มชี วี ิต

สอบกลางภาค 2

เซลลแ์ ละการทำงานของเซลล์

เรอื่ งที่ 1 กลอ้ งจลุ ทรรศน์

- เซลล์

3 - การศึกษาเซลล์ด้วยกลอ้ งจุลทรรศน์ 16

เรอื่ งที่ 2 โครงสร้างและหน้าท่ีของเซลล์

- เซลลพ์ ืช

- เซลล์สตั ว์

20

หน่วยท่ี ชอื่ หนว่ ยการเรยี นรู้ เวลา (ชัว่ โมง) 2 เร่อื งที่ 3 การลำเลยี งสารเข้าและออกเซลล์ - การลำเลยี งโดยผ่านเยอื่ หุ้มเซลล์ - การลำเลยี งโดยไมผ่ า่ นเย่อื ห้มุ เซลล์

เร่อื งท่ี 4 การหายใจระดับเซลล์ - แบบใชอ้ อกซิเจน - แบบไม่ใชอ้ อกซิเจน

เรื่องท่ี 5 การแบ่งเซลล์ - ไมโทซิส - ไมโอซิส

สอบปลายภาค

21

กำหนดการสอนรายวิชาชวี วิทยา

รายวชิ าเพ่ิมเติม ชวี วทิ ยา (ว31241) ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4

หน่วยการเรยี นรู้ : 3 หน่วย เวลา 40 ชว่ั โมง

ครูผสู้ อน นายพรี พล ภสู เี ขียว ภาคเรียนที่ 1/2565

สัปดาห์ หน่วยการ สาระการเรียนรู้ เวลา น้ำหนกั ท่ี เรียนรู้ (ชว่ั โมง) คะแนน

การศกึ ษา • สิ่งมีชีวิตทุกชนิดต้องการสารอาหารและ

ชีววิทยา พลังงาน มกี ารเจริญเติบโต มกี ารตอบสนองต่อ

1 - แผนท่ี 1 สิ่งเร้า มีการรักษาดุลยภาพของร่างกาย มีการ 2 2

ธรรมชาติของ สืบพันธุ์ มีการปรับตัวทางวิวัฒนาการ และมี

สิ่งมีชีวติ การทำงาน ร่วมกันขององค์ประกอบต่าง ๆ

- แผนท่ี 2 อย่างเป็นระบบ สิ่งเหล่านี้จัดเป็นสมบัติท่ี การศึกษา สำคัญของสิ่งมีชวี ติ 2 ชวี วิทยาและ • การจดั ระบบในส่ิงมีชวี ติ เร่ิมจากหนว่ ยเลก็ ไป 2 2

วิธกี ารทาง หน่วยใหญ่ ได้แก่ เซลล์เนื้อเย่ือ อวัยวะ ระบบ วทิ ยาศาสตร์ อวัยวะ และสิ่งมชี ีวิต ตามลำดับ - แผนที่ 3 • วิธีการทางวิทยาศาสตร์ในการค้นหาคำตอบ กจิ กรรมเชงิ สะ เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต เริ่มจากการตั้งปัญหาหรือ เตม็ ศกึ ษาและ คำถาม ตั้งสมมติฐาน ตรวจสอบสมมติฐาน 3 กระบวนการ เก็บรวบรวม ข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และ 2 5

ออกแบบเชงิ สรปุ ผล วศิ วกรรม • การศึกษาสิ่งมีชีวิตต้องอาศัยความรู้จาก - แผนท่ี 4 แขนงวิชา ต่าง ๆ ของชีววิทยาและสาขาวิชา กิจกรรมเชิงสะ อื่นที่เกี่ยวข้อง และควรคำนึงถึงชีวจริยธรรม เต็มศกึ ษาและ และจรรยาบรรณ การใช้สตั ว์ทดลอง 4 กระบวนการ 25

ออกแบบเชงิ

วศิ วกรรม (ตอ่ )

