522 29 ม.7 ต.โคกเค ยน อ.เม อง จ.นราธ วาส 96000

ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม วิถีชีวิต และความเชื่อถือต่าง ๆ ชุมชนบ้านบือราเปะ จะนับถือศาสนาอิสลาม100% วิถีชีวิตความเป็นอยู่ของหมู่บ้านนี้จะอยู่แบบเรียบง่าย เน้นเศรษฐกิจพอเพียงมีความการร่วมมือร่วมใจกันในชุมชนและอยู่แบบเป็นเพื่อนบ้านกัน เป็นเครื่อญาติกัน ค่อยช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และจะมีความเชื่อของคนโบราณ

องค์การชุมชนรวมทั้งผู้นำของชุมชน บ้านบือราเปะก็จะมีทั้งกลุ่มองค์การที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ กลุ่มที่เป็นทางการก็จะเป็นกลุ่มผู้ใหญ่บ้าน สมาชิกกลุ่มอบต กลุ่มอสม กลุ่มสตรี กลุ่มที่ไม่เป็นทางการ กลุ่มแม่บ้าน และผู้นำธรรมชาติ

อาชีพปัจจุบัน อาชีพหลัก อาชีพรอง ชุมชนบ้านบือราเปะมีอาชีพหลัก คืออาชีพเกษตรกร ได้แก่ กรีดยาง ปลูกปาล์ม ข้าราชการและรับจ้าง

ความสามารถในการทำงานแต่ละอาชีพ การปลูกถั่วงอก การทำน้ำบูดู

ระดับรายได้เป็นรายบุคคลและครอบครัว รายได้แต่ละวันเป็นรายครอบครัวอยู่ที่ 300- 1000 บาทต่อครอบครัว รายได้ค่อนข้างไม่แน่นอน เนื่องจากปัจจุบันราคายางตกต่ำจึงส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของคนในชุมชนได้เป็นอย่างดี

รายจ่ายเป็นรายบุคคลและครอบครัว รายจ่ายเป็นปัจจัยสำคัญที่ทุกคนจำเป็นต้องมีการจ่ายออกนอกจาก ขึ้นอยู่กับการบริหารเงินอย่างไรให้ประหยัดที่สุดและมีประสิทธิภาพสูงสุด ในส่วนรายจ่ายที่สำคัญ คือ คือค่าใช้จ่ายต่อบุตรในด้านการศึกษา จากที่ได้สัมภาษณ์ นางสาวนูรไอนิง ลาเต๊ะ บ้านเลขที่ 48/3 ม.3 ต.โคกเคียน อ.เมือง จ.นราธิวาส อาชีพหลัก รับจ้างกรีดยาง รายได้เฉลี่ยประมาณ 800 บาทต่อสัปดาห์และได้ให้สัมภาษณ์ว่าต้องให้ค่าขนมลูกในแต่ละวันประมาณ 80 บาทต่อคน และยังต้องใช้จ่ายในครัวในแต่ละวัน เริ่มตั้งแต่ตอนเช้า ซื้อกับข้าวที่เสร็จเรียบร้อยแล้ว ทั้งตอนเย็นอีกไม่ว่าจะเป็นข้าวสาร ปลา น้ำแข็ง ผงซักฟอกตกประมาณ 300 บาทแล้ว ส่วนหนี้สินก็จ่ายค่าบ้าน (สร้างจากโครงการซ่อมแซมบ้าน เดือนละ 330 บาท)

ภาระหนี้สิน

ระดับการศึกษา ชุมชนบ้านบือราเปะมีระดับการศึกษาตั้งแต่ ไม่เคยศึกษา จำนวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 8.58 อนุบาล/ศูนย์เด็กเล็ก จำนวน 42 คน คิดเป็นร้อยละ 5.61 ต่ำกว่าชั้นประถมศึกษา จำนวน 66 คน คิดเป็นร้อยละ 6.39 จบชั้นประถมศึกษา (ป.4,ป.7,ป.6) จำนวน 376 คน คิดเป็นร้อยละ 36.40 มัธยมศึกษาตอนต้น (มศ.1-3,ม.1-3) จำนวน 179 คน คิดเป็นร้อยละ 17.33 มัธยมศึกษาตอนปลาย (มศ.4-5,ม.4-6) จำนวน 143 คน คิดเป็นร้อยละ 13.84 อนุปริญญา หรือเทียบเท่า จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 1.65 ปริญญาตรี หรือเทียบเท่า จำนวน 87 คน คิดเป็นร้อยละ 8.42 สูงกว่าปริญญาตรี จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 1.10

