การประเมินโครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนทัพราชวิทยา

  • HOTLINE : 044 – 461672

การประเมินโครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนทัพราชวิทยา

No Result

View All Result

การประเมินโครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนทัพราชวิทยา

No Result

View All Result

การประเมินโครงการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนเพื่อส่งเสริม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน โรงเรียนบ้านทัพมะขาม

การประเมินโครงการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนเพื่อส่งเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของนักเรียน โรงเรียนบ้านทัพมะขาม มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินโครงการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนเพื่อส่งเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน โรงเรียนบ้านทัพมะขาม 

นายนุกูล  สายปาน  ตำแหน่ง  ผู้อำนวยการสถานศึกษา

ชื่อเรื่อง        รายงานผลการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ของโรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร
โดยรูปแบบการประเมินแบบ CIPP Model
ผู้ประเมินโครงการ    วงษ์เดือน ทองคำ
ตำแหน่ง        รองผู้อำนวยการ โรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร
สถานศึกษา        โรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2
ปีการศึกษา        2560

บทคัดย่อ

    รายงานผลการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 โดยรูปแบบการประเมินแบบ CIPP Model การรายงานผลครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินโครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคารโดยใช้รูปแบบการประเมินแบบ CIPP Model 2) ประเมินความพึงพอใจในโครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 กลุ่มตัวอย่างจำนวน 341 คนโดยแบ่งเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ 1) ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน 73 คน 2) คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 14 คน 3) ผู้ปกครองนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 152 คน 4) นักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 102 คน (ยกเว้นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 3 เนื่องจากซึ่งยังวิเคราะห์ข้อคำถามได้ ไม่ชัดเจน) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตรวัดประเมินค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
สรุปผลการศึกษา พบว่า
        1) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับระดับการปฏิบัติของผลการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 โดยรูปแบบการประเมินแบบ CIPP Model ซึ่งผลการวิเคราะห์ข้อมูลในภาพรวมของการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร ปรากฏว่า ผลการประเมินโครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์ วิทยาคาร ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ซึ่งแบ่งตามองค์ประกอบ 4 ด้าน ดังนี้
        1.1) ผลการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 โดยรูปแบบการประเมินแบบ CIPP Model ด้านบริบท พบว่า โดยภาพรวมมีผลการประเมินระดับการปฏิบัติอยู่ใน ระดับมาก
        1.2) ผลการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 โดยรูปแบบการประเมินแบบ CIPP Model ด้านปัจจัยนำเข้า พบว่าโดยภาพรวมมีผลการประเมินระดับการปฏิบัติอยู่ใน ระดับมาก
        1.3) ผลการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 โดยรูปแบบการประเมินแบบ CIPP Model ด้านกระบวนการ พบว่าโดยภาพรวมมีผลการประเมินระดับการปฏิบัติอยู่ใน ระดับมาก
        1.4) ผลการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 โดยรูปแบบการประเมินแบบ CIPP Model ด้านผลผลิต โดยภาพรวมมีผลการประเมินระดับการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก
        2) ผลการประเมินความพึงพอใจในการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ของโรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 โดยภาพรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก

บรรณานุกรม
กชกมล ประวัณจะ.(2553). การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนบ้านเหล่า
อำเภอพยัคภูมิพิสัย จังหวัดมหาสารคาม. วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต.
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
กรมสุขภาพจิต.(2544). คู่มือครูที่ปรึกษาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน.กรุงเทพฯ:ยูเรนัส.
กระทรวงศึกษาธิการ.(2553).พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3)
พ.ศ.2553.กรุงเทพฯ.
กิตติศักดิ์ ปัจจวงษ์.(2554). ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูตามระบบดูแล
ช่วยเหลือนักเรียน. วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต.มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม,
มหาสารคาม.
กิตติศักดิ์ สินธุวงศานนท์. (2555). การประเมินโครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนทอง
แสนชัยวิทยา. สืบค้นจาก http://www.obec.go.th/node/16539
เกษมสุข อันตระโลก.(2557). การพัฒนาการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนสว่างดินแดน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23. วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต.มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร.
คมคาย ขันธเกษ.(2544). ความพึงพอใจจากปัจจัยจูงใจและปัจจัยสุขภาพจิตในการปฏิบัติงานของข้าราชการพลเรือนสามัญ ในสำนักงานการประถมศึกษาอำเภอ/กิ่งอำเภอ สำนักงานประถมศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี.รายงานการค้นความอิสระ ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม.
จำเนียร สุขหลาย. (2544). “แบบจำลอง CIPP” ในรวมบทความทางการประเมินโครงการ. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จำเนียร สุขหลาย. (2544). หลักการประเมินโครงการ. กรุงเทพฯ : อรุณอัมรินทร์พริ้นติ้ง.
ชุติมา พงษ์เกษ.(2552). การประเมินระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานี เขต 4. วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, อุบลราชธานี.
เชิด คำปลิว. (2552). การประเมินโครงการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตของนักเรียนโรงเรียนบ้านแม่เคม. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาแพร่ เขต 1.
ดาวรุ่ง มุกดากิจ.(2554). การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนบ้านหนองแซง อำเภอท่าคันโท จังหวัดกาฬสินธุ์ โดยใช้หลักการวิจัยเชิงปฏิบัติการ. วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม.
บรรณานุกรม (ต่อ)
บรรทม รวมจิตร.(2553). การศึกษาสภาพการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนเวียงแก่นวิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงราย เขต 4. วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต.มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย.
บุญชม ศรีสะอาด.(2547). การวิจัยเบื้องต้น. (8).กรุงเทพ : สุวีริยาสาส์น.
ประคอง กรรณสูต. (2547). สถิติเพื่อการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์ (ฉบับปรับปรุงแก้ไข). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ประชา พรชัยกุล,ว่าที่ร้อยตรี.(2550). รายงานผลการประเมินโครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนวังจันทร์วิทยา: สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาระยอง เขต 2.ระยอง.
ประชุม รอดประเสริฐ.(2549). การบริหารโครงการ.กรุงเทพ:เนติกุลการพิมพ์
ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์.(2547). จิตวิทยาบริหารงานบุคคล.กรุงเทพฯ: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพฯ.
พจน์ สะเพียรชัย. (2544). “การวิเคราะห์ระบบการประเมินผล” ในรวมบทความทางการประเมินโครงการ. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของวิทยาลัยวิชาการศึกษา วันที่ ๒๘ พฤศจิกายน 2515. สืบค้นจาก http://www.thaigoodview.com/node/202421
พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์,สำนักงานปลัดกระทรวง.(2560) รายงานการศึกษารูปแบบและแนวทางการเฝ้าระวังปัญหาทางสังคมต่อกลุ่มเป้าหมายระดับพื้นที่. กรกฎาคม .
พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2557). เทคนิคการประเมินโครงการ. กรุงเทพฯ : เฮ้าส์ อ๊อฟ เคอร์มีสท์.
……………. (2560). หน่วยที่ 7 การประเมินโครงการ . มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.กรุงเทพ. สืบค้นจากhttp://edu.stou.ac.th/EDU/UploadedFile/7.pdf
พิษณุ คนซื่อ.(2560).รายงานการประเมินโครงการส่งเสริมและพัฒนคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียนโรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร ปีการศึกษา 2555. ปทุมธานี : โรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร.
พิสณุ ฟองศรี.2550.เทคนิควิทธีการประเมินโครงการ.(6).กรุงเทพฯ: พรอพเพอร์ตี้พริ้น จำกัด.
รัตนะ บัวสนธ์. (2540). การประเมินผลโครงการ : การวิจัยเชิงประเมิน. กรุงเทพฯ: ต้นอ้อ แกรมมี่.
ราชบัณฑิตยสถาน.(2546). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542.กรุงเทพฯ:นานมีบุ๊ค พับลิเคชั่น.
โรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร.(2559). คู่มือการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2559.โรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร.ปทุมธานี.

บรรณานุกรม (ต่อ)
……………… (2559). รายงานประจำปีของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2559.โรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร.ปทุมธานี.
.................. (2560). รายงานประจำปีของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2560.โรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร.ปทุมธานี.
โรงเรียนนราสิกขาลัย.(2555). การดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน. นราธิวาส: โรงเรียนนาสิกขาลัย สืบค้นจาก http://www.ns.ac.th/index.php/2010-06-18-03-08-23/category/
สมภพ สุขพัฒนานรากุล.(2556). การประเมินโครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาในอำเภอโชคชัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 2. สาระนิพนธ์ ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต(การประเมินผลการศึกษา). มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สมศักดิ์ วรรณศิริ.(2550). การดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนที่เปิดสอนในระดับช่วงชั้นที่ 3-4 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 1. การค้นคว้าอิสระ กศ.ม.มหาสารคาม:มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สมหวัง พิธิยานุวัฒน์. (2551). “ความรู้พื้นฐานสำหรับการประเมินโครงการทางการศึกษา.” ในรวมบทความทางการปะเมินโครงการ : ชุดรวมบทความ เล่ม 4. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
................... (2544). รวมบทความทางการประเมินโครงการ.จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
................... (2553). วิธีวิทยาการประเมิน : ศาสตร์แห่งคุณค่า. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ส่วนประเมินผล,สนผ. .มปป. การประเมินผลโครงการแบบซิปโมเดล CIPP Model. สืบค้นจาก http://hq.prd.go.th/plan/download/article/article_20150210161738.pdf
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 2.(2555). สื่อสารพัฒนาความเข้มแข็งระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน. นนทบุรี : สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 2.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.(2547). ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน.วารสารวิชาการ ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 เม.ย.-มิ.ย.2547 สืบค้นจากhttp://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.
php?NewsID=13213&Key=hotnews
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.(2549).แนวทางการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา.กรุงเทพฯ:องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.