เคมที ี่เปน็ • คาร์โบไฮเดรตประกอบด้วย ธาตุคาร์บอน

พน้ื ฐานของ ไฮโดรเจน และออกซิเจน แบ่งตามขนาด

ส่งิ มีชวี ิต โมเลกุล ออกได้เป็น 3 กลุ่ม คือ มอโนแซ็กคา

5 - แผนท่ี 5 ไรด์ ไดแซ็กคาไรด์และพอลแิ ซ็กคาไรด์ 22

อะตอม ธาตุ

และ

สารประกอบ

22

สปั ดาห์ หนว่ ยการ สาระการเรยี นรู้ เวลา น้ำหนัก ท่ี เรียนรู้ (ชั่วโมง) คะแนน - แผนที่ 6 นำ้ • สิ่งมีชีวิตประกอบด้วย ธาตุและสารประกอบ 6 ในร่างกายของสิ่งมีชีวิตมีน้ำเป็นองค์ประกอบ - แผนท่ี 7 สารประกอบ มากที่สุด น้ำประกอบด้วยธาตุไฮโดรเจน และ คาร์บอนใน สิง่ มชี ีวติ ออกซิเจน มีสมบตั ิในการเป็นตัวทำละลาย ที่ดี 7 เก็บความร้อนได้ดีและมีความจุความร้อนสูง - แผนที่ 8 สารประกอบ ซึ่งชว่ ยรกั ษาดุลยภาพของเซลล์ได้ 22 คารบ์ อนใน สิ่งมชี ีวิต (ตอ่ ) • ธาตุทสี่ ่งิ มชี วี ติ ต้องการจะอยู่ในรูปของไอออน 8 ในมนุษย์และสัตว์ธาตจุ ะชว่ ยให้การทำงานของ - แผนท่ี 9 9 ปฏิกิริยาเคมใี น ระบบต่าง ๆ ในร่างกายดำเนินไปตามปกติ

นอกจากนี้ในกระดูก ฟัน และกล้ามเนื้อจะมี

ธาตุ เปน็ องค์ประกอบด้วย

• โปรตีนมีกรดอะมิโนเป็นหน่วยย่อย

ประกอบด้วย ธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน

ออกซิเจน และไนโตรเจน บางชนิดอาจมีธาตุ

ฟ อสฟ อ ร ัส เหล็ก และ ก ำมะ ถัน เป็น

องค์ประกอบ 2 1 • ลิพิดประกอบด้วย ธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน

และ ออกซิเจน เป็นสารประกอบท่ีละลายได้ดี

ในตัวทำละลายที่เป็นสารอินทรีย์ลิพิดกลุ่ม

สำคัญ ท่พี บในส่ิงมีชีวติ เช่น กรดไขมนั ไตรกลี

เซอไรด์ ฟอสโฟลิพดิ สเตอรอยด์

• กรดนิวคลิอิกประกอบด้วย หน่วยย่อย

เรียกว่า นิวคลีโอไทด์โมเลกุลของนิวคลีโอไทด์

ประกอบด้วย หมฟู่ อสเฟต น้ำตาลท่ีมีคาร์บอน

5 อะ ตอม และ เบสที่มีไ นโตร เจนเป็น

องค์ประกอบ • กรดนิวคลิอกิ เป็นองค์ประกอบ 2 1 ของสารพันธุกรรม ทำหน้าที่เก็บและถ่ายทอด