การซื้อขายผลิตผล เช่น ข้าว และพืชไร่ต่าง ๆ เป็นต้น

การคมนาคมไปสู่ชุมชนอื่น ชาวบ้านจะใช้รถมอเตอร์ไซค์ รถยนต์ส่วนบุคคล และรถประจำทาง ในการสัญจรไปมา เช่น ส่งบุตรหลานไปเรียนหนังสือ รวมถึงผู้ปกครองไปทำงาน

กองทุนชุมชนต่าง ๆ กลุ่มสตรี เงินทุนจำนวน 10,000 บาท environment-information=สภาพทั่วไปของหมู่บ้านบือราเปะเป็นที่ราบลุ่ม ดินมีสภาพเป็นดินทราย มีภูเขา ทรัพยากรที่ใช้เป็นประโยชน์ให้กับชุมชนมีดินร่วนปนทราย ดินเปรี้ยว ซึ่งดินเหล่านี้ล้วนเป็นเป็นการใช้ประโยชน์ที่แตกต่างกัน และเหมาะแก่การปลุกพืชเกษตรกรรม การปลูกสวนยาง การปลุกพืชพักสวนครัว ดินเปรี้ยวเหมาะแก่การปลุกปาล์ม น้ำจะแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คลอง น้ำบาดาล บ่อน้ำ ในชุมชนบ้านบือราเปะจะมีการขุดเจาะน้ำบาดาลและน้ำบ่อในการใช้ดำรงชีวีตในแต่ละวัน ลักษณะน้ำจะมีสีใส มีกลิ่นดิน ภูมิทัศน์ในหมู่บ้านบือราเปะส่วนใหญ่จะมีการปลูกบ้านออกจากถนนใหญ่ สังเกตได้จากพื่นที่ว่างที่ติดกับถนนใหญ่บริเวณถนนลาดยางจะมีต้นมะม่วงหิมพานต์เรียงยาวจนสุดหมู่บ้าน แต่ละบ้านจะมีลักษณะบ้านหินปูนชั้นเดียว บ้านที่มีกำแพงล้อมรอบมีประมาณ 12หลัง หน้าบ้านจะมีการปลูกดอกไม้และผักหวาน เช่น พริกขี้หนู ใบโหระพา ตะใคร้ มะเขือ มะละกอ เป็นต้น ข้างบริเวณถนนลาดยางจะมีถังขยะจำนวน 32 ถัง ขยะที่ชาวบ้านทิ้งส่วนใหญ่จะเป็นขยะเปียก ขยะแห้ง ขยะเปียกก็จะเป็น พวกเศษอาหาร พืชผัก ส่วนขยะแห้งก็จะเป็น ขวดพลาสติก ขวดไวตามิล ขวดโค๊ก ช่วงกลางเดือนพฤษภาคมถึงเดือนมิถุนายนเป็นช่วงฤดูของการออกผลมะม่วงหิมพานต์ จึงส่งผลให้มีแมลงหวี่จำนวนมากมาสร้างความรำคาญและเป็นตัวพาหนะนำโรคตาแดง (ซูรัยนี เละหะ พยาบาลปฎิบัติการ รพสตบือราเปะ ม.3 ต.โคกเคียน อ.เมือง จ.นราธิวาส)