บรรณานุกรม (ต่อ)
………………. (2551).แนวทางการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน:หลักสูตรครูที่ปรึกษา.กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
................... (2552).เทคนิคและแนวทางการจัดประชุมผู้ปกครอง ชั้นเรียน(Classroom Meeting).มปท.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.(2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 - 2564) .สำนักนายกรัฐมนตรี.
สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2547). การประเมินโครงการ : หลักการและการประยุกต์. กรุงเทพฯ : เฟื่องฟ้า.
สุนันท์ โพธิบาย.(2552). การประเมินผลระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่หนองบัวลำภู เขต 1 . วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต.มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม.
สุภมาส อังศุโชติ. (2555). "รูปแบบการประเมินนโยบาย แผนงาน และโครงการ." ใน ประมวลสาระ ชุดวิชาการประเมินนโยบาย แผนงาน และโครงการ. หน่วยที่ 5. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สุรินทร์ เพ็ชรนิล.(2560). รายงานผลการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนแบบมีส่วนร่วม โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 43 จังหวัดสงขลา. สงขลา : โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 43 จังหวัดสงขลา.
สุรีย์ เกิดในหล้า. (2553). การประเมินโครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนทัพราชวิทยา จังหวัดสระแก้ว. วิทยานิพนธ์ คณะศึกษาศาสตร์. มหาวิทยาลัยบูรพา
อนุรักษ์ ระวังการ.(2552). การประเมินโครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาอำภอเฉลิมพระเกียรติ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่น่าน เขต 2. น่าน.
อาสนี นิสาแล๊ะ.(2555). การประเมินโครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียนแย้มจาดวิชชานุสรณ์ สำนักงานเขตบึงกุ่ม กรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ์ วท.ม.(วิทยาการการประเมิน).กรุงเทพฯ:บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
Biddel.Virginia Sue. (2009). Student Assistance Program Outcome of student at Rist of Suicide. Dissertation Abtracts international. 69 (8).
Fitzpatrick, J.L., Sanders, J.R. and Worthen, B.R. (2004). Program evaluation, alternative approaches and practical guidelines. New York: Longman.

บรรณานุกรม (ต่อ)
Good, Cater V. . (1973). Dictionary of Education. New York : Mc Graw-Hill Book Company.
Goodman, Robert and Orther. (2003). Using the Strengths and Difficulties Questionnaire (SDQ) to Screen for child Psychiatric Discipline in a Community Samples. Dissertation Abtracts international.62 (50). 1715 : November,2003.
Keith, OatrciaBerg.(1992). Effect of Parental Involvement on Maxicam American Equations Analysis. Verginia,virginal Polytechnic Institute and State University.
Krejcie, R.V. and D.W.,Morgan. (1970). “Determining Sample Size for Research Activities”, Journal of Educational and Psychological Measurement.
Likert, Rensis F. (1961). New Pattern of Management. New York: McGraw-Hill.
Maslow's, Abraham.(1970). Motivation and Personnality. New York : Harper and Row Publishers.
Mathai, Anderson and Bourne.(2002). (September,2002).Use of the strengths and Difficulties Questionnaire as an Outcome measure in a child and Adolescent mental Health Service. Australasian Psychiatry. 11(03):334.
Maynard, W.Shelly.(1975). Responding to S0cial Change Pensylvania. Dowden : Hutchison; 350-355.
Robbin, Stephen P. (1976) . The Administrative Process . new Jersey:Prentice-Hall.
Smith, H.B. (1974). "Description of Effective and Ineffective Behavior of school Principles".Dissertation Abstracts International.48(3):1935-A
Stufflebeam, D. L. (1983). The CIPP Model for Program Evaluation In F.M. George S.S. Michael & L.S. Denial (Eds). Evaluation Model : Viewpoints on Education and Services Evaluation. Hingham. Massachusetts : Kluwer – Nijhoff.
Tomas D.Lyon, I.Lyon,TD,& Flavell, J.F. (1993). "Young children's understanding of for getting over time". Child Development. 64 : 789-800
Vroom, Victor H.(1964). Work and Motivation. New York: John Wiley&sons.