ข้อมูลทางพันธุกรรม มี2 ชนิด คือ DNA และ

RNA พันธุกรรม ทำหน้าที่เก็บและถ่ายทอด

ข้อมูลทางพันธุกรรม มี2 ชนิด คือ DNA และ

RNA

• เมแทบอลซิ ึมเปน็ ปฏกิ ริ ิยาเคมีท่ีเกิดขนึ้ 22

ภายใน เซลล์ของส่งิ มชี ีวิต ปฏิกริ ิยาเคมี

23

สปั ดาห์ หนว่ ยการ สาระการเรียนรู้ เวลา น้ำหนัก ท่ี เรียนรู้ (ชัว่ โมง) คะแนน

เซลลข์ อง ประกอบดว้ ย ปฏกิ ิริยาคายพลงั งาน และ

ส่ิงมชี ีวิต ปฏิกริ ยิ าดดู พลังงาน ปฏกิ ริ ิยาเคมเี หลา่ น้ีจะ

ดำเนินไปไดอ้ ย่างรวดเรว็ จำเปน็ ตอ้ งอาศยั

เอนไซมช์ ว่ ยเร่งปฏกิ ริ ยิ า

• เอนไซมส์ ่วนใหญเ่ ป็นสารประเภทโปรตนี ทำ

หน้าที่เร่งปฏิกิริยาเคมีในขณะที่เกิดปฏิกิริยา

เคมีในเซลล์สารตั้งต้นจะเข้าไปจับกับเอนไซม์

- แผนที่ 10 ที่บริเวณจำเพาะของเอนไซม์ท่ีเรียกว่า บริเวณ

ปฏิกิริยาเคมีใน เร่ง ถ้าสารตั้งต้นมีโครงสร้างเข้ากบั บริเวณเรง่ ได้ สารตั้งต้นนั้นจะถูกเปลี่ยนเป็นสาร เซลล์ของ 10 ส่ิงมชี ีวติ (ต่อ) ผลิตภณั ฑ์ 21

• อุณหภมู ิสภาพความเป็นกรด-เบส และ ตัว

ยบั ยง้ั เอนไซมเ์ ปน็ ปจั จัยท่ีมผี ลตอ่ การทำงาน

ของเอนไซม์

11 สอบกลางภาค 2 20

เซลล์และการ • กล้องจุลทรรศน์เป็นเครื่องมือที่ใช้ศึกษา

ทำงานของ ส่งิ มีชีวติ ขนาดเล็ก ทไี่ ม่สามารถเห็นได้ด้วยตา

เซลล์ เปลา่ และ รายละเอยี ดโครงสร้างของเซลล์

- แผนที่ 11 • กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงเชิงประกอบ และ

กลอ้ งจุลทรรศน์ กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบสเตอริโออาศัย

เลนส์ ในการทำให้เกิดภาพขยาย

• กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนทำให้เกิดภาพ

ขยาย โดยอาศัยเลนส์แม่เหล็กไฟฟ้ารวมลำ

อิเล็กตรอน ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิด คือ ชนิด

12 สอ่ งผ่าน และชนดิ สอ่ งกราด 23

• ตัวอย่างสิ่งมีชีวิตที่นำมาศึกษาภายใต้กล้อง

จุลทรรศน์ ใช้แสงต้องมีวิธีการเตรยี มที่ถูกต้อง

และเหมาะสม กบั ชนิดของส่งิ มีชวี ติ เพอ่ื ให้เกิด

ประสทิ ธภิ าพ ในการศกึ ษา

• กล้องจุลทรรศนใ์ ช้แสงเป็นเครอื่ งมือที่มีความ

ละเอียด ซับซ้อน และราคาค่อนข้างสงู จงึ ควร

ใช้อย่าง ถูกวิธีมีการเก็บและดูแลรักษาท่ี

ถกู ตอ้ ง เพอื่ ให้ สามารถใช้งานได้นาน

สัปดาห์ หนว่ ยการ สาระการเรยี นรู้ 24 ท่ี เรยี นรู้ เวลา น้ำหนัก (ช่วั โมง) คะแนน

- แผนที่ 12 • เซลล์เป็นหน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สุดของ