อาณาเขตติดต่อของหมู่บ้าน ทิศตะวันออก ติดต่อกับ บ้านโคกพะยอม หมู่ที่ 2 ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส ทิศตะวันตก ติดต่อกับ บ้านยามูมือแล ตำบลบาเระใต้ อำเภอบาเจาะ ทิศเหนือ ติดต่อกับ บ้านฮูแตทูวอ หมู่ที่ 4 ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส ทิศใต้ ติดต่อกับ บ้านโคกพะยอม หมู่ที่ 2 ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส commune-plan-obligation=1. ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของหมู่บ้าน และปรับทัศนคติให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน 2. ส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานรากนำวธีชีวตด้วยเศรษฐกจพอเพียง 3. ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชนเพื่อให้เกิดประโยชน์และสมดุล coowner-1-role=รองประธาน coowner-3-role=เหรัญญิก coowner-4-role=ประชาสัมพันธ์ target-disabled=1 target-female=1 target-disabled-all=8 target-specific-muslim-select=1 target-specific-muslim=1535 target-specific-disadvantaged-select=1 area-specific-riverbasin=0 demographic-information=โครงสร้าง ลักษณะและสถานภาพต่าง ๆ ของคนในหมู่บ้าน เช่น เพศ อายุ เชื้อชาติ สถานภาพการสมรส เป็นต้น สภาพการเคลื่อนย้ายของคน ได้แก่ การย้ายเข้าและออกของคนในหมู่บ้าน จำนวนคนในหมู่บ้าน พร้อมทั้งแยกตามเพศและอายุ จำนวนประชากรทั้งหมดในหมู่บ้านบือราเปะมี 944 คน รวามทั้งเด็กแรกเกิด โดยแยกตามเพศแล้วจำนวนเพศชายมี 486 คน จำนวนเพศหญิงมี 458 คน จำนวน 205 ครัวเรือน น้อยกว่า 1 ปีเต็ม ชาย 7 คน หญิง 3 คนจำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ1.06 1 ปีเต็ม – 2 ปี ชาย 8 คน หญิง 6 คนรวมทั้งสิ้นจำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 1.48 3 ปีเต็ม – 14 ปี ชาย 33 คน หญิง 35 คนรวมทั้งสิ้นจำนวน 68 คน คิดเป็นร้อยละ 7.20 6 ปีเต็ม -11 ปี ชาย 75 คน หญิง 52 คนรวมทั้งสิ้นจำนวน 127 คน คิดเป็นร้อยละ 13.45 12 ปีเต็ม – 14 ปีชาย 34 คน หญิง 19 คนรวมทั้งสิ้นปีเต็ม จำนวน 53 คน คิดเป็นร้อยละ 5.61 15 ปีเต็ม – 17 ปีเต็ม ชาย 26 คน หญิง 30 คนรวมทั้งสิ้นจำนวน 56 คน คิดเป็นร้อยละ 5.93 18 ปีเต็ม – 25 ปีเต็ม ชาย 64 คน หญิง 68 คนรวมทั้งสิ้นจำนวน 132 คน คิดเป็นร้อยละ 13.98 26 ปีเต็ม – 49 ปีเต็ม ชาย 161 คน หญิง 160 คนรวมทั้งสิ้นจำนวน 321 คน คิดเป็นร้อยละ 34.00 50 ปีเต็ม – 60 ปีเต็ม ชาย 31 คน หญิง 38 คนรวมทั้งสิ้นจำนวน 69 คน คิดเป็นร้อยละ 7.31 มากกว่า 60 ปีเต็มขึ้นไป ชาย 45 คน หญิง 49 คนรวมทั้งสิ้นจำนวน 94 คน คิดเป็นร้อยละ 9.96 commune-plan-vision=ชุมชนเข้มแข็ง เน้นเศรษฐกิจพอเพียง รักษ์ธรรมชาติ ปราชญ์ลือเลื่อง commune-plan-goal-1=ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของหมู่บ้าน และปรับทัศนคติให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน commune-plan-goal-2=สิ่งแวดล้อมปลอดภัย ไม่มีมลพิษทางอากาศและเสียง commune-plan-goal-3=ชุมชนสุขภาพดี commune-plan-goal-4= coowner-2-org=แกนนำชุมชุน owner-org=ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 3 mechanism-for-health-information=1.มีอสม.ในหมู่บ้าน 13 คน มี รพ.สต.บือราเป๊ะ มีโรงพยาบาลนราธวาสราชนครินท์ 6 กม. 2.มีบัตร 30 บาทรักษาทุกโรค 3.มีการทำกองทุนประกันสุขภาพและสังคม ตามมาตร 40 4.มีกองทุนบทบาทสตรี สมาชิก 20 คน 5.กลุ่มอสม. กลุ่มแกนนำชุมชม กลุ่มสตรี กลุ่มเยาวชน vital-health-statistics-information=1.ความยืนยาวของชีวิต

2.การเจ็บป่วยทางกายและทางจิต เช่น อัตราป่วยด้วยโรคต่าง ๆ เป็นต้น

3.ความทุพพลภาพ ได้แก่ อัตราคนพิการจากสาเหตุต่าง ๆ

4.การตาย ได้แก่ อัตราตายจากสาเหตุต่าง ๆ

5.สภาวะเสี่ยงและปัจจัยที่ทำให้เกิดการเสี่ยงต่อการเกิดโรค เช่น บุหรี่ เหล้า ยาเสพติด เป็นต้น strategic-9=1 strategic-8=1 strategic-11=0 strategic-other= commune-problem-1-title=สิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมลง commune-problem-2-title=ยาเสพติด commune-problem-3-title=การมีส่วนร่วมของชุมชน commune-problem-1-size=4 ปัญหาเกิดจากการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติอย่างหลากหลายของประชาชนในชุมชนเป็นจำนวนมาก ทำให้ทรัพยากรที่มีอยู่ค่อยๆเสื่อมลง และไม่มีการอนุรักษ์ฟื้นฟูและพัฒนาให้มีใช้ตลอดไป commune-problem-2-size=4 ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาสำคัญของชุมชน แม้กลุ่มเยาวชนที่มีปัญหายาเสพติดจะมีจำนวนน้อย แต่ส่งผลกระทบในวงกว้าง เนื่องจากก่อให้เกิดปัญหาอื่นตามมา เช่น ปัญหาการลักขโมย เป็นต้น commune-problem-3-size=3 ปัญหาการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชนเกิดจาการไม่มีเวลาว่างที่พร้อมกัน และขาดความสามัคคี แบ่งพรรคแบ่งพวก conversion-human=1.พื้นฐานจากเด็กและเยาวชนสามารถปลูกฝังและให้ช่วยๆกันรักษาเพื่อให้เยาวชนเหล่านั้นเรียนรู้ที่จะเป็นผู้มีจิตใจงดงามและเสียสละเพื่อชุมชนและสร้างสังคมให้น่าอยู่มากขึ้น 2.คนในชุมชนสามารถรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมเมื่อมีโรงงานเข้าสู่ชุมชน เพื่อเตรียมพร้อมในการดูแลสูขภาพ 3.ให้ชุมชนน่าอยู่และใช้เวลาให้เกิดประโยชน์ plan-1-objective=1.เพื่อพัฒนาศักยภาพเยาวชนให้มีบทบาทในการดูแลสิ่งแวดล้อม strategies-human=1.ให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบกับคนในชุมชน 2.มีกิจกรรมลงพื้นที่ให้คนในชุมชนได้เห็นถึงคุณค่าของทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชน 3.จัดอบรมให้ตระหนักถึงการใส่ใจดูแลสุขภาพของตนเพื่อให้สอดคล้องกับบริบทของชุมชนที่กำลังจะเปลี่ยนแปลงไป factor-environment=ด้วยวิถีชีวิตของชุมชนบือราเปะอยู่แบบเรียบง่าย ต่างคนก็ต่างทำงานและไม่มีเวลามาสนใจชุมชนของตนเองว่าเกิดการเปลี่ยนแปลงอะไรบ้าง บ้างก็ทำเป็นไม่รู้ไม่เห็น ซึ่งปัญหาเหล่านี้จะมีผลกระทบตามมา อีกทั้งไม่ตระหนักถึงผลกระทบจากสภาพแวfล้อมที่กำลังจะเปลี่ยนแปลง ขาดการจัดการทางด้านสิ่งแวดล้อม ขาดการค้นหาต้นทุนมาช่วยจัดการปัญหา อาชีพอยู่กับลำคลอง รับจ้าง ตัดยาง คนด้อยการศึกษา ทำให้ไม่รู้เท่าทันสังคมอีกทั้งไม่ใส่สุขภาพของตนเอง project-plan=1.ลงศึกษาชุมชนแล้วก็มานำเสนอให้กับแกนนำชุมชนเพื่อที่จะจัดทำแผนใหม่และให้เป็นปัจจุบัน 2.นำแผนข้อมูลชุมชนที่ได้ร่วมกันคิดแล้วมาวิเคราะห์ปัญหาของชุมชนเพื่อที่จะเลือกเป็นประเด็นในการจัดทำโครงการ 3.