โครงสร้างและ สิ่งมีชีวิต โครงสร้างพื้นฐานของเซลล์

หน้าทข่ี องเซลล์ ประกอบด้วย ส่วนที่ ห่อหุ้มเซลล์ไซโทพลาซึม

และนิวเคลียส

• ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์ที่พบในเซลล์ทุกชนิดคือ

เย่อื หุ้มเซลลแ์ ต่ในแบคทีเรยี สาหร่าย ฟังไจและ

พชื จะมผี นังเซลล์เปน็ ส่วนห่อหุ้มเซลล์เพิ่มเติม

ขน้ึ มาอีก ช้นั หนง่ึ 2 2 2 2 • โครงสร้างของเยื่อหุ้มเซลล์ประกอบด้วย

13 โมเลกลุ ของฟอสโฟลิพิดเรียงเป็นสองช้ัน และ มีโปรตีน แทรกหรืออยู่ที่ผิวทั้งสองด้านของ

ฟอสโฟลิพิด • ไซโทพลาซึมอยู่ภายในเยื่อหุ้ม

เซลล์ประกอบด้วย ไซโทซอลและออร์แกเนลล์

• นิวเคลียสเป็นศูนย์กลางควบคุมการทำงาน

ของ เซลล์ยูคาริโอต ประกอบด้วยเยื่อหุ้ม ซึ่ง

ภายใน มีDNA RNA และโปรตนี บางชนดิ

- แผนท่ี 13 การ • สารต่าง ๆ มีการเคลื่อนที่เข้าและออกจาก ลำเลยี งสารเข้า เซลล์ อยู่ตลอดเวลาโดยกระบวนการต่าง ๆ และออกจาก ได้แก่ การแพร่ออสโมซิส การแพร่แบบฟาซิลิ

เซลล์ เทต แอกทีฟทรานสปอร์ต กระบวนการเอกโซ ไซโทซิส กระบวนการเอนโดไซโทซิส

• แก๊สต่าง ๆ เข้าหรือออกจากเซลล์โดยการ 14 แพร่ สว่ นนำ้ เขา้ หรือออกจากเซลล์ผ่านเยื่อหุ้ม

เซลล์ โดยออสโมซิส

• ไอออนและสารบางอยา่ งทไี่ มส่ ามารถลำเลียง ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์โดยตรงได้จำเป็นต้องอาศัย

โปรตีนที่อยู่บนเยื่อหุ้มเซลล์เป็นตัวพาสารนั้น เข้าและออกจากเซลล์เรียกว่า การแพร่แบบ ฟาซิลเิ ทต