จากนั้นก็มาปรึกษากับนักวิเคราะห์นโยบายและแผน เพื่อที่จะให้เป็นแผนที่ถูกต้องและง่ายต่อการเบิกงบเข้าสู่ชุมชน project-problem=ชุมชนบ้านบือราเป๊ะ ได้มีมติในที่ประชุมคณะกรรมการหมู่บ้านได้ลงความเห็นว่าการแก้ปัญหาการสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมในชุมชน เป็นปัญหาใหญ่ที่หน่วยงานอื่นไม่สามารถเข้ามาแก้ไขให้กับชุมชนโดยตรงได้ถ้าไม่มีการมีส่วนร่วมในชุมชน ที่ประชุมได้จัดระดับความสำคัญของปัญหาที่ควรดำเนินงานต่อ 1. การถูกมลพิษจากโรงงาน จึงส่งผลทำให้เกิดการทำลายพื้นที่ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชุมชนเสื่อมโทรมลง 2. ชาวบ้านใช้แต่ประโยชน์อย่างเดียว ไม่เห็นถึงความสำคัญของทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชน คนในชุมชนละเลยและไม่ค่อยสนใจของการเปลี่ยนแปลงของบริบทของตนเอง แต่เมื่อได้มีคนนอกมาตั้งฐิ่นฐานและสร้างโรงงานเข้ามาในชุมชนเห็นได้ว่าสภาพแวดล้อมค่อยๆเปลี่ยนแปลงไป ยิ่งโรงงานมีการขยายพื้นที่ก็จะยิ่งให้ได้รับผลกระทบมากขึ้นและยังส่งผลกับสุขภาพของคนในชุมชนที่อีก จึงเป็นสาเหตุให้สิ่งแวดล้อมในชุมชนได้รับมลพิษต่างและค่อยเสื่อมโทรมลงในไม่ช้า factor-mechanism=-เครือข่ายต่างๆ ที่มีอยู่ในชุมชนไม่มีความเข้มแข็ง ไม่สามารถที่จะประสานงานเพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ ได้ เนื่องจากไม่มีเป็นตัวหลักในการประสานงาน - ขาดหน่วยงานที่จะเข้ามาสนับสนุนและส่งเสริมเกี่ยวกับการอนุรักษ์ - คนในชุมชนขาดความร่วมมือร่วมใจในการทำงาน - ขาดการบังคับใช้กฎหมาย strategies-environment=1.จากที่คนในชุมชนไม่ให้ความสำคัญกับทรัพยากรที่มีอยู่ก็จะจัดกิจกรรมให้คนในชุมชนได้กระทำร่วมๆกัน 2.เชิญวิทยากรที่มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสิ่งแวดล้อมมาจัดอบรมให้กับเยาวชน เพื่อที่จะปลุกฝังเยาวชนให้มามีส่วนร่วนในการดูแลสิ่งแวดล้อมในชุมชนของตนเอง ทั้งตระหนักให้เยาวชนใช้เวลาให้เกิดประโยชน์โดยไม่ยุ่งกับยาเสพติด 3.ช่วยกันรณรงค์ รักษาสิ่งแวดล้อมที่อยู่ให้มีอยู่ต่อไปและร่วมกันปลูกต้นไม้เพื่อที่จะให้ชุมชนมีอากาศสดชื่น ห่างไกลกับมลพิษที่จะเกิดขึ้น strategies-mechanism=1. สร้างกลไกหลักในชุมชน และสร้างแกนนำหลักเพื่อการดำเนินงานให้เกิดการมีส่วนร่วมหรือการรวมกลุ่มเพื่อจัดทำกิจกรรมและมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง 2. สร้างความเข้มแข็งของกลไกหมู่บ้านและเครือข่ายโดยอาศัยความร่วมมือจากส่วนราชการในพื้นที่รวมทั้งคณะกรรมการหมู่บ้าน,อสม.แกนนำชุมชนและเยาวชน ในการดำเนินงานของชุมชน 3. การสร้างแผนติดตามผลการดำเนินงานและประเมินผลการดำเนินกิจกรรมโดยใช้ แบบสอบถามก่อน-หลัง adverse-visual=1. อยากเห็นในชุมชนตระหนักถึงถึงสิ่งแวดล้อมที่มีเพื่อให้ทรัพยากรมีความอุดมสมบูรณ์ยิ่งขึ้น 2. อยากให้คนในชุมชนรักในการเอาใจ่ใส่ดูแลสุขภาพของตนควบคู่กับการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์ เช่น การเลือกผักๆที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ซึ่งผักเหล่านี้ล้วนให้ประโยชน์ต่อสุขภาพของคนในชุมชน 3. อยากให้คนในชุมชนรักชุมชนของตนเองให้มากขึ้นและไม่ละเลยต่อการดูแลรักษาทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชน 4. อยากเห็นคนรุ่นใหม่ใส่ใจงานพัฒนาประเด็นต่างๆในชุมชน 5. ให้ชุมชนมีส่วนร่วมและความร่วมมือด้วยกัน conversion-environment=1.มีสภาพแวดล้อมที่เอื่อต่อให้ชุมชนมีความน่าอยู่ 2.ให้คนในชุมชนสามารถเอาประโยชน์ของทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชนมาใช้ให้เกิดประโยชน์ 3.คนในชุมชนปฏิบัติดูแลใส่ใจสุขภาพอย่างเคร่งครัด เพื่อให้คนในชุมชนชนมีสุขภาพดีและมีอยู่อย่างมีความสูข 4.เยาวชนได้มีบทบาทในการดูแลสิ่งแวดล้อม 5.เปิดโอกาศให้เยาวชนเข้ามามีส่วนร่วมในการอนุรักษณ์ ฟื้นฟู และพัฒนาชุมชนให้เป็นชุมชนน่าอยู่ conversion-mechanism=ทำให้คนในชุมชนมีความรักความสามัคคี เสียสละ มีความรับผิดชอบ เอื้ออาทรช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ช่วยกันดูแลและใส่ใจที่จะรักษาสุขภาพของตนเองพร้อมดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมที่มีอยู่ในชุมชนให้ยั่งยืนต่อไป summary-analysis=ชุมชนบือราเป๊ะตั้งอยู่หมู่ที่ 3 ตำบลโคกเคียน อำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส ซึ่งห่างจากเมืองนราธิวาสไปทางทิศตะวันตกประมาณ 8กิโลเมตร ชุมชนนี้ถือได้ว่ามีทรัพยากรที่มีความอุดมสมบูรณ์ สภาพบริบทชุมชนเป็นที่ราบลุ่มและเป็นพื้นที่ทำการเกษตร การทำสวนยาง ปลูกปาล์ม และปลูกพืชผักสวนครัว ไม่ว่าจะเป็น พริก ตะใคร้ ข่า ผักต่างๆหลากหลายชนิด ชุมชนแห่งนี้นับเป็นแหล่งอาหารและแหล่งรายได้หลักของคนที่นี่ ถือได้ว่า มีสิ่งแวดล้อมเป็นทุนหลักที่สำคัญให้กับคนในหมู่บ้านสามารถใช้เป็นประโยชน์ อีกทั้งคนในชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสัมพันธ์แบบเครือญาติ พึ่งพาอาศัยกัน สามารถดำรงชีวิตที่สอดคล้องกับสภาพความเป็นอยู่ของคนในชุมชนได้ อีกทั้งยังเป็นทุนหลักในการประกอบอาชีพให้กับคนในชุมชน แต่ในปัจจุบันสภาพแวดล้อมได้เปลี่ยนไปจากเดิม มีผู้คนโยกย้ายจากถิ่นอื่นมาตั้งถิ่นฐานและได้สร้างโรงงานอุตสาหกรรม พ.ศ 2554 ซึ่งเป็นพื้นที่อยู่อาศัยของคนในชุมชน เช่น โรงงานปาล์ม โรงงานทำเศษกระจกและมีการขุดบ่อทราย สิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นเหล่านี้ล้วนเกิดขึ้นจากการกระทำของมนุษย์แทบทั้งสิ้น ถือได้ว่าผลเสียที่ตามมาส่งผลให้คนในชุมชนได้รับมลพิษอีกทั้งยังส่งผลกระทบกับสุขภาพของคนในชุมชนอีกด้วย เช่นปัญหาน้ำเสีย อากาศเป็นพิษ เมื่อเวลาตอนเย็นหรือช่วงเครื่องจักรกำลังทำงาน ควันที่ออกมาจะเป็นสีดำพ่นกระจายให้กับชุมชนที่อยู่ใกล้เคียงกับพื้นที่ จากปัญหาดังกล่าวเห็นได้ว่าความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรต้องเสื่อมโทรมลงอย่างรวดเร็ว เกิดมลพิษขึ้นเกือบทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็น ด้านที่อยู่อาศัย ด้านสภาพความเป็นอยู่ อาหารการกิน สุขภาพและอื่นๆเป็นต้น ผู้ที่จะได้รับผลกระทบก็คือ ชุมชนที่อยู่ใกล้เคียงกับพื้นที่ที่เกิดมลพิษนั้นๆ นอกจากยังก่อให้เกิดมลพิษแล้วยังส่งผลกระทบกับสุขภาพของคนในชุมชน และสร้างปัญหาความขัดแย้งขึ้นในชุมชน สิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้น ซึ่งมีแนวโน้มให้คนในชุมชนได้รับผลกระทบทั้งในเรื่องของการดูแลสุขภาพ การบริโภคอาหาร การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม

จากสภาพปัญหาดังกล่าวแล้วคณะกรรมการได้เล็งเห็นความสำคัญให้เยาวชนได้ใส่ใจและมีจิตอาสาที่จะมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาของชุมชนอย่างจริงจัง โดยเน้นเยาวชนมาเป็นแกนหลักหรือเป็นตัวขับเคลื่อนในการที่จะดูแลสิ่งแวดล้อมที่มีอยู่ในชุมชนทั้งที่ลงมือกระทำด้วยตนเองตลอดจนประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ก็จะสามารถฟื้นฟูบูรณะให้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในท้องถิ่นกลับคืนสภาพมาอย่างเดิมได้ สามารถให้คนในชุมชนมีทรัพยากรที่อุดมสมบูรณ์ สิ่งแวดล้อมรอบๆบริบทชุมชนก็จะดีไปด้วยอยู่อย่างมีความสุข สิ่งสำคัญที่สุดทำให้คนในชุมชนมีความรักความสามัคคี เสียสละ มีความรับผิดชอบ เอื้ออาทรช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ช่วยกันดูแลและใส่ใจที่จะรักษาสุขภาพของตนเองพร้อมดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมที่มีอยู่ในชุมชนให้ยั่งยืนต่อไป human-network-information=คณะกรรมการ ประธานอสม.และแกนนำชุมชนถือได้ว่าเป็นแกนหลักสำคัญในการจัดทำโครงการนี้ขึ้นมาเป็นตัวทำหน้าที่ผลักดัน ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการดำเนินงานในเรื่องนั้นๆให้ประสบความสำเร็จประกอบกับหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้องก็เช่นเดี่ยวกัน เช่น อบต.โคกเคียน รพสต.บือราเปะถือว่าเป็นเครือข่ายหลักที่จะสามารถให้ดำเนินงานคอยให้คำปรึกษาในเรื่องของ กระบวนการจัดทำโครงการทั้งในเรื่องของการเสนอแนะและให้ความรู้เกี่ยวกับการทำโครงการที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ commune-plan-health-situation=สุขภาวะทางกาย จากที่โรงงานเข้ามาในชุมชน โรงงานปาล์ม โรงงานเศษกระจก ทำให้คนในชุมชนได้รับผลกระทบ ส่งเสียงดังรบกวนให้กับคนในชุมชนที่อยู่ใกล้ติดกับโรงงาน ส่งกลิ่นเหม็น ทำให้เกิดอากาศเจ็บป่วยได้ง่าย ซึ่งอาจจะส่งผลทำให้เกิดโรคประจำตัวขึ้นมา และหากไม่ทราบวิธีการดูแลตนเองด้วยแล้ว ก็ยิ่งทำให้โรคที่มีอยู่นั่นทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น เช่น ระบบทางเดินหายใจเป็นต้น