25

สปั ดาห์ หนว่ ยการ สาระการเรยี นรู้ เวลา น้ำหนัก ท่ี เรยี นรู้ (ชัว่ โมง) คะแนน

• แอกทีฟทรานสปอร์ต เป็นการลำเลียงสาร

จาก บรเิ วณที่มีความเขม้ ข้นต่ำไปยงั บริเวณที่มี

ความเข้มขน้ สูง

• สารบางอย่างที่ไม่สามารถแพร่ผ่านเยื่อหุ้ม

เซลล์ หรือลำเลยี งผา่ นโปรตีนทเี่ ป็นตวั พาได้จะ

ถูก ลำเลียงออกจากเซลล์ด้วยกระบวนการ

เอกโซไซโทซสิ

• สารที่มีขนาดใหญ่จะสามารถลำเลียงเข้าสู่

เซลล์ ด้วยกระบวนการเอนโดไซโทซิสซ่ึง

แบ่งเป็น 3 แบบ ได้แก่ พิโนไซโทซิส ฟาโกไซ

โทซิส และการนำสาร เข้าสู่เซลล์โดยอาศัย

ตัวรับ

- แผนที่ 14 การ • สารต่าง ๆ มีการเคลื่อนที่เข้าและออกจาก

ลำเลียงสารเข้า เซลล์ อยู่ตลอดเวลาโดยกระบวนการต่าง ๆ

และออกจาก ได้แก่ การแพร่ออสโมซิส การแพร่แบบฟาซิลิ

เซลล์(ต่อ) เทต แอกทีฟทรานสปอร์ต กระบวนการเอกโซ

ไซโทซสิ กระบวนการเอนโดไซโทซสิ

• แก๊สต่าง ๆ เข้าหรือออกจากเซลล์โดยการ

แพร่ สว่ นนำ้ เขา้ หรือออกจากเซลล์ผ่านเย่ือหุ้ม

เซลล์ โดยออสโมซสิ

• ไอออนและสารบางอยา่ งท่ีไม่สามารถลำเลียง

ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์โดยตรงได้จำเป็นต้องอาศัย

15 โปรตีนที่อยู่บนเยื่อหุ้มเซลล์เป็นตัวพาสารนั้น 2 2 เข้าและออกจากเซลล์เรียกว่า การแพร่แบบ

ฟาซลิ ิเทต

• แอกทีฟทรานสปอร์ต เป็นการลำเลียงสาร

จาก บริเวณท่ีมคี วามเขม้ ขน้ ต่ำไปยังบริเวณที่มี

ความเข้มขน้ สงู

• สารบางอย่างที่ไม่สามารถแพร่ผ่านเยื่อหุ้ม

เซลล์ หรอื ลำเลียงผา่ นโปรตนี ที่เป็นตวั พาได้จะ

ถูก ลำเลียงออกจากเซลล์ด้วยกระบวนการ

เอกโซไซโทซิส

• สารที่มีขนาดใหญ่จะสามารถลำเลียงเข้าสู่

เซลล์ ด้วยกระบวนการเอนโดไซโทซิสซึ่ง

26

สัปดาห์ หนว่ ยการ สาระการเรยี นรู้ เวลา นำ้ หนัก ท่ี เรยี นรู้ (ชวั่ โมง) คะแนน

แบ่งเป็น 3 แบบ ได้แก่ พิโนไซโทซิส ฟาโกไซ

โทซิส และการนำสาร เข้าสู่เซลล์โดยอาศัย

ตวั รบั

- แผนที่ 15 การ • สารต่าง ๆ มีการเคลื่อนที่เข้าและออกจาก

หายใจระดบั เซลล์ อยู่ตลอดเวลาโดยกระบวนการต่าง ๆ

เซลล์ ได้แก่ การแพร่ออสโมซิส การแพร่แบบฟาซิลิ

เทต แอกทีฟทรานสปอรต์ กระบวนการเอกโซ

ไซโทซสิ กระบวนการเอนโดไซโทซิส

• แก๊สต่าง ๆ เข้าหรือออกจากเซลล์โดยการ

16 แพร่ สว่ นนำ้ เขา้ หรือออกจากเซลล์ผ่านเย่ือหุ้ม 2 2 เซลล์ โดยออสโมซิส 2 2 • ไอออนและสารบางอยา่ งที่ไม่สามารถลำเลียง 2 2

ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์โดยตรงได้จำเป็นต้องอาศัย

โปรตีนที่อยู่บนเยื่อหุ้มเซลล์เป็นตัวพาสารน้ัน

เข้าและออกจากเซลล์เรียกว่า การแพร่แบบ

ฟาซลิ ิเทต

• แอกทีฟทรานสปอร์ต เป็นการลำเลียงสาร

- แผนที่ 16 การ จาก บรเิ วณที่มีความเข้มข้นตำ่ ไปยังบริเวณที่มี หายใจระดบั ความเขม้ ขน้ สูง

เซลล์(ต่อ) • สารบางอย่างที่ไม่สามารถแพร่ผ่านเยื่อหุ้ม

เซลล์ หรอื ลำเลียงผา่ นโปรตนี ท่ีเปน็ ตวั พาได้จะ

ถูก ลำเลียงออกจากเซลล์ด้วยกระบวนการ

17 เอกโซไซโทซสิ

• สารที่มีขนาดใหญ่จะสามารถลำเลียงเข้าสู่

เซลล์ ด้วยกระบวนการเอนโดไซโทซิสซ่ึง

แบ่งเป็น 3 แบบ ได้แก่ พิโนไซโทซิส ฟาโกไซ

โทซิส และการนำสาร เข้าสู่เซลล์โดยอาศัย

ตวั รับ

- แผนที่ 17 การ • การแบ่งเซลล์ของสิ่งมีชีวิตเป็นการเพิ่ม

18 แบง่ เซลล์ จำนวนเซลล์ ซึ่งเป็นกระบวนการที่เกิดข้ึน ต่อเนื่องกันเป็น วัฏจักร โดยวัฏจักรของเซลล์

27

สปั ดาห์ หน่วยการ สาระการเรียนรู้ เวลา นำ้ หนกั ท่ี เรียนรู้ (ชั่วโมง) คะแนน

- แผนท่ี 18 การ ประกอบด้วย อินเตอร์เฟส การแบ่งนิวเคลียส

แบง่ เซลล์(ต่อ) แบบไมโทซสิ และ การแบง่ ไซโทพลาซมึ

• การแบ่งนิวเคลียสมี2 แบบ คือการแบ่ง

นิวเคลียส แบบไมโทซิสและการแบ่งนิวเคลียส

แบบไมโอซสิ

• การแบง่ นิวเคลียสแบบไมโทซิส ประกอบด้วย

ระยะโพรเฟส เมทาเฟส แอนาเฟส และเทโล

เฟส ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับ

ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง

การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 139

ช้นั ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้เพ่มิ เตมิ

19 • การแบ่งนวิ เคลียสแบบไมโอซิสประกอบดว้ ย 2 2

ระยะโพรเฟส I เมทาเฟส I แอนาเฟส I เทโล

เฟส I ระยะโพรเฟส II เมทาเฟส II แอนาเฟส II

และเทโลเฟส II

• การแบ่งนิวเคลียสแบบไมโทซิสทำให้เซลล์

ร่างกาย เพิ่มจำนวนเพื่อการเจริญเติบโต และ

ซ่อมแซม ส่วนที่สึกหรอหรือถูกทำลายไปได้

ส่วนการแบ่ง นิวเคลียสแบบไมโอซิสมี

ความสำคัญต่อสิ่งมีชีวิต ในกระบวนการสร้าง

เซลล์สืบพนั ธ์ุ

• การแบ่งไซโทพลาซึมในเซลล์พืชจะมีการ

สร้าง แผ่นกัน้ เซลล์และเซลล์สัตว์จะมีการคอด

เว้า เขา้ หากนั ของเยือ่ ห้มุ เซลล์

20 สอบปลายภาค 2 30

จิตพสิ ัย 10

รวม 40 100

หมายเหตุ การสอบกลางภาคและปลายภาคใช้เวลารวม 4 ชัว่ โมง

28

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน

คะแนนระหวา่ งเรียน 70 คะแนน ระ ระดับเกรดร คะแนน - การเข้าเรียน/จติ พิสยั 10 คะแนน 0-49 คะแนน 0 คะแนน 50-54 คะแนน 1 - ใบงาน/แบบฝึกหัด 40 55-59 คะแนน 1.5 คะแนน - สอบระหวา่ งภาคเรยี น 20 60-64 คะแนน 2 65-69 คะแนน 2.5 1. - คะแนนสอบปลายภาคเรียน 30 70-74 คะแนน 3 75-79 คะแนน 3.5 รวมท้งั หมด 100 คะแนน 80-100 คะแนน 4

29

แผนจัดการเรยี นร้ทู ่ี 1

รายวิชาชีววิทยา ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 เรอื่ ง การศึกษาชีววิทยา จำนวน 8 ชั่วโมง

เรอ่ื งท่ี 1 เร่ือง ธรรมชาติของส่ิงมีชีวติ จำนวน 2 ช่ัวโมง

สอนโดย นายพรี พล ภสู เี ขยี ว ภาคเรียนท่ี 1/2565

................................................................................................................................................................