สุขภาวะทางจิต สืบเนื่องคนในชุมชนที่อยู่ติดกับโรงงานเกิดอาการรำคาญ เพราะในแต่ช่วงฤดูฝนจะส่งกลิ่นเหม็นมากๆ ยิ่งส่งผลกระทบกับน้ำที่ชาวบ้านได้ใช้อุปโภคบริโภค บางบ้านจนไม่สามารถบริโภคได้ ซึ่งอาจก่อให้เกิดความเครียด และคิดมากกับเรื่องที่เกิดขึ้นโดยไม่มีโอกาศจากทางหน่วยงานไหนมาช่วยได้เลย ทำให้สุขภาพจิตของคนในชุมชนไม่มีความสุขอยู่แบบมีปมด้อยต่างๆนา

สุขภาวะทางสังคม เนื่องด้วยจิตใจไม่กล้าที่จะฟ้องหรือสะท้อนข้อมูลเหล่านี้ได้ เพราะกลัวเกี่ยวข้องกับเรื่องผลประโยชน์ของผู้มีอิทธิพล เลยได้ปลีกตัวเองด้วยการไม่คุยกับใคร ไม่กล้าที่จะแสดงความคิดเห็น ไม่อยากร่วมกิจกรรมกับคนในชุมชน

สุขภาวะทางปัญญา ด้วยความคิดมาก และคิดเล็กน้อย ทำให้กระบวนการคิด ไตร่ตรองถดถอยลง เนื่องจากมีความวิตกกังวลกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับตนเองได้ goal-1-title=ชุมชนเข้มแข็งและประชาชนพึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืน goal-2-title=สิ่งแวดล้อมปลอดภัยไม่มีมลพิษทางอากาศและเสียง goal-3-title= goal-4-title= goal-1-strategy-1-title=สร้างชุมชนมีความเข้มแข็ง goal-1-strategy-2-title= goal-1-strategy-1-objective-1-title=1.เพื่อให้เยาวชนมีบทบาทในการดูแลสิ่งแวดล้อม และมีระบบการจัดการที่ดีสามารถพึ่งตนเองได้ goal-1-strategy-2-objective-1-title= goal-2-strategy-1-title=ส่งเสริมให้คนในชุมชนมีสุขภาพดี goal-2-strategy-2-title= goal-2-strategy-1-objective-1-title=เพื่อให้คนในชุมชนตระหนักและให้ความสำคัญการดูแลสุขภาพของตนเอง goal-2-strategy-2-objective-1-title= goal-3-strategy-1-title= goal-4-strategy-1-title=เ goal-3-strategy-1-objective-1-title= goal-4-strategy-1-objective-1-title= project-evaluation=ในการติดตามโครงการก็จะมีกิจกรรมในการพบปะแกนนำชุมชนและคณะกรรมการ ตั้งวงคุยกันแล้วให้แต่ละคนแสดงความคิดเห็นและสรุปประเมินร่วมกัน โดยทุกครั้งที่มีการพบปะก็จะให้มีเลขานุการมีหน้าที่ในการจดบันทึกว่า กิจกรรมที่ทำไปแล้วเกิดผลดีอย่างไร ชาวบ้านได้ประโยชน์อย่างไรบ้านในแต่ละกิจกรรม หากกิจกรรมใดที่ต้องปรับแก้ก็จะมีการช่วยๆกันคิดและนำมาบรูณาการณ์กิจกรรมให้ดีกว่าเดิม project-continuously=สภาชุมชนเป็นผู้รับผิดชอบในการดำเนินการต่อไป โดยมีกฎกติกาของหมู่บ้านในการควบคุมและป้องกันจากมลพิษทางอากาศและสิ่งแวดล้อมอย่างที่มีประสิทธิภาพ และมีเยาวชนรุ่นใหม่ในการมีส่วนร่วมในการดูแลแรักษาสิ่งแวดล้อม commune-problem-4-title=สุขภาพ commune-problem-5-title= strategic-5=1 project-start=1 พฤศจิกายน 2557 project-end=30 พฤศจิกายน 2558 plan-1-activity=1.ประชุมชี้แจงการดำเนินงานโครงการและทำความเข้าใจร่วมกันให้กับแกนนำในชุมชนและจัดหาแกนนำที่สนใจร่วมทำงานร่วมกับบัณฑิตอาสา (บัณฑิตอาสา เป็นเจ้าหน้าที่หน่วยงานของสถาบันวิจัยและพัฒนาสุขภาพภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ทำงานประสานงานการทำโครงการในชุมชน โดยพักอาศัยอยู่ในชุมชนระยะเวลา 1 ปี) เป้าหมายประกอบด้วย (อสม,ผู้นำชุมชน,แกนนำชุมชน,เยาวชน)สร้างการมีจิตสำนึกและเกิดกระบวนการเรียนรู้ในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติของกลุ่มเยาวชนและแกนนำชุมชน plan-2-activity=1. เพื่อให้เยาวชนได้เห็นความสำคัญในเรื่องสิ่งแวดล้อมที่มีอยู่ในชุมชน กิจกรรมที่ 1 (จัด ทุก 3 เดือน) 1.1 - อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการทำงานเป็นทีม (เรื่องพลเมืองดี) 1.2 ศึกษาสภาพแวดล้อมของชุมชนด้านบวกและด้านลบพร้อมช่วยกันคิดและวิเคราะห์สภาพชุมชนที่ได้ศึกษา plan-3-activity=2.เพื่อให้เยาชนได้เห็นความสำคัญในเรื่องสิ่งแวดล้อมที่มีอยู่ในชุมชน กิจกรรมที่ 2 2.1 – จัดทำแผนที่เดินดินโดยเยาวชนและผู้รู้ในชุมชน อธิบายถึงคุณค่าสร้างความตระหนักให้กับเยาวชนและผู้ใหญ่ -ประชุมเพื่อทำความเข้าใจในวิธีการและความสำคัญของเครื่องมือและออกแบบการสำรวจข้อมูลที่มีรายละเอียดในเรื่องข้อมูลเรือน/ข้อมูลสภาพแวดล้อมในชุมชน

*** แผนที่เดินดินเป็นเครื่องมือในการศึกษาชุมชนที่ให้รู้จักโลกชาวบ้านและเห็นภาพรวมของชุมชน และยังสร้างความคุ้นเคยกับชุมชน สิ่งสำคัญสังเกตด้วยตนเอง goal-2-strategy-1-objective-1-activity=1. จัดตั้งเครือข่ายสภาชุมชนในการดูแลสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัย goal-2-strategy-1-objective-2-activity=2.1 อบรมเครือข่ายสภาชุมชน เรียนรู้คุณค่า ความสำคัญของทรัพยากรการทำเครื่องมืออบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเยาวชนเพื่อให้เรียนรู้ถึง วิถีชีวิต ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีประโยชน์ให้กับคนในชุมชน (ใช้สื่อวิดีโอ เรื่อง อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม)